บริษัท ขุด เจาะ น้ำมันใน ไทย

เรามีเยอะก็จริง  แต่ปริมาณน้ำมันที่นำมาใช้งานได้จริงในประเทศนั้นยังไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน ทำให้เราต้องนำเข้าน้ำมันจากประเทศอื่นมาใช้ ในขณะที่น้ำมันที่เราขุดได้แต่กลั่นไม่ได้หรือกลั่นแล้วคุณสมบัติไม่ตรงกับความต้องการใช้งาน ก็เลยต้องส่งออกให้กับประเทศที่ต้องการนั่นเอง
    และในเม็กซิโก ได้แก่ โครงการเม็กซิโก แปลง 12 (2.4) ตั้งอยู่บริเวณแอ่ง Mexican Ridges  อยู่ในขั้นตอนการประเมินศักยภาพปิโตรเลียมเพิ่มเติม โครงการเม็กซิโก แปลง 29 (2.4)  อยู่ระหว่างเจาะหลุมประเมิน Polok-2DEL โดยคาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จประมาณเดือนต.ค.64

“.....ปิโตรเลียมเป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้ การกำเนิดต้องใช้เวลาหลายล้านปีจึงไม่สามารถสร้างเพิ่มได้ในเวลาอันสั้น นี่คือเหตุผลที่เราจัดปิโตรเลียมเป็นทรัพยากรที่ทดแทนไม่ได้ ปัจจุบันประเทศไทยไม่สามารถผลิตน้ำมันเพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ จึงต้องนำเข้าเพิ่มเติมจากประเทศอื่น ซึ่งน้ำมันดิบที่ใช้กลั่นในประเทศส่วนมากมาจากกลุ่มประเทศตะวันออกกลางถึง 80% ซึ่งคิดเป็นมูลค่าเงินไทยที่ต้องเสียให้ต่างประเทศมากถึง 5-6 หมื่นล้านบาทต่อเดือน…..”

กลุ่มบริษัทฯ ให้บริการเรือขนส่งที่ให้การสนับสนุนงานสำรวจและผลิตปิโตรเลียมกลางทะเลแก่กลุ่มลูกค้าบริษัทสำรวจและขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล โดยมีธุรกิจที่ให้บริการ ได้แก่ ธุรกิจเรือขนส่งและจัดเก็บน้ำมันดิบสำหรับแท่นขุดเจาะน้ำมัน (Floating Storage and Offloading Unit, FSO) (“เรือ FSO”) ธุรกิจเรือขนส่งและที่พัก (Accommodation Work Barge, AWB) และธุรกิจเรือสนับสนุนลาก-จูง การจัดการสมอ (Anchor Handling Tug, AHTs)

แม้ว่าประเทศไทยอาจไม่ใช่ประเทศที่โดดเด่นในเรื่องของการส่งออกน้ำมันหรือการขุดเจาะน้ำมันก็ตามที แต่จริงๆ แล้วในประเทศไทยของเราเองก็ยังมีแหล่งการขุดเจาะน้ำมันอยู่ไม่น้อยเลยทีเดียว บางคนอาจคิดว่ามีแต่เฉพาะในทะเลอ่าวไทยทว่าเรามีทั้งแหล่งขุดเจาะน้ำมันทั้งบนบกและในน้ำด้วย ซึ่งแต่ละที่ต้องบอกว่าหลายคนคาดไม่ถึงอย่างแน่นอน

บริษัท ขุด เจาะ น้ำมันใน ไทย

แหล่งขุดเจาะน้ำมันของไทย

แหล่งขุดเจาะน้ำมันบนบก

บริเวณภาคเหนือ ภาคอีสานและภาคกลางจะเป็นแหล่งน้ำมันดิบที่มีขนาดเล็กประกอบไปด้วย

  • แหล่งฝาง อำเภอฝาง เชียงใหม่ มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 1,000 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งสิริกิติ์ อยู่ที่ทับแรด, หนองตูม, หนองมะขาม, วัดแตน, ประดูเฒ่า, เสาเถียร, ปรือกระเทียม, หนองแสง, บึงหญ้า, ทุ่งยางเมือง, บึงม่วง, บึงตะวันตก, บึงม่วงใต้, หนองสระอรุโณทัย และบูรพา ตั้งอยู่ในพื้นที่อำเภอลานกระบือ กำแพงเพชร, อำเภอคีรีมาศ, อำเภอกรงไกรลาศ สุโขทัย และอำเภอบางระกำ พิษณุโลก มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 30,000 บาร์เรลต่อวัน และมีก๊าซธรรมชาติที่ขึ้นมาพร้อมกับน้ำมันดิบ 25 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน
  • แหล่งวิเชียรบุรี อยู่ที่ศรีเทพ, นาสนุ่น, นาสนุ่นตะวันออก, บ่อรังเหนือ, วิเชียรบุรีส่วนขยาย และ L33 อยู่ที่อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอศรีเทพ เพชรบูรณ์ มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 2,200 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งอู่ทอง อยู่ที่ สังฆจาย, บึงกระเทียม และหนองผักชี อำเภอเมือง, อำเภออู่ทอง สุพรรณบุรี อัตราการผลิตน้ำมันดิบ 350 บาร์เรลต่อวัน
  • แอ่งกำแพงแสน อำเภอกำแพงแสน นครปฐม มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 500 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งก๊าซน้ำพอง อำเภอน้ำพอง ขอนแก่น มีอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติ 15 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน
  • แหล่งก๊าซภูฮ่อม อำเภอหนองแสง อุดรธานี มีอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติ 100 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ก๊าซธรรมชาติเหลว 450 บาร์เรลต่อวัน

แหล่งขุดเจาะน้ำมันในอ่าวไทย

  • แหล่งจัสมินและบานเย็น มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 12,000 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งบัวหลวง มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 7,400 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งสงขลา มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 17,500 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งเอราวัณ บรรพต ปลาทอง สตูล และแหล่งไพลิน มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 30,000 บาร์เรลต่อวัน ก๊าซรวมกัน 1,640 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ก๊าซธรรมชาติเหลว 53,800 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งทานตะวัน มีอัตราการผลิตน้ำมันดิบ 25,000 บาร์เรลต่อวัน ก๊าซธรรมชาติ 130 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน
  • แหล่งบงกช มีอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติ 650 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ก๊าซธรรมชาติเหลว 21,000 บาร์เรลต่อวัน
  • แหล่งอาทิตย์ มีอัตราการผลิตก๊าซธรรมชาติ 300 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน ก๊าซธรรมชาติเหลว 11,500 บาร์เรลต่อวัน

พ.ศ. 2505 l บริษัทยูเนียนออยล์ (ภายหลังชื่อว่า บริษัท ยูโนแคลไทยแลนด์ จำกัด และเปลี่ยนมาเป็นบริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด) เป็นบริษัทน้ำมันและก๊าซแห่งแรกที่ได้รับสัมปทานสำรวจปิโตรเลียมบริเวณที่ราบสูงโคราช  

พ.ศ. 2511 l ได้รับสัมปทานสำรวจปิโตรเลียมแปลงหมายเลข 12 และ 13 ในอ่าวไทย

บริษัท ขุด เจาะ น้ำมันใน ไทย

พ.ศ. 2516 l ค้นพบก๊าซธรรมชาติในหลุมสำรวจ 12-1 ซึ่งได้รับการขนานนามว่า โครงสร้างทางธรณีวิทยา “เอ” ซึ่งได้รับการพัฒนาเป็นหลุมแรกในอ่าวไทย

พ.ศ. 2521 l ลงนามในสัญญาซื้อขายก๊าซฉบับแรก ต่อมาได้ตั้งชื่อแหล่งดังกล่าวอย่างเป็นทางการว่า “เอราวัณ” ซึ่งเป็นช้างสามเศียรอันเป็นสัญลักษณ์ของพลังอำนาจในวรรณคดีเรื่องรามเกียรติ์

ปตท. เปิดโครงการท่อส่งก๊าซธรรมชาติในทะเล ยาว 425 กม. (ท่อส่งก๊าซฯ ในทะเลที่ยาวที่สุดในโลก ณ เวลานั้น) เพื่อเชื่อมระหว่างแหล่งเอราวัณไปยังจังหวัดระยอง

บริษัท ขุด เจาะ น้ำมันใน ไทย

พ.ศ. 2523 l ก่อตั้งศูนย์เศรษฐพัฒน์ ที่มีหลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรของเชฟรอนในหลายด้าน ได้แก่ด้านเทคโนโลยี ความเป็นผู้นำ และการบริหารจัดการต่างๆ เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวกับอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ

พ.ศ. 2524 l การผลิตที่แหล่งก๊าซธรรมชาติเอราวัณเริ่มขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ วันที่ 17 สิงหาคม ด้วยปริมาณ 35 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน 

 

บริษัท ขุด เจาะ น้ำมันใน ไทย

พ.ศ. 2533 l สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินมายังสำนักงานในกรุงเทพฯ และทอดพระเนตรกิจการด้านการสำรวจและการผลิตปิโตรเลียมในอ่าวไทย จากนั้นได้มีการติดตั้งสถานีเรดาร์สำรวจอากาศนอกชายฝั่งที่แหล่งก๊าซสตูล