โครงงานตะไคร้หอมไล่ยุง บทที่1

โครงงาน IS (IS30201) เรอ่ื ง ตะไครห้ อมไล่ยงุ คณะผจู้ ดั ทำ นางสาว วันทนา อนิ ปา เลขที่ 7 นางสาว ประกายรัตน์ ไชยโย เลขท่ี14 นางสาว ศิโรรตั น์ อนิ ปา เลขท่ี 17 นางสาว กฤติยากรณ์ อินทรเ์ รอื ง เลขท่ี 27 นางสาว ณัฐกานต์ ปาละ เลขที่ 35 ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5/6 เสนอ คณุ ครูดำรงค์ คันธะเรศย์ โรงเรียนปวั อำเภอปวั จังหวดั น่าน สังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาน่านกระทรวงศึกษาธกิ าร

ช่ือโครงงาน “ตะไคร้หอมไลย่ งุ ” ผู้จัดทำ นางสาว วันทนา อนิ ปา นางสาว ประกายรตั น์ ไชยโย นางสาว ศโิ รรัตน์ อินปา นางสาว กฤตยิ ากรณ์ อนิ ทรเ์ รือง นางสาว ณฐั กานต์ ปาละ รายวชิ า IS (IS30201) ปีการศึกษา 2564 ท่ีปรกึ ษาโครงงาน คณุ ครูดำรงค์ คันธะเรศย์ บทคัดยอ่ การจัดทำโครงงาน IS ครั้งนี้เกี่ยวกับเรื่องการทำตะไคร้หอมกันยุงมี วัตถปุ ระสงค์เพอ่ื 1. เพ่ือเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกันโรคไขเ้ ลือดออกและสารพิษท่ีเข้า สู่รา่ งกาย 2. เพื่อนำวสั ดทุ ่ีมอี ยใู่ นท้องถ่นิ มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ 3. เพ่อื นำมาเปน็ แนวทาง ในการประกอบอาชีพ 4. เพอ่ื แสดงศกั ยภาพของนกั เรยี นตอ่ ชมุ ชนส่งผลสคู่ วามสำเรจ็

กติ ติกรรมประกาศ โครงงานISเรื่อง “ตะไคร้หอมไล่ยุง” สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาของ คุณครูที่ปรึกษาโครงงานได้แก่ คุณครู ดำรงค์ คันธเรศย์ และเพื่อนๆร่วมชั้นที่ให้ คำปรึกษาแนะนำในการศึกษาค้นคว้าแนะนา ขั้นตอนและวิธิีจัดทำโครงงานISจนสำเร็จ ลุลว่ งด้วยดีผูจ้ ัดทำจึงขอกราบขอบพระคณุ เปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผ้จู ัดทำ

สารบญั เรื่อง หนา้ บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทนำ 1 บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2 บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน 11 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 13 บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนินงาน 14 บรรณานกุ รม

บทท่ี 1 บทนำ ทม่ี าและความสำคัญของโครงงาน ช่วงปลายฝนตน้ หนาวบวกกบั นา้ เนา่ แทบจะทุกพ้นื ทคี่ งจะเตม็ ไปด้วยยุง ทกุ ๆ บา้ น ทกุ ๆ ครวั เรอื นเลือกใช้ยากันยุงกันอย่างแพร่หลายซึง่ ในยากันยุงท่ใี ชกันอยตู่ ามบ้านส่วนใหญ่นั้นมี ส่วนผสมของของไพริทรอยด์ มคี ณุ สมบัติทำให้การทำงานของระบบประสาทของแมลงเปน็ อัมพาต อย่างรวดเร็ว สารเหล่านี้ถูกปลดปล่อยออกมาในรูปแบบของควัน อาการพิษในคนที่เกิด จากสาร เหลา่ นี้จะส่งผลกระทบตอ่ ระบบประสาท ไดแ้ ก่ มึนงง ปวดศรี ษะกล้ามเนือ้ กระตุก เป็นต้น เราจึงนำเสนอวิธีการทำตะไคร้หอมกันยุงเพื่อใชใ้นครัวเรือน นอกจากนี้การทำ ตะไคร้หอมกันยุงจึงเป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกและสารพิษที่เข้าสู่ ร่างกาย เพ่อื เป็นการส่งเสรมิ การใชเว้ ลาว่างใหเก้ ิดประโยชน์และทำรายไดใ้ห้กับตนเองได้อกี ด้วย วตั ถุประสงคข์ องการทำโครงงาน 1.เพ่ือเสนอแนะแนวทางปอ้ งกนั โรคไขเล้ ือดออกและสารพิษที่เข้าสู่รา่ งกาย 2.เพือ่ นำวสั ดุทีม่ อี ยใู่ นท้องถ่นิ มาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 3.เพอ่ื นำความรทู้ ่ีไดม้ าเปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพได้ สมมตฐิ านในการศกึ ษา สเปรยส์ ามารถไล่ยุงได้จริงและเป็นทพ่ี งึ พอใจแกผ่ ใู้ ช้ ขอบเขตการทำโครงงาน การทำตะไครห้ อมไลย่ ุง โดยส่ิงท่ีนำมาใชใ้ นการผลติ คือ น้ำมันตะไคร้ การบรู และ แอลกอฮอล์ นอกจากส่วนประกอบเหล่านไ้ี ม่อนั ตรายตอ่ คน ยังสามารถไล่ยุงไดอ้ กี ด้วย ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั หลังจากเสร็จสิ้นโครงงานคาดหวังว่าคณะผู้จัดทำจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป ประกอบเปน็ อาชีพเสรมิ นำไปพัฒนาปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวันและภายในอนาคต

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง ชนดิ ของยุง ยงุ ลาย (Aedes Mosquitoes) ช่ือทางวทิ ยาศาสตร์ : Aedes Aegypti ยงุ ลายมักออกหากนิ ในช่วงหลงั พระอาทติ ย์ตกและกอ่ นพระอาทติ ยข์ นึ้ ลกั ษณะทางกายภาพ ตัวเต็มวยั มีสดี ำและลายสีขาว ตวั ออ่ นจะทำมมุ 45 องศาจากผิวน้ำ ไข่ยุงมสี ีดำ รูปร่างเหมอื นลูก รักบ้ี วงจรชีวิต ระยะไขใ่ ชเ้ วลา 6 – 8 วนั มีการเปลี่ยนแปลง 4 ขนั้ – ไข่ ตัวออ่ น ดกั แด้ และตวั เตม็ วัย พฤตกิ รรม ท่อี ยู่ – ชอบอยใู่ นภาชนะท่ีมีน้ำสะอาด ชอบสีเขม้ เช่น ดำและแดง บินได้ระยะใกลๆ้ (50 – 100 เมตร) ยุงกน้ ปล่อง (Anopheles Mosquito) ชือ่ ทางวิทยาศาสตร์ : Anopheles SPP. ยุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรคมาลาเรยี ลกั ษณะทางกายภาพ ตวั เตม็ วยั – มลี ายสอี อ่ นและเขม้ บนปีก และทำมุม 45 องศากบั พ้นื ผวิ ตวั อ่อนอาศยั ราบไปกับผิว นำ้ ไขม่ ขี นาดยาวประมาณ 1 มม.และลอยตะแคง

วงจรชวี ติ ระยะไข่ใชเ้ วลา 6 – 10 วัน มีการพฒั นา 4 ขัน้ – ไข่ ตวั อ่อน ดักแด้ และตวั เตม็ วัย พฤติกรรม ทีอ่ ยู่ – ชอบนำ้ สะอาดปราศจากมลพษิ เวลากดั – กัดตอนกลางคืนและพักอาศยั ในรม่ หรอื ภายนอก (ขนึ้ อยู่กบั สายพันธ์ุ) ชอบสเี ขม้ ตวั เมียท่ีไดก้ ินเลือดหนงึ่ ม้ือสามารถวางไขไ่ ด้ 50 – 150 ใบ ยงุ รำคาญ (Culex Mosquito) ชอื่ ทางวิทยาศาสตร์ : Culex spp. ยงุ รำคาญ เปน็ พาหะหลักของโรคไข้สมองอกั เสบ ลกั ษณะทางกายภาพ ตวั เตม็ วัย - อก ขา และเสน้ เลอื ดบนปีกมักปกคลุมดว้ ยเกลด็ สนี ำ้ ตาล สีคล้ำ ส่วนปลายของทอ้ งมี ลกั ษณะทู่ ตวั ออ่ นทำมมุ 45 องศากับผิวนำ้ ไข่เปน็ สีน้ำตาล รูปร่างยาวทรงกระบอก อยแู่ นวตั้ง เหนอื ผวิ นำ้ ตดิ กนั เป็นแพประมาณ 300 ใบ แพมกั มีขนาดยาว 3-4 มม. และกว้าง 2-3 มม. วงจรชวี ติ ระยะไข่ใช้เวลา 6-10 วนั มีการพฒั นา 4 ขนั้ - ไข่ ตัวออ่ น ดกั แด้ และตัวเตม็ วยั พฤติกรรม ท่ีอยู่ – มกั ขยายพันธุ์บนน้ำน่งิ เสียและในท่อ เวลากัด – กดั ตอนกลางคืน และชอบอยใู่ นท่ีรม่ ชอบสเี ขม้ บินได้ไกล อนั ตรายจากยงุ 1. ไขเ้ ลือดออก พาหะ : ยุงลาย ท่อี อกหากินตอนกลางวัน (ปจั จุบันพบยงุ ลายตอนกลางคืน ชว่ งโพล้เพลอ้ ยู่บ้าง)

อาการ : หลังถูกยุงลายกัด 5-8 วัน จะมีไข้สูงเฉียบพลัน ปวดเมื่อยตามร่างกาย เบื่ออาหาร หรือ อาจอาเจียน มีผื่นแดงๆ ตามร่างกาย อาจเลือดออกง่าย ถ่ายอุจจาระเป็นสดี ำ และเสี่ยงตอ่ อาการ แทรกซอ้ นอื่นๆ เชน่ ช็อก ชกั บวม แนน่ หนา้ อก ปวดทอ้ ง หรอื มเี ลือดออกในอวัยวะภายใน 2. มาลาเรยี พาหะ : ยุงก้นปล่อง พบได้มากในป่า พื้นที่รกๆ อากาศร้อนชื้น แหล่งน้ำต่างๆ หรือพื้นที่อื่นๆ ทัว่ ไป อาการ : มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ชีพจรเต้นเร็ว หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน หน้าซีดปากซีดจากการที่เม็ดเลือดแดงถกู ทำลาย เริ่มเข้าสู่ภาวะโลหิตจาง ตัวเหลืองเหมือนดีซ่าน และอาจมีปัสสาวะสีเขม้ เหมอื นสีน้ำปลา 3. เทา้ ชา้ ง พาหะ : โรคเกดิ จากพยาธิตวั กลม โดยมียุงเปน็ พาหะ อาการ : มีไข้สงู เฉียบพลัน หลอดนำ้ เหลือง และต่อมน้ำเหลืองอกั เสบ โดยอาจพบไดบ้ รเิ วณอวัยวะ ตา่ งๆ เช่น ขา ชอ่ งท้องดา้ นหลงั ทอ่ น้ำเชอ้ื อสจุ ิ หรอื เตา้ นม ผิวหนังบรเิ วณท่ีอับเสบจะบวมแดง มี น้ำเหลืองค่งั คลำเป็นก้อนขรุขระ แต่ในบางรายอาจไม่แสดงอาการบวมชัดเจน 4.ไข้ปวดขอ้ ยงุ ลาย (ชคิ ุนกุนย่า) พาหะ : ยงุ ลาย อาการ : อาการคล้ายไข้เลือดออกมาก แต่ไม่พบการรั่วของพลาสมาออกนอกเส้นเลือด จึงไม่พบ ผู้ปว่ ยทีม่ อี าการช็อก 5. ไข้สมองอกั เสบ พาหะ : ยงุ รำคาญ พบในนาขา้ ว เพราะเปน็ แหล่งแพรพ่ ันธุ์ และมีหมเู ปน็ รงั ของโรค โดยยุงรำคาญ ไปกัดหมูที่เป็นโรค และแพร่เชื้อตอ่ สูค่ น และสตั วอ์ ื่นๆ อาการ : หลังรับเชื้อ 5-15 วัน จะมีไข้สูง อาเจียน ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หลังจากนั้นจะเริ่มมี อาการผิดปกติทางสมอง เช่น คอแข็ง สติสัมปชัญญะลดลง ซึม หรือ เพ้อ คลั่ง ชัก หมดสติ หรือ อาจมือส่ัน เป็นอมั พาต ซึง่ หลังจากอาการของโรคหายไป อาจหลงเหลอื ความผดิ ปกติของสมองอยู่ บา้ ง เช่น พดู ไม่ชัด เกรง็ ชัก หรอื สติไมค่ ่อยปกติ

พนั ธขุ์ องตะไคร้ ตะไคร้ ( Lemon grass plant ) การจำแนกชน้ั ทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Magnoliophyta ชน้ั : Liliopsida อนั ดบั : Poales วงศ:์ Poaceae สกุล: CymbopogonSpreng. ตะไคร้ (Lemongrass) ชื่อวิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus (DC.) Staph ชื่อท้องถ่ิน จะไคร (ภาคเหนอื ) ไคร (ภาคใต้) คาหอม (แมฮ่ ่องสอน) เชดิ เกรย ,เหลอะเกรย(เขมร-สุรนิ ทร์), หอ่ วอตะโป่(กะเหรี่ยง-แม่ฮอ่ งสอน)ขีไ้ คร้ (อินดี้-สกา) เปน็ พชื ลม้ ลกุ ความสงู ประมาณ 4-6 ฟตุ ใบยาว เรียว ปลายใบมีขนหนาม ลำตน้ รวมกันเป็นกอ มีกลิ่นหอม ดอกออกเป็นชอ่ ยาวมดี อกเล็กฝอยเป็น จำนวนมาก ตะไครเ้ ปน็ พชื ที่สามารถนำสว่ นต้นหวั ไปประกอบอาหาร และจัดเป็นพืชสมนุ ไพรดว้ ย ถิ่นกำเนิดตะไคร้มีถิ่นกำเนิด ในประเทศอินโดนีเซีย ศรีลังกา พม่า อินเดีย ไทย และในทวีป อเมริกาใต้ ลักษณะโดยทว่ั ไปโดยท่ัวไปแบง่ ตะไคร้ออกเป็น 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1.ตะไคร้กอ 2.ตะไคร้ต้น 3.ตะไครห้ างนาค 4.ตะไคร้น้ำ 5.ตะไคร้หางสงิ ห์ 6.ตะไคร้หอม

เป็นพืชตระกูลหญ้า ตะไคร้เป็นพืชที่เจริญเติบโตง่าย อาจมีทรงพุ่มสูงถึง 1 เมตร มีลำต้นท่ี แท้จริงประมาณ 4-7 เซนติเมตร ลำของต้นจะถูกหอ่ หุ้มไปด้วยกาบใบโดยรอบ ใบยาวแคบเส้นใบ ขนานกับก้านใบ ใบของตะไคร้อุดมไปด้วยน้ำมันหอมระเหย ที่นิยมนำมาปลูกเป็นพันธุ์พื้นเมืองที่ ปลกู กันโดยท่ัวไป ตะไคร้ หรือ ทฝี่ รง่ั เรียกกันว่า Lemon grass ตามลักษณะท่ีมีกลนิ่ หอมเยน็ เหมือนเลมอน ตะไครเ้ ป็นพืชตระกูลหญา้ ที่ปลูกง่ายมากในบ้านเรา มักจะมปี ลกู ไว้เป็นพชื ผกั สวนครัวแทบทุกบ้าน ด้วยอาหารไทยจะต้องมีตะไคร้เป็นส่วนประกอบทั้งอาหารประเภทต้มหรือแกง ต้มยำจะขาด ตะไคร้ไม่ไดเ้ ลย ย่ิงเป็นอาหารทะเลหรือเน้อื สตั วต์ ะไคร้จะชว่ ยดับกลน่ิ คาวไดเ้ ป็นอย่างดี และทำให้ อาหารมกี ลน่ิ หอมมากข้นึ สรรพคุณของตะไคร้ ตะไคร้ ภาษาอังกฤษมีชอื่ เรียกว่า Lemon Grass หรือ Lapine (ชอื่ วิทยาศาสตร์ Cymbopogon citratus Stapf.) เปน็ ญาติกับพืชตระกลู หญา้ การเติบโตข้นึ เปน็ กอ ในประเทศไทยพบไดท้ ุกภาค สรรพคุณของตะไคร้ รากตะไคร้ สรรพคุณของรากตะไคร้ ช่วยบำรุงธาตุ ขับปัสสาวะ แกข้ ัดเบา แก้น่วิ แก้ปวดกระเพาะ รวมถงึ รักษากลากเกลื้อนได้อกี ดว้ ย ลำต้นตะไคร้ สรรพคณุ ของลำต้นตะไครน้ ำมาใชแ้ ก้ปวด จากการปวดข้อและฟกช้ำ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ แก้ ประจำเดอื นมาไมป่ กติ รวมถึงชว่ ยให้เจรญิ อาหาร แกท้ อ้ งเสยี แกท้ อ้ งอดื แกจ้ กุ เสยี ด แนน่ ท้อง ขบั ลมในลำไส้ วิธีใชค้ อื รับประทานสด หรือผึง่ แห้งแลว้ นำมาใชต้ ้มดม่ื ใบตะไคร้ สรรพคณุ ของใบตะไคร้ชว่ ยลดความดนั โลหิตสงู นำมาใชส้ กดั ทำน้ำมันหอมระเหย แมว้ ่าตะไคร้จะเป็นพชื ทใี่ ชป้ ระกอบอาหาร แต่ก็มีสรรพคณุ ทางสมนุ ไพร หากคุณตอ้ งการใช้ตะไคร้ แห้งเพื่อมาตม้ น้ำด่ืมเปน็ ยา เว็บไซต์โครงการอนรุ ักษ์พันธกุ รรมพชื อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริฯ ได้ อธบิ ายวิธีและปรมิ าณการใชป้ ระโยชนต์ ะไคร้ ไว้ดังน้ี

ใชต้ ะไคร้แก้อาการทอ้ งอืด จกุ เสยี ด อาการปวดท้องทม่ี าจากการแนน่ ท้อง จกุ เสยี ด แนน่ เฟอ้ ใช้ตะไครแ้ ก่ทบุ แหลก 1 กำมือ (ขนาด ประมาณ 40 - 60 กรมั ) ต้มนำ้ ด่ืม หรือนำมาประกอบอาหาร ใช้ตะไคร้ 5 ต้น สบั เปน็ ท่อน ต้มกับ เกลอื โดยตม้ ใหเ้ หลือ 1 ใน 3 จากน้ำที่ต้ม หลังจากนัน้ ดืม่ 1 แก้ว ตดิ ต่อกนั 3 วนั จงึ จะคลายปวด ทอ้ ง ใช้ตะไคร้แก้อาการขัดเบา ปัสสาวะไม่คล่อง (ไมม่ ีอาการบวม) ใช้ต้นแก่ 1 กำมือ (ตน้ สดใช้ 40-60 กรัม หรอื ต้นแห้งหนัก 20 - 30 กรัม) ต้มกับนำ้ ดมื่ ครง้ั ละ 1 ถว้ ยชา (75 มิลลิลติ ร) ด่ืมกอ่ นอาหารวันละ 3 ครั้ง ใชเ้ หง้าตะไคร้แก่ ฝานเปน็ แวน่ บางๆ ค่ัวจน เหลือง ชงแทนชา ดม่ื กอ่ นอาหารคร้ังละ 1 ถว้ ยชา วันละ 3 ครงั้ ประโยชน์ของตะไคร้ ประโยชนข์ องตะไคร้ ใช้เป็นวตั ถดุ บิ ประกอบอาหาร เพราะมีเกลือแร่จำเป็นหลายชนดิ ไดแ้ ก่ แคลเซยี ม ฟอสฟอรสั เหล็ก และวติ ามิน นำตะไคร้มาสกัดกลั่นกลิน่ ใช้เป็นน้ำมันหอมระเหย รวมถงึ ตะไคร้หอมมคี ุณสมบตั ิกนั ยงุ ไดด้ ้วย สรรพคณุ ทางยาของตะไคร้ ชว่ ยแกอ้ าการต่างๆ โทษของตะไคร้ แมว้ า่ ตะไคร้เป็นพืชท่ีมีสรรพคุณทางยามากมาย แตก่ ม็ ีข้อควรระวงั ดงั นี้ หญิงต้งั ครรภ์ : หญงิ ต้งั ครรภอ์ ่อนๆ หรอื ใกลค้ ลอด ควรหลีกเล่ยี งการรับประทานตะไครม้ ากเกินไป เพราะตะไคร้มีฤทธิใ์ หก้ ลา้ มเน้อื มดลูกบีบตวั ผปู้ ว่ ยโรคไต : ควรระมัดระวงั การดมื่ นำ้ ตะไคร้ หรอื ใช้ตะไครใ้ นทางสมุนไพร เนื่องจากตะไครม้ ฤี ทธ์ิ ขับปัสสาวะผ้ปู ่วยภมู แิ พ้ : หลกี เล่ยี งการสูดดม หรือการใชน้ ้ำมันตะไคร้หอมไล่ยุง เพราะอาจระคาย เคืองตอ่ ดวงตาและผิวหนังท่อี อ่ นโยน สรรพคณุ ของการบรู สรรพคุณของการบรู 1.ชว่ ยบำรงุ ธาตใุ นร่างกาย ชว่ ยแกธ้ าตุพิการ ชว่ ยคุมธาตุ 2.การบูรมีสรรพคุณเปน็ ยาบำรุงหัวใจและเปน็ ยากระตนุ้ หัวใจ 3.ใชเ้ ปน็ ยาระงบั ประสาท

4.ชว่ ยแกเ้ ลือดลม รากและก่งิ เปน็ ยาชว่ ยทำใหเ้ ลือดลมไหลเวยี นดี 5.ช่วยแก้โรคตา 6.ชว่ ยแกอ้ าการปวดฟนั 7.ช่วยในการขับเหงอ่ื 8.ช่วยแกไ้ ข้หวัด 9.ช่วยแก้อาการไอ 10.ช่วยขับเสมหะ ทำลายเสมหะ 11.ชว่ ยขับความช้ืนในร่างกาย ชว่ ยขบั ลมชน้ื 12.ชว่ ยขับผายลม แก้อาการจุกแน่นเฟอ้ เม่อื นำเกลด็ การบูรมารบั ประทานเพยี งเลก็ น้อย จะชว่ ย ขบั ลมได้ แต่หากใชใ้ นปริมาณมากเกินไปจะทำให้เกิดอาการคลืน่ ไส้อาเจียน เมลด็ มีสรรพคณุ แก้ อาการทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ ส่วนรากและก่ิงมีสรรพคณุ แก้อาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ ลมข้ึน จกุ เสียดแน่น หนา้ อก 13.ชว่ ยแก้กระเพาะหรือลำไส้อกั เสบ 14.ช่วยแกอ้ าการปวดทอ้ ง ทอ้ งร่วง แกป้ วดท้อง ปวดกระเพาะ แกอ้ าการปวดทอ้ ง สว่ นเมล็ดในมี รสฝาด เป็นยาแกบ้ ดิ ปวดเบ่ง ท้องรว่ ง 15.เมลด็ ใช้เปน็ ยาแกอ้ าการปวดท้องนอ้ ย 16.ช่วยแกอ้ าการทอ้ งเสยี อนั เน่อื งมาจากกระเพาะหรอื ลำไส้เยน็ ชนื้ 17.ช่วยฆา่ พยาธใิ นทอ้ ง ใช้ทะลวงทวารบริเวณใบหน้า 18.ช่วยบำรุงกำหนัด ช่วยขบั นำ้ เหลือง 19.เปลือกต้นมรี สฝาด เป็นยาสมานแผล 20.ชว่ ยแกพ้ ษิ จากแมลงสัตว์กัดต่อย 21.เปลอื กต้นและใบใชเ้ ป็นยารกั ษาแผลเร้อื รังเนา่ เปื่อยบรเิ วณผวิ หนัง 22.ชว่ ยรักษาโรคผวิ หนงั เรื้อรงั โดยเกล็ดการบรู สามารถใชเ้ ป็นยารักษาโรคผิวหนงั หรอื ใช้แก้ อาการคันตามผิวหนงั ได้ รักษากลากเกลือ้ น แก้ผดผื่นคัน

23.การบูรเปน็ ยาช่วยระงับเชอ้ื อย่างออ่ น 24.การบูรมรี สเผ็ดร้อนเป็นยาแก้ปวด 25.การบูรใช้เป็นทาถนู วดแก้อาการปวด แก้เคล็ดขัดยอก เคลด็ บวม ข้อเท้าแพลง ขอ้ บวมเปน็ พษิ แก้อาการปวดตามข้อ แกป้ วดเสน้ ประสาท ปวดขดั ตามเส้นประสาท รากและกิ่งชว่ ยแก้อาการปวด เม่ือตามร่างกาย ปวดเม่อื ยตามขอ้ มือและเท้า แกเ้ คลด็ ขดั ยอก 26.ช่วยแกอ้ าการชกั บางประเภท แกก้ ระตุก เส้นสะดุง้ 27.การบรู เมื่อนำมาผสมเปน็ ขผ้ี ึง้ จะเปน็ ยารอ้ น ใช้เป็นยาทาแก้เพื่อถอนพิษอกั เสบเร้ือรัง ปวดยอก ตามกล้ามเน้ือ สะบักจม ทรวงอก ปวดร้าวตามเสน้ เอ็น และโรคปวดผวิ หนงั หมายเหตุ : การใชต้ าม ถ้าเป็นเปลือกตน้ ให้ใช้ภายนอกตามความตอ้ งการ สว่ นรากและก่ิงใชแ้ บบ เป็นยาแห้งครั้งละ 15-30 กรัม และการใชเ้ กล็ดการบรู ตาม ให้ใชค้ ร้ังละ 2-5 มลิ ลิกรัม นำมาตม้ กับ น้ำรบั ประทาน ถา้ ใชภ้ ายนอกใหน้ ำมาแชก่ บั เหล้าใช้เป็นยาทาบรเิ วณที่ต้องการ ข้อมูลทางเภสชั วทิ ยาของการบรู เนอ้ื ไม้ของตน้ การบูรเม่อื นำมากล่ันดว้ ยไอน้ำ จะได้การบรู และนำ้ มนั หอมระเหยรวมกนั ประมาณ 1% ซง่ึ ประกอบดว้ ย acetaldehyde, betelphenol, caryophyllen, cineole, eugenol, limonene, linalool, orthodene, p-cymol, และ salvene รากของตน้ การบรู มีน้ำมันหอมระเหย 3% ซงึ่ ประกอบไปด้วย azulene, cadinene, camphene, camphor, carvacrol, cineol, citronellol, citronellic acid, fenochen, limonene, phellandene, pinene, piperiton, piperonylic acid, safrole และ terpineol ส่วนใบของตน้ การบรู พบ camphor และ camperol ราก กิง่ และใบ พบนำ้ มันระเหยโดยเฉลย่ี ประมาณ 3-6% โดยในนำ้ มนั ระเหยจะมสี ารการบูรอยู่ ประมาณ 10-50% และพบวา่ ต้นการบูรยง่ิ มอี ายุมากเท่าไหร่ จะพบว่ามีสารการบรู มากตามไปดว้ ย โดยพบสาร Azulene, Bisabolone, Cadinene, Camphorene, Carvacrol, Safrol เป็นต้น การบรู มีฤทธติ์ า้ นเชื้อแบคทเี รยี ต้านเชอื้ รา ฆ่าแมลง สรา้ งภูมคิ ้มุ กัน และลดระดับคอเลสเตอรอล เมือ่ นำเกล็ดการบูรมาทาผิวหนา้ จะทำให้รู้สกึ แสบร้อน และหากนำมาผสมกับเกลด็ สะระแหน่จะ ช่วยเพิม่ ความรู้สกึ เย็น เกลด็ การบูรมีประสิทธภิ าพในการชว่ ยกระตุน้ ประสาทสว่ นกลาง และกระตุ้นการทำงานของหัวใจ ทำให้หัวใจเกิดการบีบตวั และเตน้ เรว็ มากข้นึ สง่ ผลทำให้การหายใจถี่ขึน้

ประโยชนข์ องการบูร -นำ้ มนั การบรู จะชว่ ยกระต้นุ ความร้สู กึ และทำใหจ้ ติ ใจโลง่ และปลอดโปร่ง ช่วยบรรเทาอาการปวด ศรี ษะและทำใหต้ นื่ ตัว ชว่ ยบรรเทาอาการวิงเวยี นศีรษะ เมารถ เมาเรอื -ใช้เป็นยาชาเฉพาะท่ี -ชว่ ยแกร้ อยผวิ หนังแตกในชว่ งฤดูหนาว -ก่ิงกา้ นและใบสามารถนำมาใช้แต่งกลน่ิ อาหารและขนมได้ เชน่ ผลิตภัณฑ์เกย่ี วกับเนื้อสตั ว์ ไส้ กรอก เบคอน ข้าวหมกไก่ ลกู กวาด แยม เยลลี่ เคร่ืองดมื่ โคคาโคลา เหล้า หรือใชเ้ ปน็ ส่วนผสมใน เคร่อื งพะโล้ เครอื่ งแกงมัสมน่ั ผงกะหร่ี คุกกี้ ขนมเค้ก ฯลฯ ใชแ้ ตง่ กลิ่นยาและใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบ ของอาหารประเภทผักดอง ซอส เปน็ ต้น -การบูรเมื่อนำมาวางในห้องหรือตูเ้ สอื้ ผ้าจะสามารถชว่ ยไลย่ ุงและแมลง และยังนำมาผสมเป็นตวั ดับกลิน่ อับในรองเทา้ ไดอ้ ีกด้วย -ใชเ้ ป็นส่วนผสมในตำรบั ยาหอมตา่ ง ๆ เชน่ ยาหอมเทพจติ ร ยาหอมทิพโอสถ ยาประสะไพล ยา ธาตุบรรจบ ยาประสะกานพลู ยามันทธาตุ ยาไฟประลัยกัลป์ ยาประสะเจตพังคี ยาธรณีสัณฑะฆาต ยาธาตุอบเชย หรอื นำมาใชท้ ำน้ำมนั ไพล ลูกประคบ พิมเสนน้ำ ข้อควรระวังในการใชก้ ารบรู สตรีมคี รรภ์ห้ามรับประทานและผ้ทู ีม่ ีปสั สาวะเปน็ เลือด ปัสสาวะขดั เปน็ โรคริดสีดวงทวาร อจุ จาระแขง็ แห้งไม่ควรรับประทาน หา้ มใช้นำ้ มันการบูรทมี่ ีสเี หลอื งและสีนำ้ ตาล เพราะมคี วามเปน็ พษิ เม่ือรับประทานการบรู 0.5-1 กรมั จะมีผลทำให้เกิดอาการเวียนศรี ษะ และภายในมอี าการแสบ ร้อนและอาจเกดิ อาการเพ้อได้ ถา้ รับประทานการบูร 2 กรัมข้นึ ไปจะเกิดอันตรายทำให้อตั ราการเตน้ ของหัวใจออ่ นลงหาก รับประทานการบูร 7 กรมั ขึ้นไปจะเป็นอนั ตรายถงึ ชีวิต

บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ งาน อปุ กรณแ์ ละส่วนประกอบ 1.การบูร 2.นำ้ มันตะไครห้ อม 3.แอลกอฮอล์ 4.ขวดสเปรยข์ นาด 18 cc. 5.ภาชนะสำหรับผสม 6.ชอ้ นสำหรับการคนสว่ นผสม วธิ ที ำ 1.ใสแ่ อลกอฮอลล์ งในภาชนะทีเ่ ตรยี มไว้ 2. ใสน่ ้ำมนั ตะไคร้หอม 3. ใสก่ ารบูรลงไป 4. คนสว่ นผสมทัง้ หมดใหเ้ขา้ กนั 5. เทใส่ขวดบรรจุ 6.ตรวจความเรียบร้อยของบรรจุภัณฑ์และตดิ โลโก้

ใสแ่ อลกอฮอลล์ งในภาชนะท่เี ตรยี มไว้ ใสน่ ำ้ มนั ตะไครห้ อม ใสก่ ารบรู ลงไป คนส่วนผสมทัง้ หมดให้ข้ากนั เทใส่ขวดบรรจุพรอ้ มทั้งตรวจความเรียบรอ้ ยของบรรจภุ ณั ฑ์และติดโลโก้

บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล น้ำมันตะไคร้หอมที่ได้ สามารถนำมาฉีดไล่ยุงได้จริง ไม่มีกลิ่นฉุนจนเกินไป และไม่เป็น อันตรายต่อมนษุ ย์ หลังจากเสร็จสิ้นโครงงานคณะผู้จัดทำยังจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประกอบเป็น อาชพี เสริม นำไปพัฒนาปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั และภายในอนาคต ภาพประกอบชนิ้ งาน

บทที่ 5 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การจัดทำโครงงาน “ ตะไคร้หอมไลย่ ุง ” ผ้จู ดั ทำไดส้ รปุ ผลการดำเนนิ งานและมีข้อเสนอแนะ ดงั นี้ วัตถุประสงคข์ องการทำโครงงาน 1.เพื่อเสนอแนะแนวทางป้องกนั โรคไขเ้ลอื ดออกและสารพิษท่ีเขา้ สู่ร่างกาย 2.เพื่อนำวัสดุทม่ี ีอย่ใู นทอ้ งถิ่นมาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ 3.เพือ่ นำความรทู้ ่ไี ดม้ าเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพได้ ปญั หาในการดำเนนิ งาน 1.กล่นิ ของนำ้ มันตะไคร้หอมฉุนเกนิ ไป 2.กลน่ิ อยไู่ ด้ไม่นาน ใชไ้ ด้ผลประมาณ 1-2 ชม.

บรรณานกุ รม อา้ งองิ ออนไลน์ , 2564 จาก URL - https://www.sentangsedtee.com/health-beauty/article_118041 - https://youtu.be/p5roc4sjpp4 - https://www.rentokil.com/th/mosquitoes/species/ - https://sites.google.com/site/63lemongrass2556/say-phanth-khxng-takhir - https://www.thansettakij.com/business/441718 - https://www.thairath.co.th/lifestyle/food/1975261 - https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9A %E0%B8%B9%E0%B8%A3/ - https://health.kapook.com/view207384.html