ระเบียบงานวัดผลและประเมินผล 2565

ระเบียบงานวัดผลและประเมินผล 2565
ดาวน์โหลดไฟล์ ตัวอย่าง ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนวัดหนองดินแดง (ประชารัฐอุทิศ)

ดาวน์โหลดไฟล์ ตัวอย่าง ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนวัดหนองดินแดง (ประชารัฐอุทิศ)

สวัสดีครับคุณครูทุกท่าน วันนี้ สื่อการสอนฟรี ดอทคอม วันนี้ขอนำเสนอ ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยโรงเรียนวัดหนองดินแดง (ประชารัฐอุทิศ)

ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

ระเบียบงานวัดผลและประเมินผล 2565
ดาวน์โหลด เล่มเอกสารแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 4) พ.ศ. 2557 สพฐ.

เอกสาร แนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 4) พ.ศ. 2557 จัดทำโดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คุณครูสามารถดาวน์โหลดไฟล์เอกสารได้ในลิงค์ด้านล่างครับ

ระเบียบงานวัดผลและประเมินผล 2565
ดาวน์โหลด เล่มเอกสารแนวปฏิบัติ การวัด และประเมินผล การเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 4) พ.ศ. 2557 สพฐ.

ลิงก์สำรองคลิกที่นี่

ขอบคุณที่มา : สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ระเบยี บการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๕

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบบั ปรับปรงุ ๒๕๖๐)

โรงเรยี นนิกรราษฎร์บารุงวทิ ย์
สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๒

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

[๑]

คานา

โรงเรียนนิกรราษฎร์บารงุ วทิ ย์ ไดจ้ ัดทาหลกั สตู รสถานศึกษาขน้ึ ใชใ้ นปกี ารศึกษา 2565 โดยยึดตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ซึ่งระเบียบว่าด้วยการวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ของสถานศึกษา เป็นเอกสารประกอบตามหลักสูตรฯ ท่ีจะช่วยขับเคลื่อน
กระบวนการนาหลักสูตรไปสกู่ ารปฏบิ ัตใิ หเ้ ปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ

ดังน้ันโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ จึงได้จัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
สถานศึกษา เพ่ืออธิบายขยายความให้ทุกฝ่ายตั้งแต่ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้เรียนและผู้เก่ียวข้องมีความเข้าใจที่
ชัดเจนตรงกัน และทางานร่วมกนั อยา่ งเป็นระบบเอกสารประกอบดว้ ย 2 ตอน คอื

ตอนที่ 1 ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วย การวัดและประเมินผลการเรียน รู้ โรงเรียน
นิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พุทธศักราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง 2560)

ตอนที่ 2 แนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์
พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)

คณะผ้จู ดั ทาหวังเป็นอยา่ งยิง่ ว่า เอกสารระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียน
นิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พุทธศักราช 2565 คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เก่ียวข้องทุกฝ่ายท่ีจะช่วยสร้างความรู้
ความเขา้ ใจ และปฏิบัติการวัดและประเมินผลผู้เรียนเป็นแนวทางเดียวกันและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ส่งผล
ให้พัฒนาผู้เรียนได้ตามหลักการ เจตนารมย์ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช 2551 ต่อไป

คณะผู้จัดทา

[ก]

สารบัญ

หนา้
คานา
ตอนท่ี 1 ระเบยี บสถานศึกษาวา่ ด้วยการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วิทย์

พุทธศักราช 2565 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน
พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560)................................................................................ 1
ตอนที่ 2 แนวปฏบิ ัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ โรงเรยี นนิกรราษฎรบ์ ารงุ วิทย์
พทุ ธศกั ราช 2565 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
(ฉบบั ปรบั ปรงุ 2560) ........................................................................................................... 19
บรรณานกุ รม.......................................................................................................................................... 44
ภาคผนวก............................................................................................................................................... 45
- คาสง่ั
- ตวั อย่างเอกสารหลักฐานทส่ี ถานศึกษาจัดทา

[ข]

ตอนท่ี 1

ระเบียบสถานศกึ ษาว่าด้วย การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์
พทุ ธศกั ราช 2565 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรบั ปรุง 2560)

[1]

ประกาศโรงเรียนนกิ รราษฎรบ์ ารุงวทิ ย์
เรื่อง ใหใ้ ช้ระเบยี บการวัดและประเมินผลโรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ พทุ ธศกั ราช 2565
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

............................................................................

ระเบียบวัดผลประเมินผลโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พุทธศักราช 2565 เป็นระเบียบวัดผล
ประเมินผลทีม่ ีความสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ พุทธศักราช 2565 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) และได้ดาเนินการตาม
คาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ 1239/2560 ลงวันที่ 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2560 เรื่องให้ใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยระเบียบนี้กาหนดให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วิทย์ พทุ ธศักราช 2565

คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้มีมติเห็นชอบให้ใช้ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียน
โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารุงวิทย์ พทุ ธศกั ราช 2565 ในระดับประถมศึกษา โดยเร่ิมใช้ในปีการศึกษา 2565 เม่ือ
วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 จึงประกาศให้ใช้ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้โรงเรียน
นิกรราษฎร์บารงุ วทิ ย์ พุทธศักราช 2565

ประกาศ ณ วันท่ี วนั ท่ี 11 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

(นายจานงค์ อ่อนแย้ม) (นางสาวณัฎฐพิ ร วงษไ์ ทย)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ผอู้ านวยการ

โรงเรยี นนกิ รราษฎร์บารงุ วทิ ย์ โรงเรยี นนิกรราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์

[2]

ระเบยี บโรงเรยี นนิกรราษฎร์บารุงวทิ ย์
วา่ ด้วยการวัดผลและประเมินผลการเรยี น ระดับประถมศกึ ษา พุทธศกั ราช 2561
ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

-------------------------------------------------------------------
ตามที่โรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ได้ประกาศใช้หลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2565 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามคาสั่ง
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท่ี สพฐ 1239/2560 ลงวันที่ 8 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2560 เรื่องให้ใช้หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) จึงเป็นการสมควรที่กาหนดระเบียบ
โรงเรยี นนิกรราษฎร์บารุงวทิ ย์ วา่ ดว้ ยการวัดผลและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) เพ่ือให้สามารถดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
สอดคล้องกบั คาสั่งดงั กลา่ ว
ฉะน้ันอาศัยอานาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2546 และกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และงานวิชาการ
สถานศึกษาขัน้ พื้นฐานโดยความเหน็ ขอบของคระกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน จงึ วางระเบียบไวด้ งั ตอ่ ไปนี้

ข้อ 1 ระเบียบนเ้ี รียกว่า “ระเบียบโรงเรียนนิกรราษฎร์บารุงวิทย์ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรยี นระดบั ประถมศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)

ขอ้ 2 ระเบียบน้ใี ห้ใช้บังคับตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2565 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ใหย้ กเลิกระเบยี บ ขอ้ บังคับ ท่ขี ัดแยง้ กบั ระเบียบนี้ ใหใ้ ช้ระเบยี บน้ีแทน
ขอ้ 4 ใหใ้ ชร้ ะเบยี บนคี้ วบคู่กับหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นนิกรราษฎร์บารงุ วิทย์ พทุ ธศักราช
2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560)
ข้อ 5 ให้ผบู้ ริหารสถานศกึ ษารกั ษาการให้เปน็ ไปตามระเบียบนี้

[3]

หมวดท่ี 1 หลกั การวัดและประเมนิ ผลการเรยี น
ข้อ 6 การประเมนิ ผลการเรียนให้เปน็ ไปตามหลกั การในต่อไปน้ี

6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบประเมินผลการเรียนของผู้เรียนโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและวิชาการ

6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตวั ชี้วัดทก่ี าหนดในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

6.3 การประเมินผลการเรียนตอ้ งประกอบดว้ ย การประเมินเพอ่ื ปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน การ
จัดการเรียนการสอน และการประเมินผลเพอ่ื ตัดสินผลการเรียน

6.4 การประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดาเนินการ
ด้วยวิธีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั ส่ิงทตี่ ้องการวดั ธรรมชาตขิ องรายวิชา และระดับชัน้

6.5 ให้มกี ารประเมนิ ความสามารถของผ้เู รียนในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ เขยี นในแต่ละช้นั
6.6 ให้มีการประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องผเู้ รียนในแตล่ ะชน้ั
6.7 ใหม้ กี ารประเมินคณุ ภาพผเู้ รียนในระดบั ชาติในแต่ละช่วงชัน้
6.8 เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นตรวจสอบผลการประเมินการเรยี นได้
6.9 ใหม้ กี ารเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ

หมวดท่ี 2 วธิ ีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น
ข้อ 7 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการท่ีให้ผู้สอนใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
เพ่ือใหไ้ ด้ข้อมูลสารสนเทศ ท่ีแสดงพัฒนาการความก้าวหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ให้เป็น
การประเมินเพือ่ ปรบั ปรงุ การเรยี นมากกว่าการตัดสินผลการเรยี น ประกอบดว้ ย

7.1 การประเมนิ ผลระดับช้ันเรียนเป็นการวัดความก้าวหน้าท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์

7.2 การประเมนิ ผลระดบั สถานศึกษาเพ่ือตรวจสอบความก้าวหน้า การเรียนรู้เป็นรายปี และ
ชว่ งช้ัน สาหรบั สถานศึกษานาข้อมูลที่ได้ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนาการเรียนการสอนและ
คณุ ภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมทัง้ พจิ ารณาตดั สินการเลอื่ นชว่ งชน้ั

7.3 การประเมินผลระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เป็นการประเมินด้วยแบบประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนท่ีเป็นมาตรฐาน เพื่อตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและคุณภาพการศึกษา
ของชาติ สาหรับนาผลการประเมินไปวางแผนดาเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียนการสอน และ
พฒั นาการผู้เรยี นให้ไดม้ าตรฐาน

7.4 การประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับชาติ เป็นการประเมินด้วยแบบประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เป็นมาตรฐานระดับชาติ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและ
คุณภาพการศึกษาของชาติ สาหรับนาผลการประเมินไปวางแผนดาเนินการปรับปรุงแก้ไขการจัดการเรียน
การสอน และพฒั นาการผเู้ รียนให้ได้มาตรฐาน

[4]

7.5 การประเมินเพ่อื ตดั สินผลการเรยี น เปน็ การประเมนิ เพอ่ื สรุปความสาเร็จในการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนในการจบช่วงชั้นและจบหลักสูตรการศึกษาในระดับต่าง ๆ ซ่ึงจะทาให้ผู้เรียนได้รับการรับรองความรู้
และวุฒิการศึกษาจากสถานศึกษา

ข้อ 8 แนวดาเนินการประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษา
เพื่อให้การวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีการดาเนินการตามหลักการกระจายอานาจมีการประเมินผู้เรียนตาม
หลักการวัดและประเมินผลการเรียน มีการตรวจสอบและกากับติดตามประเมินคุณภาพการประเมินผลการ
เรียนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ จึงกาหนดแนวดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนของ
สถานศกึ ษา ดังนี้

8.1 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการของสถานศึกษา
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กาหนดรูปแบบ ระบบและ
ระเบียบประเมนิ ผลของสถานศกึ ษา เพอื่ ใชเ้ ป็นแนวปฏิบัตใิ นการประเมนิ ผลการเรียนของสถานศึกษา
8.2 สถานศึกษาโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา กาหนด
ตัวช้ีวัดในแต่ละรายวิชา และแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์และมาตรฐานการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนและหลักสูตรระดับท้องถิ่น เพ่ือใช้เป็น
เปา้ หมายในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้รายภาค
8.3 คณะอนุกรรมการระดับกลุ่มวิชาให้ความเห็นชอบของรูปแบบ วิธีการ เคร่ืองมือสาหรับ
การประเมนิ และผลการตดั สินการประเมนิ ผลการเรียนรายวิชาของผ้สู อน
8.4 ผู้สอนจัดการเรียนการสอน ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน และประเมินสรุปผลสัมฤทธิ์
ของผู้เรียนด้วยวิธีการหลากหลายตามสภาพจริง โดยนาตัวช้ีวัด ไปใช้เป็นข้อมูลรวมกับการประเมิน
ปลายภาค/ปลายปี
8.5 หวั หนา้ สถานศกึ ษาอนมุ ตั ผิ ลการเรียนปลายภาค/ปลายปี และการผา่ น จบการศกึ ษา
8.6 สถานศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนินการประเมินผลการเรียนประจาปี โดยความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษา เสนอต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพน้ื ฐาน
ขอ้ 9 ใหม้ กี ารประเมนิ ผลการเรยี นในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย
9.1 การประเมินผลการเรียนในแต่ละรายวิชาของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ซ่ึงสถานศึกษา
วิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด การประเมินรายวิชาให้ตัดสินผลการประเมินเป็นระดับ
ผลการเรียน 8 ระดับ ดังนี้

“4” หมายถึง ผลการเรยี นดีเยี่ยม
“3.5” หมายถึง ผลการเรียนดีมาก
“3” หมายถงึ ผลการเรยี นดี
“2.5” หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นข้างดี

[5]

“2” หมายถึง ผลการเรียนนา่ พอใจ
“1.5” หมายถงึ ผลการเรยี นพอใช้
“1” หมายถงึ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ข้ันตา่ ที่กาหนด
“0” หมายถงึ ผลการเรยี นตา่ กว่าเกณฑ์ขั้นตา่ ทกี่ าหนด
9.2 การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ประกอบดว้ ย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียนและ
กิจกรรมบาเพ็ญเพ่ือสาธารณประโยชน์ การร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นการประเมินความสามารถ และ
พัฒนาการของผู้เรียน ในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในแต่ละภาคเรียนตามเกณฑ์ของแต่ละกิจกรรม
และตดั สนิ ผลการประเมินเป็น 2 ระดบั ดังน้ี
“ผ่าน” หมายถึง ผ่านเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากาหนด
“ไมผ่ า่ น” หมายถึง ไมผ่ า่ นเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด
9.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นการประเมินพัฒนาทางด้านคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ตามคุณลักษณะที่สถานศึกษากาหนด
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จะประเมินเป็นรายคุณลักษณะทุกภาคเรียน และตัดสิน
ผลการประเมินเป็น 4 ระดบั ดงั น้ี
ดีเย่ียม หมายถึง ผูเ้ รียนมพี ฤติกรรมตามตวั บง่ ชี้ผ่านเกณฑ์ รอ้ ยละ 80 – 100

ของจานวนตวั บ่งช้คี ุณลักษณะนน้ั ๆ แสดงวา่
ผู้เรยี นมีคุณลกั ษณะนัน้ ๆ จนสามารถเป็นแบบอย่างแกผ่ ู้อ่ืนได้
ดี หมายถึง ผเู้ รียนมพี ฤติกรรมตามตวั บ่งชี้ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 65 – 79
ของจานวนตัวบ่งช้คี ุณลกั ษณะน้นั ๆ แสดงว่า
ผู้เรียนมีคุณลักษณะนั้น ๆ ดว้ ยการปฏิบตั ดิ ว้ ยความเตม็ ใจ
ผา่ น หมายถงึ ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ีผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50 – 64
ของจานวนตัวบง่ ช้คี ุณลักษณะนั้น ๆ ได้ปฏิบตั ิตน
ดว้ ยความพยายามปฏบิ ตั ิตนตามคาแนะนา
ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผู้เรยี นมพี ฤติกรรมตามตวั บง่ ช้ีผ่านเกณฑ์ ต่ากวา่ ร้อยละ 50
ของจานวนตวั บง่ ช้ีในคุณลักษณะนั้น แสดงวา่
ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะนน้ั ๆ ตอ้ งมผี ู้อื่นคอยกระตุ้นเตือน
เม่ือเล่ือนชั้นจะพิจารณาจากผลการประเมิน ดีเย่ียม, ดี, ผ่าน โดยต้องมีผลการประเมิน
อยูใ่ นระดับ “ผา่ น” ขึ้นไป
9.4 การประเมินความสามารถอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน เป็นการประเมินทักษะ การคิด
และการถ่ายทอดความคิดด้วยทักษะการอ่าน การคิด วิเคราะห์ ตามเงื่อนไข และวิธีการที่สถานศึกษา
กาหนดและตดั สนิ ผลการประเมินเป็น 4 ระดับ ดงั นี้

[6]

- ดีเยยี่ ม
- ดี
- ผ่าน
- ไมผ่ า่ น
เมอ่ื เลือ่ นช้ันจะพิจารณาจากผลการประเมิน ดีเยยี่ ม, ดี, ผ่าน โดยต้องมีผลการประเมินอยู่ใน
ระดบั “ผา่ น” ขน้ึ ไป
9.5 การตดั สนิ ผลการเรยี นเล่อื นชน้ั เปน็ การนาผลการประเมินในด้านต่าง ๆ มาประมวลสรุป
เพ่อื ตดั สินใหผ้ ้เู รยี นผ่านระดบั ตา่ ง ๆ ตามเกณฑ์การตัดสนิ ผลการเรยี นแตล่ ะระดับช้ัน
ข้อ 10 เกณฑ์การตัดสินผลการเรียนจบหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือให้ผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานท่ีผ่านการศึกษาแต่ละชั้น และจบหลักสูตรสถานศึกษาครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสูตรของ
สถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาจึงกาหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน การจบหลักสูตร
การศกึ ษาภาคบังคับไว้ ดังน้ี
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน และรายวิชา/เพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน
ทห่ี ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานกาหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี
สถานศกึ ษากาหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ตามทสี่ ถานศึกษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด

หมวดที่ 3 เกณฑ์การวดั และประเมินผลการเรยี น
ข้อ 11 การตดั สินผลการเรยี นให้ถอื ปฏิบัติดังน้ี

11.1 พิจารณาตัดสินว่า ผู้เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ทง้ั 8 กลมุ่ และได้รบั ผลการเรียน 1 ถึง 4

11.2 การตัดสินพิจารณาว่าผู้เรียนจะนับจานวนชั่วโมง / จานวนหน่วยกิตจะต้องได้รับ
ผลการเรยี น 1 ถงึ 4

11.3 ได้รบั การประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน เป็นรายภาค และนาไปตัดสินการ
เลื่อนช้ัน โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดให้ได้ผลการประเมินเป็นดีเย่ียม ดี และผ่าน ถ้าไม่ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ใหไ้ ดผ้ ลการประเมิน “ไม่ผา่ น”

[7]

11.4 ไดร้ ับการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผูเ้ รยี นเปน็ รายภาค และนาไปตัดสินการ
เลื่อนช้ัน โดยถ้าผ่านเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนดให้ได้ผลการประเมินเป็นดีเย่ียม ดี และผ่าน
ถา้ ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ให้ได้ผลการประเมินเป็น “ไมผ่ า่ น”

11.5 ได้รับการตัดสินการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นรายภาคโดยถ้าผ่านเกณฑ์
การประเมนิ ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ เป็น “ผ” และถ้าไม่ผา่ นเกณฑใ์ หผ้ ลประเมินได้ “มผ”

11.6 วัดผลปลายภาค/ปลายปีเฉพาะผู้มีเวลาเรยี นตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของ
เวลาเรียนในรายวิชานั้น ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ เสนอผ่า นคณะ
กรรมการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการเหน็ ชอบ และเสนอผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาอนุมตั ิ

11.7 ผ้เู รยี นท่มี เี วลาเรียนไมถ่ ึงรอ้ ยละ 80 ของเวลาเรยี นในรายวิชาน้ัน และไม่ได้รับการผ่อน
ผนั ให้เข้ารบั การวัดผลปลายภาค/ปลายปีเรียนใหไ้ ดผ้ ลการเรียน “มส”

11.8 ผเู้ รยี นท่มี ีผลการเรียนต่ากวา่ เกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากาหนดให้ ไดร้ ะดบั ผลการเรียน “0”
11.9 ผู้เรียนที่ทุจริตในการสอบหรือทุจริตในงานท่ีมอบหมายให้ทาในรายวิชาใด คร้ังใด
กต็ าม ใหไ้ ด้คะแนน “0” ในครง้ั นนั้
11.10 ผู้เรียนทไี่ ม่ไดว้ ัดผลรายภาค ไมไ่ ด้ส่งงานทไี่ ด้รับมอบหมายให้ทา หรือมเี หตุสุดวิสัยที่ทา
ให้ประเมินผลการเรยี นไม่ได้ ใหไ้ ดผ้ ลการเรียน “ร”
กรณีที่ผู้เรียนได้ผลการเรียน “ร” เพราะไม่ส่งงานน้ันจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
คณะอนกุ รรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ขอ้ 12 การเปล่ียนผลการเรยี นใหถ้ ือปฏบิ ตั ิ ดงั นี้
12.1 การเปลยี่ นผลการเรยี น “0”
ควรจัดให้มีการสอนซ่อมเสริมในตัวช้ีวัดที่ผู้เรียนสอบไม่ผ่านก่อน แล้วจึงสอบแก้ตัวให้และให้
สอบแก้ตัวได้ไม่เกนิ 2 คร้ัง ท้ังน้ตี ้องดาเนินการใหเ้ สร็จสนิ้ ภายในปกี ารศึกษาน้นั
ถ้าผู้เรียนไม่ดาเนินการสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กาหนดไว้น้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของ
สถานศกึ ษาทีจ่ ะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีกไมเ่ กิน 1 ภาคเรยี น
ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้ระดับผลการเรียน “0” อีกให้แต่งต้ังคณะกรรมการ
ดาเนนิ การเกยี่ วกบั การแก้ผลการเรียนของผเู้ รียนโดยปฏบิ ัติ ดังน้ี

1) ให้เรยี นซ้ารายวิชาถ้าเปน็ รายวิชาพ้นื ฐาน
2) ใหเ้ รยี นซา้ หรือเปล่ยี นรายวชิ าเรยี นใหม่ ถา้ เป็นรายวชิ าเพม่ิ เติม โดยให้อยใู่ นดุลยพินิจ
ของสถานศึกษา
ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่า เรียนแทน
รายวิชาใด
12.2 การเปล่ียนผลการเรยี น “ร”
การเปลี่ยนผลการเรยี น “ร” มี 2 กรณี ดังน้ี

[8]

1) มีเหตุสุดวิสัย ทาให้ ประเมินผลการเรียนไม่ได้ เช่น เจ็บป่วย เม่ือผู้เรียนได้เข้าสอบ
หรือส่งผลงานที่ติดค้างอยู่เสร็จเรียบร้อย หรือแก้ปัญหาเสร็จส้ินแล้ว ให้ได้ระดับผลการเรียนตามปกติ
(ตัง้ แต่ 0 – 4)

2) ถา้ สถานศึกษาพิจารณาแลว้ เห็นวา่ ไม่ใช่เหตุสุดวิสัย เม่ือผ้เู รยี นไดเ้ ข้าสอบ หรือสง่ ผล
งานท่ตี ดิ ค้างอยู่เสรจ็ เรียบร้อย หรือแก้ปญั หาเสร็จสิน้ แลว้ ใหไ้ ด้ระดบั ผลการเรยี นไมเ่ กิน “1”

การเปล่ียนผลการเรียน “ร” ให้ดาเนินการแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษาน้ัน
ถ้าผเู้ รียนไม่มาดาเนนิ การแก้ “ร” ตามระยะเวลาทกี่ าหนดไวใ้ หเ้ รียนซ้ารายวิชา ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่
ในดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษาท่จี ะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แต่เม่ือพ้นกาหนดน้ี
แลว้ ใหป้ ฏบิ ัติ ดังนี้

(1) ใหเ้ รยี นซ้ารายวิชา ถ้าเป็นรายวิชาพน้ื ฐาน
(2) ให้เรียนซ้าหรือเปลย่ี นรายวชิ าเรียนใหม่ ถา้ เป็นรายวิชาเพมิ่ เตมิ โดยให้อยู่ในดลุ ย
พินิจของสถานศึกษา
ในกรณที เ่ี ปลี่ยนรายวชิ าเรียนใหม่ ให้หมายเหตใุ นระเบียนแสดงผลการเรยี นวา่ เรยี นแทน
รายวชิ าใด
12.3 การเปลยี่ นผลการเรยี น “มส”
การเปลีย่ นผลการเรยี น “มส” มี 2 กรณี ดงั นี้
1) กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียน
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียนท้ังหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนเพิ่มเติมโดยใช้ชั่วโมงสอนซ่อมเสริม
หรือเวลาวา่ ง หรือวนั หยุด หรือมอบหมายงานให้ทา จนมีเวลาเรียนครบตามที่กาหนดไว้สาหรับรายวิชานั้น
แล้วจึงให้สอบเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้ “มส”
กรณีนี้ให้กระทาให้เสร็จส้ินในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่มาดาเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่กาหนด
ไว้นี้ให้เรียนซ้า ยกเว้น มีเหตุสุดวิสัย ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะขยายเวลาการแก้ “มส”
ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรียน แตเ่ มอื่ พน้ กาหนดนแ้ี ล้ว ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้
- ใหเ้ รยี นซ้ารายวิชา ถ้าเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน
- ใหเ้ รียนซา้ หรอื เปลยี่ นรายวิชาเรยี นใหม่ ถ้าเปน็ รายวชิ าเพิ่มเติมโดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ ิจ
ของสถานศกึ ษา
2) กรณีผู้เรียนไดผ้ ลการเรียน “มส” และมีเวลาเรียนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรียน
ทั้งหมด ให้สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้าในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม หรือเปล่ียนรายวิชาใหม่ได้
สาหรบั รายวิชาเพม่ิ เติมเทา่ นน้ั
ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาเรียนใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวิชาใด

[9]

ในกรณีภาคเรียนท่ี 2 หากผ้เู รยี นยังมผี ลการเรียน “0” “ร” “มส” ใหด้ าเนินการให้เสร็จส้ิน
ก่อนเปดิ เรียนปีการศึกษาถัดไป สถานศกึ ษาอาจเปดิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรียน
ของผู้เรยี นได้ ท้ังนี้ โดยสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา/ต้นสังกดั ควรเปน็ ผูพ้ ิจารณาประสานให้มีการ
ดาเนนิ การเรียนการสอนในภาคฤดรู ้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียนของผู้เรียน

12.4 การเปลีย่ นผลการเรียน “มผ”
หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กาหนดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม

พัฒนาผู้เรียน 3 กิจกรรม คือ 1) กิจกรรมแนะแนว 2) กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้วย กิจกรรม
ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ หรือกิจกรรมชมรม โดยผเู้ รียนเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง 1
กิจกรรมและเลือกเข้าร่วมกิจกรรมชุมนุม หรือชมรมอีก 1 กิจกรรม 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์

ในกรณีท่ีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซ่อมเสริมให้ผู้เรียนทากิจกรรมจน
ครบตามเวลาท่ีกาหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะท่ีต้องปรับปรุง แก้ไข แล้วจึงเปลี่ยนผล
การเรียนจาก “มผ” เป็น “ผ” ท้ังนี้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษาน้ั ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่
ในดลุ ยพนิ ิจของสถานศึกษา

12.5 การเปลี่ยนแปลงผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ “ไม่ผ่าน”
ให้คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดาเนินการจัดกิจกรรมซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข หรือ
ตามวิธกี ารที่คณะกรรมการกาหนด เพ่อื ให้ผเู้ รียนผา่ นเกณฑท์ ่สี ถานศึกษากาหนด

ขอ้ 13 การตดั สนิ ให้ผ้เู รยี นเลอ่ื นชัน้ / ซา้ ชัน้
1) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่า

ร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทงั้ หมดในรายวิชานั้น ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวช้ีวัด และผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด คือ

ตวั ชว้ี ดั ท่ตี อ้ งผ่าน ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของแตล่ ะรายวิชา
3) ผูเ้ รยี นต้องได้รบั การตดั สนิ ผลการเรยี นทุกรายวชิ า
4) ผเู้ รยี นต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด

ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี น คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
ถ้าผู้เรียนไม่ผ่านให้ดาเนินการสอนซ่อมเสริม แล้วทาการประเมินจนผู้เรียนสามารถผ่านเกณฑ์

การประเมินท่สี ถานศึกษากาหนด
13.1 การเล่อื นชัน้
ผ้เู รยี นจะไดร้ บั การตัดสินผลการเรียนทกุ ภาคเรียนและไดร้ ับการเลอื่ นชั้นเมื่อสน้ิ ปีการศึกษาโดย

มคี ณุ สมบตั ิตามเกณฑ์ ดงั นี้
1) รายวิชาพน้ื ฐาน ไดร้ ับการตัดสินผลการเรียนผ่านทกุ รายวชิ า
2) รายวชิ าเพ่มิ เติม ไดร้ บั การตดั สนิ ผลการเรียนผ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากาหนด

[10]

3) ผู้เรียนต้องรับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด
ในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

4) ระดับผลการเรียนเฉลย่ี ในปีการศกึ ษานนั้ ควรได้ไมต่ ่ากว่า 1.00
ทั้งน้ีรายวิชาใดท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน สถานศึกษาสามารถซ่อมเสริมผู้เรียนให้ได้รับ การ
แกไ้ ขในภาคเรยี น/ปกี ารศกึ ษา ถดั ไป
13.2 การเรียนซา้
สถานศึกษาจะจัดใหผ้ ้เู รียนเรยี นซา้ ใน 2 กรณี ดงั น้ี

กรณีที่ 1 เรียนซ้ารายวิชา หากผู้เรียนได้รับการสอนซ่อมเสริมและสอบแก้ตัว 2 ครั้ง
แล้วไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ให้เรียนซ้ารายวิชานั้น ท้ังนี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดให้
เรยี นซา้ ในชว่ งใดช่วงหน่ึงทส่ี ถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ช่ัวโมงว่างหลังเลิกเรียน
ภาคฤดูร้อน เป็นตน้

กรณีที่ 2 เรยี นซา้ ชนั้ มี 2 ลกั ษณะ คือ
- ผูเ้ รยี นมรี ะดับผลการเรยี นเฉลี่ยในปกี ารศึกษาน้ันตา่ กวา่ 1.00 และมแี นวโนม้ วา่ จะเป็น
ปัญหาต่อการเรียนในระดบั ช้ันท่ีสงู ข้ึน
- ผูเ้ รยี นมีผลการเรียน 0, ร, มส เกินคร่ึงหน่งึ ของวชิ าทีล่ งทะเบยี นเรียนในปีการศึกษาน้ัน
ทง้ั น้ี หากเกิดลักษณะใดลกั ษณะหน่ึง หรือทั้ง 2 ลักษณะให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ
การพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้าช้ัน โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ผลการเรียน
ใหมแ่ ทน หากพิจารณาแล้วไม่ตอ้ งเรียนซ้าชั้น ใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจของสถานศึกษาในการแก้ไขผลการเรยี น
13.3 การสอนซ่อมเสริม
การสอนซ่อมเสริม เปน็ สว่ นหนึง่ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการให้โอกาสแก่ผู้เรียน
ให้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เพ่ิมขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้
การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนจัดการเรียนรู้ปกติเพ่ือแก้ไข
ขอ้ บกพร่องทพ่ี บในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ของผเู้ รียน
การสอนซอ่ มเสริมสามารถดาเนนิ การได้ในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี
1) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพ้ืนฐานไม่เพียงพอท่ีจะศึกษาในแต่ละรายวิชาน้ัน ควรจัดการ
ซ่อมเสริม ปรบั ความร้/ู ทกั ษะพ้ืนฐาน
2) การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการหรือ
เจตคติ/คุณลักษณะท่ีกาหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั
3) ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์ และ/หรือต่ากว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับผล
การเรียน “0” ตอ้ งจดั การสอนซ่อมเสรมิ กอ่ นจะให้ผู้เรียนสอบแก้ตัว
4) ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน ท้ังน้ีให้อยู่ใน
ดลุ ยพินิจของสถานศึกษา

[11]

หมวดที่ 4 การเทยี บโอนผลการเรยี น
ข้อ 14 การเทียบโอนผลการเรียน เป็นการนาผลการเรียนซึ่งเป็นความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาประเมนิ เปน็ สว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รใดหลักสตู รหนง่ึ
แนวการดาเนนิ การเทยี บโอนผลการเรยี นใหเ้ ป็นไปตามระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการเทียบโอน
ผลการเรยี น ดงั นี้

14.1 ผู้ขอเทียบโอนต้องข้ึนทะเบียนเป็นนักเรียนของสถานศึกษา ทั้งน้ีโดยผู้ขอเทียบโอน
จะต้องไม่เป็นผู้ท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระบบโดยสถานศึกษาดังกล่าวดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน
ในภาคเรยี นแรกทข่ี ้นึ ทะเบียนเปน็ นักเรียน ยกเว้นกรณีมีเหตุจาเป็น

14.2 จานวนสาระการเรยี นรู้ รายวิชา จานวนหน่วยกิตทีจ่ ะรับเทียบโอน และอายุของผล
การเรียนท่ีจะนามาเทียบโอน ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของ
สถานศกึ ษา ทงั้ นเ้ี มื่อเทียบโอนแลว้ ตอ้ งมีเวลาเรียนอยใู่ นสถานศึกษาทจี่ ะรบั เทียบโอนไมน่ ้อยกว่า 1 ภาคเรียน

14.3 การเทียบโอนผลการเรียนให้ดาเนินการในรูปของคณะกรรมการการเทียบโอน
ผลการเรียนจานวนไมน่ อ้ ยกวา่ 3 คนแตไ่ ม่เกนิ 5 คน

ขอ้ 15 การเทยี บโอนให้ดาเนนิ การดังน้ี
15.1 การเทียบระดับการศึกษา หมายถึงการนาผลการเรียน ความรู้และประสบการณ์ท่ีได้

จากการศึกษาตามอัธยาศัย และการศึกษานอกระบบ ไม่แบ่งระดับมาประเมินเพ่ือเทียบเท่าการศึกษาระดับ
ใดระดับหนึ่ง มี แนวทางการเทียบระดับการศึกษาดงั นี้

1) ผู้ขอเทียบระดับการศึกษาจะต้องไม่เป็นผู้ที่กาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาในระบบ หรือ
สถานศึกษานอกระบบที่จดั การศึกษาเปน็ ระบบเดยี วกนั กบั การศึกษาในระบบ และเป็นผู้สาเร็จการศึกษาตาม
หลกั สตู รของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในระดับทต่ี า่ กวา่ ระดับการศกึ ษาทขี่ อเทียบ 1 ระดบั

ผ้ไู มเ่ คยมวี ุฒิการศกึ ษาใด ๆ จะขอเทียบระดบั การศกึ ษาได้ไม่เกินระดบั ประถมศึกษา
2) ให้สถานศึกษาซ่ึงเป็นที่ทาการเทียบระดับการศึกษา ดาเนินการเทียบระดับด้วย
การประเมินความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของผู้ขอเทียบระดับ ด้วยวิธีการที่หลากหลายทั้งด้วย
การทดสอบ การประเมินแฟ้มผลงาน การสังเกตพฤติกรรมต่าง ๆ ให้ครอบคลุมคุณลักษณะของผู้เรียน
ทั้งด้านพทุ ธิพสิ ัย จิตพิสยั และทักษะพิสยั ตามเกณฑม์ าตรฐานของหลักสตู รที่ขอเทียบระดบั
3) ผู้ผ่านการประเมินจะได้รับหลักฐานแสดงผลการประเมินเทียบระดับความรู้และ
ใบประกาศนียบัตรรับรองระดับความรขู้ องกระทรวงศึกษาธิการ
15.2 การเทียบโอนผลการเรียน หมายถึง การนาผลการเรียนซ่ึงเป็นความรู้ทักษะ และ
ประสบการณข์ องผูเ้ รยี นท่เี กิดจากการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย และผล
การศึกษา จากต่างสถานศึกษามาประเมินเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรใดหลักสูตรหน่ึงที่กาลัง
ศึกษา มีแนวการดาเนินการดงั นี้

[12]

1) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และวิชาการของสถานศึกษากาหนดจานวนรายวิชา
จานวนหน่วยกิต ที่สถานศึกษาจากัดให้ผู้เรียนสามารถขอเทียบโอนได้ในการศึกษาตามหลักสูตรของ
สถานศึกษาแต่ละช่วงชั้น ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องเหลือรายวิชาท่ีจะต้องศึกษาในสถานศึกษาอีกอย่างน้อย 1
ภาคเรียน พรอ้ มกับการกาหนดแนวทางและวธิ กี ารเทยี บโอนท้ังกรณีเทียบโอนผลการเรียนเดิมท่ีผู้เรียนศึกษา
ก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา และกรณีเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนขออนุญาตไปศึกษาต่างสถานศึกษา
จะต้องจัดทาเป็นระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงว่าด้วย
การเทยี บโอนผลการเรียนด้วย

2) สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การเทียบโอนผลการเรยี นของสถานศึกษาให้
ปฏิบัติหน้าท่ีกาหนดสาระ จดั สร้างเครอ่ื งมอื สาหรบั การเทยี บโอนผลการเรียน และดาเนนิ การเทยี บโอนผล
การเรยี น

3) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรยี น ทาการเทยี บโอนผลการเรียนใหผ้ ู้เรียน
ในกรณี ต่อไปน้ี

กรณีการเทียบโอนผลการเรียนเดิม ท่ีเรียนศึกษามาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา
ใหด้ าเนินการ ดงั น้ี

(1) ใหด้ าเนนิ การให้เสรจ็ ในภาคเรียนแรกท่ผี ูเ้ รียนเข้าศึกษาในสถานศกึ ษา
(2) ใหเ้ ทียบโอนผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า
(3) ผู้เรียนยื่นคาร้องเป็นลายลักษณ์อักษรขอเทียบความรู้ตามรายวิชาในหลักสูตรของ
สถานศกึ ษา ตามจานวนรายวิชาที่สถานศกึ ษากาหนดไว้ในระเบียบการเทียบโอนผลการเรียนของสถานศึกษา
ใหผ้ ้เู รยี นยืน่ คารอ้ ง พร้อมเอกสารหลกั สตู รทน่ี ามาขอเทยี บ และเอกสารการศึกษาทีไ่ ดร้ บั มา (ถา้ ผู้เรียนมี)
(4) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนพิจารณาหลักสูตรและหลักฐาน
เอกสารเดมิ ของผู้เรียน เพื่อเปรียบเทียบหลักสูตรท่ีเรียนมากับหลักสูตรของสถานศึกษาในรายวิชาท่ีขอเทียบ
ถ้ามีจุดประสงค์และเนื้อหาสาระตรงกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ให้รับเทียบโอนได้ และให้ได้ระดับผลการ
เรียนตามท่ีได้มาในกรณีท่ีผู้เรียนย้ายสถานศึกษา แต่ถ้าเป็นกรณีเทียบโอนผลการเรียนจากสถานศึกษาต่าง
ระบบ ให้คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนพิจารณาว่าควรยอมรับผลการเรียนเดิมหรือไม่ ถ้าไม่ยอมรับก็
ตอ้ งประเมนิ ให้ใหมด่ ้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ทเ่ี หมาะสม
(5) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน จัดให้มีการประเมินความรู้
ความสามารถ และประสบการณ์ของผเู้ รียนใหม่ ตามตวั ชี้วัดของรายวิชาที่ผู้เรียนขอเทียบในกรณีที่ผู้เรียนไม่
มีเอกสาร หลักฐานการศึกษาเดิมมาแสดง หรือหลักสูตรท่ีผู้เรียนนามาขอเทียบโอนมีความสอดคล้องกับ
ตัวชี้วดั และเนือ้ หาสาระของหลักสูตรที่ขอเทียบไม่ถึงร้อยละ 60 ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินจะได้รับการเทียบ
โอนผลการเรียนได้ โดยได้ระดับผลการเรียนตามที่ประเมินได้ ส่วนผู้ที่ไม่ผ่านการประเมินจะไม่ได้รับการ
เทยี บโอนผลการเรียน
กรณีผเู้ รยี นขออนญุ าตไปศึกษารายวชิ าใดรายวชิ าหนง่ึ ตา่ งสถานศึกษาหรือขอศึกษา
ดว้ ยตนเองให้ดาเนินการดงั น้ี

[13]

(1) ให้ดาเนินการโดยผู้เรียนยื่นคาร้องไปศึกษาต่างสถานที่หรือต่างรูปแบบต่อ
คณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน ซ่ึงจะพิจารณาผลการเรียนและความจาเป็นของผู้เรียนตามระเบียบ
การจัดการศกึ ษา 3 รูปแบบ ของสถานศึกษาที่จะจดั การศกึ ษาในระบบ

(2) รายวิชาท่ีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานท่ี หรือต่างรูปแบบต้องมีจุดประสงค์และ
เนื้อหาสาระสอดคล้องกับรายวชิ าในหลักสตู รของสถานศึกษาทจี่ ะนามาเทียบโอนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60

(3) กรณีผู้เรียนขอไปศึกษาต่างสถานศึกษาหรือระบบที่มีสถานศึกษาจัดการเรียน
การสอนแน่นอน ถ้าเห็นควรอนุญาตให้ไปเรียนได้ให้มีการประสานงาน เร่ืองการจัดการเรียนการสอน
การประเมินผล และการรับโอนผลการเรียนก่อน เมื่อได้ตกลงร่วมกันเรียบร้อยแล้วจึงจะอนุญาตเม่ือศึกษา
สาเรจ็ ให้รับโอนผลการเรียนได้ทนั ที

(4) กรณีผู้เรียนขออนุญาตศึกษาด้วยตนเอง หรือศึกษาในสถานศึกษาที่ไม่สามารถ
ติดต่อประสานได้ ถ้าคณะกรรมการพิจารณาความจาเป็นแล้ว เห็นควรอนุญาต เม่ือผู้เรียนมารายงานผล
การเรียน ให้คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนทาการเทียบโอนผลการเรียนให้ผู้เรียน
เช่นเดียวกนั กรณกี ารเทยี บโอนผลการเรยี นเดิมท่ีผเู้ รียนศกึ ษามาก่อนเข้าศึกษาในสถานศึกษา

(5) คณะกรรมการดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน รายงานผลการเทียบโอนให้
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอผู้บริหารสถานศึกษา
อนมุ ตั ผิ ลการเทียบโอนผลการเรียน

หมวดท่ี 5 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
ข้อ 16 ใหส้ ถานศกึ ษาจัดให้มีเอกสารหลกั ฐานการประเมินผลการเรียนตา่ ง ๆ ดังน้ี

16.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) (ปพ. 1) เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียน
ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้เรียนในแต่ละช้ันของหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อให้เป็นหลักฐานแสดงสถานภาพและความสาเร็จในการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคนใช้เป็น
หลักฐานในการสมัครเขา้ ศึกษาต่อทางานหรือดาเนนิ การในเร่ืองอน่ื ที่เกยี่ วขอ้ ง

16.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) (ปพ. 2) เป็นเอกสารท่ีสถานศึกษา
ออกให้กับผู้สาเร็จการศึกษาและรับรองวุฒิการศึกษาของผู้เรียน ให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงระดับ
วฒุ กิ ารศกึ ษาของตน

16.3 แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.3) เป็นแบบรายงานรายชื่อข้อมูลของผู้สาเร็จ
การศึกษาภาคบังคับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบยืนยันและรับรอง
ความสาเรจ็ และวุฒกิ ารศึกษาของผู้สาเรจ็ การศึกษาแตล่ ะคน ต่อเขตพ้ืนที่การศึกษาและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

16.4 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ปพ.4) เป็นเอกสารรายงาน
พัฒนาการด้านคุณลักษณะของผู้เรียนเก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้นเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นพิเศษ เพื่อการแก้ปัญหาหรือสร้างเอกลักษณ์ให้ผู้เรียนตาม
วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา เป็นการรายงานผลการประเมินท่ีแสดงถึงสภาพหรือระดับคุณธรรม จริยธรรม

[14]

ค่านิยม หรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในแต่ละช้ัน สถานศึกษาต้องจัดทาเอกสารน้ีให้ผู้เรียน
ทุก ๆ คน ควบคู่กับระเบียนแสดงผลการเรียนของผู้เรียน เพ่ือนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณลักษณะของ
ผู้เรียนเพือ่ ประกอบในการสมคั รศึกษาตอ่ หรือสมัครทางาน

16.5 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณภาพของผ้เู รียน (ปพ. 5) เป็นเอกสารสาหรับผู้สอนใช้บันทึก
เวลาเรียน ข้อมูลผลการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
แต่ละคนท่ีเรียนในห้องเรียนกลุ่มเดียวกัน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริม และตัดสินผลการเรียนของผู้เรียน รวมท้ังใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน สภาพ
การเรียน การมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่าง ๆ และผลสมั ฤทธข์ิ องผ้เู รียนแต่ละคน

16.6 แบบรายงานผลการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนรายบคุ คล (ปพ. 6) เป็นเอกสารสาหรับบันทึก
ข้อมลู เกยี่ วกบั ผลการเรียน พัฒนาการในด้านต่าง ๆ และขอ้ มูลอืน่ ๆ ของผ้เู รยี น

16.7 ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ. 7) เป็นเอกสารที่สถานศึกษาออกให้ผู้เรียนเป็นการเฉพาะ
กิจเพื่อรับรองสถานภาพทางการศึกษาของผู้เรียนเป็นการช่ัวคราว ท้ังกรณีผู้เรียนยังไม่สาเร็จการศึกษาและ
สาเรจ็ การศกึ ษาแลว้

16.8 ระเบียนสะสม (ปพ. 8) เป็นเอกสารสาหรับบันทึกข้อมูลเก่ียวกับพัฒนาการและผลงาน
ดา้ นต่าง ๆ ของผู้เรยี นทง้ั ท่ีสถานศกึ ษาและท่บี า้ น เพ่ือประโยชน์ในการแนะแนวผู้เรียนในทกุ ๆ ดา้ น

16.9 สมุดบันทึกผลการเรียน (ปพ. 9) เป็นสมุดบันทึกผลการเรียนรู้ที่สถานศึกษาจัดทาขึ้น
เพ่ือบันทึกรายการรายวิชาต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนจะต้องเรียนในแต่ละช้ัน ตามโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษา
พร้อมด้วยผลการประเมินการเรียนของแต่ละรายวิชา และสถานศึกษาออกให้ผู้เรียนสาหรับใช้ศึกษาและนา
แสดงให้บุคคลหรือหน่วยงานท่ีสนใจได้ทราบโครงสร้างหลักสูตรและรายละเอียดของรายวิชาต่าง ๆ ของ
สถานศึกษา พร้อมด้วยผลการเรียนของผู้เรียนจากการเรียนแต่ละรายวิชา กรณีที่ผู้เรียนย้ายสถานศึกษา
ข้อมูลในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการนาไปใช้เป็นข้อมูลในการเทียบโอนผลการเรียนจาก
สถานศกึ ษาเดมิ ไปเป็นผลการเรียนตามหลักสตู รของสถานศึกษาใหม่

หมวดท่ี 6 การรายงานผลการเรยี น
ขอ้ 17 การรายงานผลการเรียนใหถ้ ือปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

17.1 จุดมุง่ หมายของการรายงานผลการเรียน มดี งั น้ี
(1) เพ่ือแจ้งให้ผู้เรียน ผูเ้ กีย่ วขอ้ งทราบความก้าวหนา้ ของผู้เรยี น
(2) เพื่อใหผ้ เู้ รยี น ผเู้ กย่ี วขอ้ งใชเ้ ป็นข้อมูลในการปรับปรงุ แกไ้ ข สง่ เสริมและพฒั นา การ

เรยี นของผูเ้ รยี น
(3) เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี น ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งใช้เป็นข้อมลู ในการวางแผนการเรียน กาหนดแนวทาง

การศกึ ษาและการเลือกอาชพี
(4) เพอื่ เปน็ ขอ้ มลู ใหผ้ ูท้ ่ีมีหน้าทท่ี ่ีเกี่ยวขอ้ ง ใชด้ าเนินการออกเอกสารหลกั ฐานการศึกษา

ตรวจสอบและรบั รองผลการเรียน หรือวฒุ ทิ างการศกึ ษาของผู้เรียน

[15]

(5) เพื่อเปน็ ข้อมลู สาหรับสถานศึกษา เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาและหนว่ ยงานตน้ สังกัด ใช้
ประกอบในการกาหนดนโยบาย วางแผนในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา

17.2 ข้อมูลในการรายงานผลการเรียน
ข้อมูลระดับชั้นเรยี น ประกอบด้วย ผลการประเมนิ ความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมการ
เรยี น ความประพฤติและผลงานในการเรียนของผู้เรียน เปน็ ขอ้ มลู สาหรับรายงานให้ผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้อง ไดแ้ ก่
ผเู้ รียน ผ้สู อนและผปู้ กครอง ได้รบั ทราบความก้าวหน้า ความสาเรจ็ ในการเรยี นของผเู้ รียนเพอ่ื นาไปใชใ้ นการ
วางแผนกาหนดเป้าหมายและวิธีการในการพัฒนาผ้เู รยี น
ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี/รายภาค ผลการประเมินความก้าวหน้าใน การเรียนรู้
รายปี/รายภาคโดยรวมของสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศในการพัฒนา การเรียนการสอน
และคุณภาพของผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด การตัดสิน การเล่ือนชั้นและการซ่อม
เสรมิ ผเู้ รียนท่มี ขี อ้ บกพร่องให้ผา่ นระดบั ช้นั และเปน็ ข้อมูลในการออกเอกสารหลักฐานการศึกษา
ข้อมูลการประเมินคุณภาพระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพ ของผู้เรียน
ด้วยแบบประเมินที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดทาข้ึนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สาคัญในระดับช้ันท่ี
นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็นข้อมูลท่ีผู้เก่ียวข้องใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาเพ่ือให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
ผ้เู รยี นและสถานศกึ ษา
ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพของผู้เรียนด้วยแบบ
ประเมนิ ทีเ่ ป็นมาตรฐานระดับชาติในกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ี่สาคัญในชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปีท่ี 6
ซ่ึงดาเนินการโดยหน่วยงานระดับชาติ เป็นข้อมูลท่ีผู้เก่ียวข้องใช้วางแผนและดาเนินการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาในส่วนที่เก่ียวข้อง เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
ผเู้ รียน สถานศึกษา ท้องถิ่น เขตพ้ืนท่ีการศึกษาและประเทศชาติ รวมท้ังนาไปรายงานในเอกสารหลักฐาน
การศกึ ษาของผู้เรยี น
ข้อมูลพัฒนาการของผู้เรียนด้านอ่ืนๆ ประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทาง ด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ สังคมและพฤติกรรมต่างๆ เป็นข้อมูลส่วนหน่ึงของการแนะแนวและจัดระบบการดูแล
ช่วยเหลือเพื่อแจ้งให้ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองและผู้เก่ียวข้องได้รับทราบข้อมูล โดยผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบแต่ละ
ฝ่ายนาไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมท้ังนาไปจัดทา
เอกสารหลักฐานแสดงพฒั นาการของผูเ้ รียน
17.3 ลกั ษณะข้อมลู สาหรับการรายงาน
การรายงานผลการเรยี นใหร้ ายงานเปน็ ระบบตัวเลขระดับผลการเรยี น “0 -4” (8 ระดับ) และผล
การเรยี นที่มเี งื่อนไข “ผ” “มผ” “ร” “มส”

[16]

รายงานโดยใช้สถิติ เป็นการรายงานจากข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือข้อความให้เป็นภาพ
แผนภูมิหรือเส้นพัฒนาการ ซึ่งจะแสดงให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้าของผู้เรียนว่าดีขึ้นหรือควรได้รับการ
พฒั นาอย่างไร เม่อื เวลาเปล่ยี นแปลงไป

รายงานเป็นขอ้ ความ เปน็ การบรรยายพฤตกิ รรมหรือคณุ ภาพท่ผี ูป้ ระเมินสังเกตพบ เพื่อรายงาน
ให้ทราบว่าผู้เรียนมีความสามารถ มีพฤติกรรม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ตามมาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวช้ีวัด
และบุคลกิ ภาพอยา่ งไร เชน่

ผู้เรียนมคี วามเชอื่ มนั่ ในตนเองสูง ชอบแสดงความคดิ เหน็ และมเี หตุผล
ผู้เรียนสนใจอ่านเรื่องต่างๆ หลากหลายประเภท สามารถสรุปใจความของเร่ืองได้ถูกต้อง
สมบรู ณ์
ผู้เรียนมีผลการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้เป็นท่ีน่าพอใจ แต่ควรมีการพัฒนาด้านการเขียน
โดยได้รับความรว่ มมอื จากผปู้ กครองในการฝึกหรือส่งเสริมให้นกั เรียนมีทกั ษะในการเขียนสูงขน้ึ
17.4 วิธกี ารรายงาน
การรายงานผลการเรียนใหผ้ เู้ ก่ียวข้องรบั ทราบ สามารถดาเนนิ การไดด้ ังน้ี

(1) การรายงานผลการเรียนในเอกสารหลกั ฐานการศึกษา ไดแ้ ก่
- ระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1)
- แบบรายงานผสู้ าเรจ็ การศึกษา (ปพ.3)
- แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนรายบุคคล
- แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวชิ า
- ระเบยี นสะสม
- ใบรบั รองผลการเรยี น
ฯลฯ

ขอ้ มลู จากแบบรายงาน สามารถใชอ้ ้างอิง ตรวจสอบและรบั รองผลการเรยี นของผ้เู รยี นได้
(2) การรายงานคุณภาพการศึกษาให้ผ้เู ก่ียวข้องทราบ สามารถรายงานได้หลายวธิ ี เชน่
- รายงานคุณภาพการศกึ ษาประจาปี
- วารสารของสถานศกึ ษา
- จดหมายสว่ นตัว
- การให้คาปรกึ ษาหารอื เป็นรายบุคคล
- การให้พบครูประจาชั้นหรือการประชมุ เครอื ข่ายผปู้ กครอง
- การให้ข้อมูลทาง Internet ผ่าน Web site ของสถานศกึ ษา

17.5 การกาหนดระยะเวลาในการรายงานใหด้ าเนินการ ดังนี้
(1) รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนรายปี / รายภาคให้รายงานผลการประเมินสรุปของ

วชิ าการในแต่ละกลุม่ สาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การพัฒนาการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
สมรรถนะสาคัญพรอ้ มสมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น

[17]

(2) การรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาให้รายงานภายใน 2
สปั ดาห์ นับตง้ั แต่สถานศึกษาไดร้ บั รายงานผลจากเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา

(3) การรายงานผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดับชาตใิ หร้ ายงานภายใน 1 สปั ดาห์ นบั ต้งั แต่
สถานศึกษาได้รบั รายงานจากสถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ

ทง้ั น้ีให้ยึดหลักการรายงานใหเ้ รว็ ท่ีสดุ ภายหลังการประเมนิ ผลแต่ละคร้ัง เพ่ือให้การรายงานเกิด
ประโยชน์และมปี ระสทิ ธภิ าพในการนาไปใช้สูงสดุ

หมวดที่ 7 บทเฉพาะกาล
ข้อ 18 ให้ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษารักษาการให้เป็นไป
ตามระเบยี บน้ี

ขอ้ 19 กรณีมกี ารเปลี่ยนแปลงแกไ้ ข ใหเ้ สนอคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอนุมัติและให้
ความเห็นชอบก่อนนาไปใช้

ประกาศ ณ วันท่ี 11 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2565

......................................................
(นางสาวณัฎฐพิ ร วงษ์ไทย)

ผู้อานวยการโรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วิทย์

[18]

ตอนท่ี 2

แนวปฏิบตั ิการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ โรงเรยี นนกิ รราษฎรบ์ ารงุ วทิ ย์ พทุ ธศักราช 2564 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560)

ส่วนท่ี 1 การประเมินผลการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ
สว่ นท่ี 2 การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น
สว่ นท่ี 3 การประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สว่ นที่ 4 การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน
ส่วนท่ี 5 เกณฑ์การตัดสินการเลือ่ นชั้น และจบหลักสูตร
ส่วนท่ี 6 การประเมินผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดับชาติ

[19]

แนวปฏิบตั กิ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้

เป้าหมายสาคัญของการประเมินผลการเรียนหลักสูตรสถานศึกษาตามแนวทางหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 คือ เพ่อื นาผลการประเมินไปพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐาน การ
เรียนรู้ในแต่ละรายวิชา ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยการนาผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูล
ในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาการของผู้เรียนโดยตรง นาผลไปปรับปรุงแก้ไขผล
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น รวมท้ังนาไปใช้ในการพิจารณาตัดสินความสาเร็จทางการ
ศึกษาของผู้เรยี น ตลอดจนความสาเร็จของผู้สอนอกี ดว้ ย

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามหลักสตู รการศกึ ษาของสถานศึกษา โรงเรียนนิกรราษฎรบ์ ารงุ วิทย์
ประกอบด้วย

ส่วนที่ 1 การประเมินผลการเรยี นรูต้ ามกลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
การประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกลมุ่ สาระการเรียนรู้ทงั้ 8 กลุ่ม โรงเรียนได้ดาเนนิ การประเมินผล

ในลกั ษณะตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
1. การประเมินผลก่อนเรียน
การประเมินผลก่อนเรียน กาหนดให้ครูผู้สอนในแต่ละรายวิชาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้อง

ประเมินผลก่อนเรียน เพ่ือหาสารสนเทศของผู้เรียนในเบ้ืองต้น สาหรับนาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับพืน้ ฐานของผู้เรียน ตามแนวทางการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่จะไม่นา
ผลการประเมินนีไ้ ปใช้ในการพิจารณาตัดสินผลการเรียน การประเมินผลก่อนเรียนประกอบด้วยการประเมิน
ดงั ต่อไปน้ี

1.1 การประเมนิ ความพร้อมและพน้ื ฐานของผู้เรียน
เป็นการตรวจสอบความรู้ ทักษะ และความพร้อมต่าง ๆ ของผู้เรียนท่ีเป็นพื้นฐานของเรื่อง
ใหม่ๆ ท่ีผู้เรียนต้องเรียนโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม เพ่ือจะได้ทราบว่าผู้เรียนมีความพร้อมและพื้นฐาน
ท่ีจะเรยี นทุกคนหรอื ไม่ แลว้ นาผลการประเมนิ มาปรบั ปรุง ซ่อมเสริม หรอื เตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมและ
พื้นฐานพอเพียงทุกคนซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนได้เป็นอย่างดี การประเมินพ้ืนฐาน
และความพร้อมของผู้เรียนก่อนเรียน จึงมีความสาคัญและจาเป็นที่ผู้สอนทุกคนจะต้องดาเนินการ
เพ่ือเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมในการเรียนทุกครั้งจะทาให้การเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
และสามารถคาดหวงั ความสาเรจ็ ไดอ้ ย่างแน่นอน
การประเมินความพร้อมและพื้นฐานของผ้เู รยี นก่อนเรยี นมีแนวปฏบิ ัติดงั นี้

1) วิเคราะหค์ วามรู้และทักษะท่เี ปน็ พ้ืนฐานก่อนเรยี น
2) เลอื กวิธีการและจดั ทาเคร่ืองมือสาหรบั ประเมนิ ความรู้ และทักษะพ้ืนฐานอย่าง
เหมาะสมและมปี ระสทิ ธิภาพ
3) ดาเนินการประเมนิ ความรู้และทักษะพน้ื ฐานของผ้เู รียน

[20]

4) นาผลการประเมินไปดาเนินการปรบั ปรุงผ้เู รียนใหม้ ีความรแู้ ละทักษะพื้นฐานอยา่ ง
พอเพียงก่อนดาเนินการสอน

5) จัดการเรียนการสอนในเร่ืองท่จี ัดเตรยี มไว้
1.2 การประเมินความรอบรู้ในเรื่องท่ีจะเรยี นกอ่ นการเรียน
เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องที่จะทาการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้และทักษะใน
เร่ืองท่ีจะเรียนนั้นมากน้อยเพียงไร เพ่ือนาไปเป็นข้อมูลเบ้ืองต้นของผู้เรียนแต่ละคนว่า เริ่มต้นเรียน
เร่ืองนั้น ๆ โดยมีความรู้เดิมอยู่เท่าไรเพ่ือจะได้นาไปเปรียบเทียบกับผลการเรียนภายหลัง การเข้าร่วม
กิจกรรมการเรียนตามแผนการเรียนรู้แล้ว ว่าเกิดพัฒนาการหรือเกิดการเรียนรู้เพ่ิมข้ึนหรือไม่เพียงไร ซ่ึงจะ
ทาให้ทราบถึงศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียน และประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรมการเรียน ซ่ึงจะใช้เป็น
ประโยชน์ในการสนองตอบการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนแต่ละกลุ่มต่อไป แต่ประโยชน์ท่ีเกิดข้ึนในเบื้องต้น
ของการประเมินผลก่อนเรียน ก็คือผู้สอนสามารถนาผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการจัดเตรียม วิธีการ
จดั กจิ กรรมการเรียนให้สอดคล้องกับความรู้เดิมของผู้เรียนว่าต้องจัดอย่างเข้มข้นหรือมากน้อยเพียงไร จึงจะ
ทาให้แผนการเรียนรู้มีประสิทธิภาพ สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาการต่าง ๆ ตามตัวช้ีวัด
ดว้ ยกนั ทกุ คน ในขณะทไ่ี ม่ทาให้ผู้เรียนมีพ้ืนความรู้เดิมอยู่แล้วเกิดความรู้สึกเบ่ือหน่าย และเสียเวลาเรียนใน
ส่ิงที่ตนรู้แล้ว การประเมินความรอบรู้ก่อนเรียนมีขั้นตอนการปฏิบัติเหมือนกับการประเมินความพร้อมและ
พ้ืนฐานของผู้เรยี นตา่ งกนั เฉพาะความรู้ ทกั ษะทจ่ี ะประเมินเทา่ นัน้
2. การประเมนิ ระหว่างเรียน
การประเมินระหว่างเรียนเป็นการประเมินท่ีมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนว่าบรรลุจุดประสงค์
การเรยี นรู้ตามแผนการจดั การเรียนรทู้ คี่ รูได้วางแผนไว้หรอื ไม่ เพ่ือนาสารสนเทศทไ่ี ด้จากการประเมินไปสู่การ
ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน และส่งเสริมผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถและเกิดพัฒนาการสูงสุด
ตามศักยภาพ
การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนมแี นวทางในการปฏิบตั ิตามขั้นตอน ดงั นี้
2.1 วางแผนการเรยี นรู้และการประเมินผลระหวา่ งเรยี น ผสู้ อนจดั ทาแผนการเรยี นรู้
กาหนดแนวทางการประเมนิ ผลให้สอดคลอ้ งกับตัวชว้ี ัด ซงึ่ ในแผนการเรยี นรู้จะระบุภาระงานที่จะทาให้ผูเ้ รยี น
บรรลตุ ามตัวชวี้ ัดอย่างเหมาะสม
2.2 เลอื กวิธกี ารประเมนิ ทสี่ อดคล้องกับภาระงานหรอื กจิ กรรมหลกั ทก่ี าหนดให้ผ้เู รียนปฏิบัติ
ทั้งนี้วิธีการประเมินท่ีเหมาะสมอย่างย่ิงสาหรับการประเมินระหว่างเรียน ได้แก่ การประเมินจากส่ิงที่ผู้เรียน
ได้แสดงให้เห็นว่ามีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ตลอดจนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์อันเป็นผลจาก
การเรียนรู้ตามที่ผู้สอนได้จัดกระบวนการเรียนรู้ ให้วิธีการประเมินท่ีผู้สอนสามารถเลือกใช้ในการประเมิน
ระหว่างเรยี น มีดงั น้ี

1) การประเมินดว้ ยการส่อื สารสว่ นบคุ คล ได้แก่
(1) การถามตอบระหว่างทากจิ กรรมการเรียน
(2) การพบปะสนทนาพูดคุยกบั ผเู้ รยี น

[21]

(3) การพบปะสนทนาพดู คยุ กับผเู้ กยี่ วข้องกับผู้เรยี น
(4) การสอบปากเปล่าเพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจ และทัศนคติ
(5) การอา่ นบันทึกเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ของผเู้ รยี น
(6) การตรวจแบบฝึกหัดและการบา้ น พรอ้ มให้ข้อมลู ป้อนกลบั
2) การประเมนิ จากการปฏบิ ตั ิ (Performance Assessment)
เป็นวิธีการประเมินงานหรือกิจกรรมท่ีผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติเพื่อให้ได้ข้อมูล
สารสนเทศว่า ผูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้มากนอ้ ยเพยี งใด
การประเมินการปฏบิ ัติผสู้ อนตอ้ งเตรียมการในสงิ่ สาคญั 2 ประการ คอื
(1) ภาระงานหรือกิจกรรมทีจ่ ะใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัติ (Tasks)
(2) เกณฑก์ ารให้คะแนน (Rubrics)
วิธกี ารประเมนิ การปฏบิ ตั จิ ะเป็นไปตามลกั ษณะงาน ดงั นี้
ก. ภาระงานหรือกิจกรรมที่ผู้สอนกาหนดให้ผู้เรียนทาเป็นรายบุคคล/กลุ่ม จะประเมิน
วธิ กี ารทางานตามขนั้ ตอนและผลงานของผู้เรยี น
ข. ภาระงานหรือกิจกรรมท่ีผู้เรียนปฏิบัติเป็นปกติในชีวิตประจาวันจะประเมินด้วย
วธิ ีการสงั เกต จดบันทึกเหตกุ ารณ์เกยี่ วกบั ผเู้ รียน
ค. การสาธติ ไดแ้ ก่ การให้ผู้เรียนแสดงหรือปฏิบัติกิจกรรมตามท่ีกาหนด เช่น การใช้
เคร่ืองมือปฏิบัติงาน การทากายบริหาร การเล่นดนตรี จะประเมินวิธีการและข้ันตอนในการสาธิตของ
ผเู้ รียนด้วยวิธีการสังเกต
ง. การทาโครงงาน การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กาหนดให้
ผู้สอนต้องมอบหมายให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติโครงงานอย่างน้อย 1 โครงงานในทุกช่วงชั้น ดังนั้นผู้สอนจึงต้อง
กาหนดภาระงานในลกั ษณะของโครงงานใหผ้ ู้เรียนปฏิบตั ิในรูปแบบหน่ึง ใน 4 รปู แบบต่อไปนี้

(1) โครงงานสารวจ
(2) โครงงานส่ิงประดิษฐ์
(3) โครงงานแก้ปัญหาหรือการทดลองศึกษาคน้ ควา้
(4) โครงงานอาชพี
วธิ ีการประเมนิ ผลโครงงาน ใชก้ ารประเมนิ 3 ระยะ คือ
(1) ระยะก่อนทาโครงงาน โดยประเมนิ ความพร้อมด้านการเตรียมการ และ
ความเปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบตั งิ าน
(2) ระยะทาโครงงาน โดยประเมนิ การปฏิบัตจิ ริงตามแผน วิธกี ารและ
ขั้นตอนกาหนดไว้ และการปรบั ปรุงงานระหว่างปฏบิ ัติงาน
(3) ระยะสนิ้ สดุ การทาโครงงาน โดยประเมินผลงานและวิธกี ารนาเสนอผล
การดาเนนิ โครงงาน

[22]

การกาหนดให้ผู้เรียนทาโครงงาน สามารถทาได้ 3 แบบ คอื
1) โครงงานรายบคุ คล เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดเ้ ลือกปฏบิ ตั ิงานตาม

ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ
2) โครงงานกลุ่ม เป็นการทาโครงงานขนาดใหญ่และซับซ้อนต้องใหผ้ เู้ รยี นท่ี

มีความสามารถตา่ งกนั หลายด้านช่วยกันทา การประเมนิ โครงงานควรเนน้ การประเมนิ กระบวนการกลุ่ม
3) โครงงานผสมระหวา่ งรายบุคคลกับกล่มุ เป็นโครงงานที่ผเู้ รยี นทาร่วมกนั

แต่เมอื่ เสร็จงานแลว้ ให้แต่ละคนรายงานผลดว้ ยตนเอง โดยไม่ต้องไดร้ ับการช่วยเหลือจากสมาชิกในกลมุ่
ในการประเมินการปฏิบัติงานดังกล่าวมาข้างต้น ผู้สอนจาเป็นต้องสร้างเครื่องมือเพื่อใช้

ประกอบการประเมนิ การปฏบิ ตั ิ เชน่
- แบบวดั ภาคปฏบิ ตั ิ
- แบบสังเกตพฤตกิ รรม
- แบบตรวจสอบรายการ
- เกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics)
เปน็ ตน้

3) การประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมินสภาพจริง เป็นการประเมินจากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมอย่างใด
อย่างหนึ่ง โดยงานหรือกิจกรรมที่มอบหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติจะเป็นงาน หรือสถานการณ์ท่ีเป็นจริง (Real
life) หรือใกล้เคียงกับชีวิตจริง จึงเป็นงานท่ีมีสถานการณ์ซับซ้อน (Complexity) และเป็นองค์รวม
(Holistic) มากกว่างานปฏบิ ัติในกิจกรรมการเรยี นทว่ั ไป
วิธีการประเมินสภาพจริงไม่มีความแตกตา่ งจากการปฏิบัติ (Performance assessment)
เพยี งแตอ่ าจมคี วามยุ่งยากในการประเมินมากกว่า เนื่องจากเป็นสถานการณ์จริง หรือต้องจัดสถานการณ์ให้
ใกล้จริง แต่จะเกิดประโยชน์กับผู้เรียนมาก เพราะจะทาให้ทราบความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียนว่า
มจี ดุ เด่นและขอ้ บกพรอ่ งในเร่ืองใด อนั จะนาไปสกู่ ารแก้ไขท่ตี รงประเด็นท่สี ุด
4) การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน (Portfolio Assessment)
การประเมนิ ด้วยแฟม้ สะสมงาน เป็นวิธีการประเมินท่ีช่วยส่งเสริมให้การประเมินตามสภาพ
จริงมีความสมบูรณ์สะท้อนศักยภาพที่แท้จริงของผู้เรียนมากขึ้น โดยการให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม (Collect)
ผลงานจากการปฏิบัติจริงท้ังในชั้นเรียนหรือในชีวิตจริงที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ
มาจัดแสดงอย่างเป็นระบบ (Organized) โดยมีจุดประสงค์เพื่อสะท้อนให้เห็น (Reflect) ความพยายาม
เจตคติ แรงจูงใจ พัฒนาการ และความสัมฤทธ์ิผล (Achievement) ของการเรียนรู้ของผู้เรียน
การวางแผนดาเนินงาน การประเมินด้วยแฟ้มผลงานที่สมบูรณ์จะช่วยให้ผู้สอนสามารถประเมินจากแฟ้ม
สะสมงานแทนการประเมนิ จากการปฏบิ ตั จิ รงิ

[23]

การประเมนิ ดว้ ยแฟม้ สะสมงานมีแนวทางในการดาเนนิ งานดงั น้ี
(1) กาหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่า

ต้องการสะท้อนสิง่ ใดเกยี่ วกับความสามารถและพฒั นาการของผู้เรยี น ทั้งนี้อาจพิจารณาจากตัวชี้วัดตามสาระ
การเรยี นร้ทู ส่ี ะท้อนได้จากการใหผ้ ู้เรยี นจดั ทาแฟ้มสะสมงาน

(2) กาหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน
เพอื่ ให้ผู้เรียนไดท้ าแฟ้มสะสมงาน

(3) กาหนดให้วิธีการประเมินงานเพื่อพัฒนาช้ินงาน ซ่ึงส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสามารถสูงสุด ท้ังน้ีครูควรจัดทาเกณฑ์การให้คะแนน (Rubrics) สาหรับให้ผู้เรียนนาไปใช้เป็นข้อชี้นา
ในการพัฒนางาน

(4) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางาน โดยมีส่วนร่วมในการประเมินจากทุก
ฝา่ ย แลว้ นาขอ้ มูลทสี่ อดคลอ้ งกนั ไปเป็นสารสนเทศหลกั ในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) สาหรับให้
ผู้เรยี นใช้ในการปรับปรุงแก้ไขขอ้ บกพรอ่ ง

(5) จัดให้มีการนาเสนอผลงานท่ีได้สะสมไว้ โดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม ซ่ึงผู้สอนและ
ผเู้ รียนควรวางแผนร่วมกันในการคดั เลือกชิ้นงานท่ีดที ี่สดุ ทง้ั นี้การนาเสนอชิ้นงานแต่ละช้ินควรมีหลักฐานการ
พัฒนางานและการประเมินผลงานด้วยตนเอง เกณฑ์การประเมินผลงานประกอบไว้ด้วย ในการใช้วิธีการ
ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน ผู้สอนควรคานึงด้วยว่าแฟ้มสะสมงานมีหลายประเภท การเลือกใช้แฟ้มสะสม
งานประเภทใด ควรคานึงถงึ รปู แบบและแนวทางในการพัฒนาแฟ้มสะสมงานให้เหมาะสม เพื่อให้แฟ้มสะสม
งานช่วยพัฒนาความคิดสรา้ งสรรคข์ องผู้เรียนด้วย

2.3 กาหนดสัดส่วนการประเมินระหว่างเรียนกับการประเมินผลปลายภาค/ปลายปีเรียน
หรือปลายปี การประเมินระหว่างเรียนมีวัตถุประสงค์สาคัญ เพื่อมุ่งนาสารสนเทศ มาพัฒนาผู้เรียนและ
ปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนของผู้เรียน การประเมินระหว่างเรียนท่ีดาเนินการอย่างถูกต้อง เข้มงวด
และจริงจัง จะให้ผลการประเมินท่ีสะท้อนภาพความสาเร็จ และศักยภาพของผู้เรียนได้ถูกต้อง สมบูรณ์
และน่าเชื่อถือ ดังนั้น ควรให้น้าหนักความสาคัญของการประเมินระหว่างเรียนในสัดส่วนที่มากกว่าการ
ประเมินตอนปลายภาค/ปลายปีเรียนหรือปลายปี ท้ังนี้โดยคานึงถึงธรรมชาติของรายวิชาและตัวชี้วัดเป็น
สาคัญ แต่อย่างไรก็ตามในการประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียนรายวิชาปลายภาค/ปลายปีเรียนหรือปลายปี
ต้องนาผลการประเมินระหว่างเรียนไปใช้ในการตัดสินผลการเรียนด้วย ท้ังน้ีให้เป็นไปตามสัดส่วนและแนว
ดาเนินการในระเบยี บทสี่ ถานศกึ ษาผกู้ าหนด

2.4 จัดทาเอกสารบันทึกข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน ผู้สอนต้องจัดทาเอกสารบันทึกข้อมูล
สารสนเทศเกย่ี วกบั การประเมนิ ผลระหว่างเรยี นอย่างเป็นระบบชดั เจน เพอื่ ใช้เปน็ แหล่งข้อมูลในการปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน ใช้เป็นหลักฐานสาหรับการสื่อสารกับผู้เก่ียวข้องและใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ
การปฏิบัติงานของผู้สอน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสและความยุติธรรมในการประเมิน ทั้งน้ีให้เป็นไป
ตามระเบียบท่ีสถานศึกษากาหนด

[24]

ขอ้ มูลหลักฐานการประเมนิ ระหวา่ งที่พงึ แสดง ไดแ้ ก่
1) วิธกี ารและเคร่อื งมือท่ใี ช้ในการเกบ็ ขอ้ มลู
2) ข้อมูลเก่ียวกับความสามารถของผู้เรียนตามวิธีการประเมิน เช่น บันทึกการสังเกต

พฤติกรรม บันทึกคะแนนจากผลการประเมินช้ินงาน บันทึกคะแนนการประเมินโครงงาน บันทึกเก่ียวกับ
การประเมนิ แฟม้ สะสมงาน เป็นตน้

3. การประเมนิ เพอ่ื สรุปผลการเรียน
การประเมนิ เพ่ือสรปุ ผลการเรยี นเปน็ การประเมนิ เพื่อม่งุ ตรวจสอบความสาเร็จของผู้เรียนเมื่อผ่าน
การเรียนรูใ้ นช่วงเวลาหนึ่ง หรือส้ินสุดการเรียนรายวชิ าปลายป/ี ปลายภาค/ปลายปีประกอบด้วย

3.1 การประเมนิ หลงั เรยี น
เป็นการประเมินผู้เรียนในเรื่องท่ีได้เรียนจบแล้ว เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตาม
ตัวช้ีวัดที่คาดหวังหรือไม่ เมื่อนาไปเปรียบเทียบกับผลการประเมินก่อนเรียนว่าผู้เรียนเกิดพัฒนาการขึ้นมาก
น้อยเพียงไร ทาให้สามารถประเมินได้ว่าผู้เรียนมีศักยภาพในการเรียนรู้เพียงไร และกิจกรรมการเรียนที่จัด
ข้ึนมีประสิทธิภาพในการพัฒนาผู้เรียนอย่างไร ข้อมูลจากการประเมินภายหลังการเรียน สามารถนาไปใช้
ประโยชนไ์ ด้มากมาย ได้แก่

1) ปรับปรุงแกไ้ ขซอ่ มเสรมิ ผูเ้ รยี นใหบ้ รรลตุ วั ชีว้ ดั หรอื จุดประสงค์ของการเรียน
2) ปรบั ปรุงแก้ไขวธิ ีเรียนของผู้เรียนให้มีประสทิ ธิภาพย่งิ ขึ้น
3) ปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี น
การประเมินหลังเรียนนี้ ถ้าจะให้สอดคล้องกับการประเมินก่อนเรียนเพื่อการเปรียบเทียบ
พฒั นาการของผู้เรียนสาหรบั การวจิ ยั ในชั้นเรยี น ควรใชว้ ิธกี ารและเคร่อื งมอื ประเมนิ ชุดเดียวกันหรอื ค่ขู นานกนั
3.2 การประเมินผลการเรียนปลายภาค/ปลายปี
เปน็ การประเมินผลเพื่อตรวจสอบผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ ตามตัวช้ีวัด
การประเมนิ ผลนน้ี อกจากจะมจี ุดประสงคเ์ พอื่ การสรุปตัดสินความสาเร็จของผเู้ รียนในแต่ละรายวิชา รายภาค
เปน็ สาคญั แลว้ ยงั ใช้เปน็ ข้อมลู สาหรับปรับปรงุ แก้ไข ซอ่ มเสริมผู้เรียนท่ีไม่ผ่านการประเมินตัวช้ีวัดของแต่ละ
รายวชิ า ให้เกิดพฒั นาการและมีผลการเรียนตามตวั ชวี้ ัดอยา่ งครบถว้ นสมบูรณด์ ้วย
การประเมินผลการเรยี นปลายภาค/ปลายปี สามารถใชว้ ธิ ีการและเครื่องมอื การประเมินได้
อย่างหลากหลาย ใหส้ อดคล้องกับตัวช้ีวดั เนื้อหาสาระ กจิ กรรมและชว่ งเวลาในการประเมนิ อยา่ งไรก็ดี
เพอ่ื ใหก้ ารประเมินผลการเรยี นดังกลา่ วมีส่วนทีเ่ กยี่ วข้องสมั พนั ธแ์ ละสนับสนนุ การเรียนการสอน จงึ ใหน้ าผล
การประเมนิ ผลระหว่างเรยี นไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาค/ปลายปี โดยสัดส่วนการ
ประเมนิ ผลระหวา่ งเรยี นมากกว่าการประเมนิ ผลปลายภาค/ปลายปีเรียน

[25]

วธิ กี ารปฏิบตั กิ ารประเมนิ ผลตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่
การดาเนินการประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่ม โรงเรียนกาหนดวิธีการปฏิบัติ
โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวชิ าการรว่ มกันกาหนดหลักการประเมินผล 8 กลุม่ สาระ ดงั นี้
1. ทุกกลุ่มสาระให้มีการประเมินผลทุกรายวิชาให้ครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
และคุณลกั ษณะ โดยมกี ารประเมินผล ดงั น้ี

1.1 การประเมินผลกอ่ นเรียน
1.1.1 ประเมินผลก่อนเรียนเพ่ือตรวจสอบความพร้อมและพื้นฐานของผู้เรียนและจัด

กจิ กรรมซอ่ มเสริมเพ่ือให้มคี วามรู้พ้ืนฐานเพยี งพอที่จะเรียน
1.1.2 ประเมินก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบความรอบรใู้ นเน้ือหา และทักษะท่ีจะเริ่มเรียน เพ่ือ

เปน็ ข้อมลู เปรยี บเทยี บผลการเรียนหลังเรียน แสดงการพัฒนาการของผเู้ รียน
1.1.3 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลเป็นระยะ ๆ และสอดคล้องกับ

ตัวช้ีวัด โดยใช้การประเมินผลตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ีหลากหลายทั้งวิธีการวัด เคร่ืองมือ และ
แหล่งข้อมูล เพื่อมุ่งตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียน และนาผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขจนผู้เรียน
สามารถบรรลุตามเกณฑ์ข้ันต่าท่ีกาหนดไว้ โดยใช้วิธีการที่หลากหลายเหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละบุคคล
ในกรณที ่ีผู้เรียนต้องการพัฒนาปรับปรุงผลการเรียนให้สูงข้ึน ให้ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุง
แกไ้ ขผลงาน/ช้นิ งานตนเองจนเตม็ ศกั ยภาพของผูเ้ รียนภายในเวลาท่ีกาหนดให้

1.1.4 การประเมินรายภาค ในการประเมินผลปลายภาค/ปลายปีสามารถประเมินจาก
การปฏิบัติ การสื่อสาร เช่น การสัมภาษณ์จากผลงาน / ช้ินงาน โครงงานหรือแบบทดสอบ ทั้งน้ีให้
สอดคล้องกับตัวช้ีวดั

2. การกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับการประเมินปลายภาค/ปลายปี/ปลายปี ให้กลุ่มสาระ
การเรียนรู้แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั กาหนดตามหลกั การที่คณะกรรมการการบรหิ ารหลกั สูตรและวชิ าการ ดงั นี้

2.1 การประเมินผลระหว่างเรียน ให้มีการประเมินผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของการ
ประเมนิ ผลทัง้ หมด ยกเวน้ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ใหม้ ีการประเมนิ ผลไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 70

2.2 การประเมินผลระหวา่ งเรียนและการประเมนิ ผลปลายภาค/ปลายปี ให้มกี ารประเมิน
ทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ และคณุ ลักษณะ

2.3 ในรายวิชาเดียวกันให้มีการกาหนดสัดส่วนระหว่างเรียนกับปลายภาค/ปลายปี และ
วางแผนประเมินผลตลอดภาคเรยี นร่วมกนั

2.4 ในกรณีท่ีมีการประเมินผลด้วยแบบทดสอบ ให้มีการประเมินโดยใช้วิธีการให้ผู้เรียน
ตอบแบบทดสอบอัตนัย โดยมีการให้คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 70 ของการทดสอบครั้งน้ัน

[26]

3. การจัดทาเอกสารบนั ทกึ ขอ้ มูลสารสนเทศของผเู้ รียน ประกอบด้วย
3.1 ผูส้ อนแต่ละรายวชิ าจัดทาแผนการประเมินผลในรายวิชาของตนเองตลอดภาคเรียน โดยมี

หัวขอ้ ดงั น้ี
1) การประเมินผลกอ่ นเรยี น
2) การประเมนิ ระหว่างเรยี น
3) การประเมนิ ปลายภาค/ปลายปี
4) อัตราสว่ นนา้ หนักคะแนนระหว่างความรู้ (K) ทกั ษะกระบวนการ (P) และคุณลักษณะ

(A) และรายละเอียดน้าหนักคะแนนของแต่ละตวั ช้วี ดั พรอ้ มทงั้ ระบุวธิ กี ารวัด เครื่องมือวัด และประเมินผล
ในแต่ละตวั ชว้ี ดั

5) กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประกอบด้วยคุณลักษณะตามธรรมชาติวิชา และ
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคข์ องสถานศึกษาทัง้ นี้ให้ใช้แบบสรปุ ผลการประเมินตามแบบบนั ทึกทีแ่ นบทา้ ยคูม่ ือนี้

3.2 จัดทาแบบบันทึกข้อมูลผลการประเมินที่แสดงสารสนเทศของผู้เรียน ท้ังน้ีเพ่ือใช้เป็น
แหล่งข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมผู้เรียน และใช้เป็นหลักฐานสาหรับสื่อสารกับผู้เกี่ยวข้อง และใช้
เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้สอน ดังนั้นข้อมูลควรแสดงถึงร่องรอยการพัฒนา พร้อม
ระบุข้อสังเกตที่เน้นข้อค้นพบท่ีเป็นจุดเด่นและจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ทั้งระหว่างเรียนและปลาย
ภาค/ปลายปี

3.3 จัดทาแบบบันทึกการประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน
เพื่อแสดงร่องรอยหลักฐานการพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน และสรุปผล
การประเมนิ ตามแบบสรปุ ผลการประเมินแนบท้ายคมู่ ือน้ี

3.4 จัดทาแบบบันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อแสดงร่องรอยหลักฐาน
การพัฒนาคุณลกั ษณะผู้เรยี น และสรุปผลการประเมนิ ตามแบบสรุปผลการประเมินแนบท้ายคมู่ ือน้ี

3.5 นาผลการประเมนิ จากขอ้ 3.2, 3.3 และ 3.4 มาสรปุ และบนั ทกึ ลงในแบบ ปพ.5
4. การตดั สินผลการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนรู้ 8 กลุม่

4.1 การตัดสินผลการเรยี นให้นาผลการประเมนิ ระหวา่ งเรียนรวมกับผลการประเมิน
ปลายภาค/ปลายปี โดยใชเ้ กณฑ์ ดังน้ี

[27]

ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ตารางแสดงคะแนน และระดับผลการเรยี น ระดบั ผลการเรียน
80 - 100 ความหมาย 4
75 - 79 3.5
70 - 74 ผลการเรียนดเี ย่ยี ม 3
65 - 69 ผลการเรยี นดมี าก 2.5
60 - 64 ผลการเรยี นดี 2
55 - 59 ผลการเรยี นค่อนข้างดี 1.5
50 - 54 ผลการเรยี นนา่ พอใจ 1
0 - 49 ผลการเรยี นพอใช้ 0
ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ นั้ ตา่ ทก่ี าหนด
ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ขั้นต่าทก่ี าหนด

เมื่อครผู ู้สอนตัดสินผลการเรียนแล้วใหด้ าเนนิ การ ดงั นี้
(1) ส่งผลการตัดสินให้อนุกรรมการกลุม่ สาระพจิ ารณาให้การเห็นชอบ / แก้ไข แล้วส่งให้

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการพิจารณาเห็นชอบ เพื่อนาเสนอผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติ
ผลการเรยี น

(2) ส่งผลการเรียนให้ ครูทป่ี รึกษากรอกผลการเรียนลงในแบบ ปพ.6 และนายทะเบียน
วดั ผลกรอกในแบบ ปพ.1

5. การให้ผลการเรยี น “ร”
5.1 การให้ผลการเรยี น “ร” หมายถึง ผูเ้ รยี นท่มี ลี กั ษณะ ดงั น้ี
1) ผเู้ รียนไมไ่ ดร้ ับการประเมนิ หรือประเมนิ แล้วไม่ผา่ นเกณฑร์ ะหวา่ งเรียน
2) ผูเ้ รียนไมไ่ ด้รับการประเมินปลายภาค/ปลายปี
5.2 วิธีการให้ผลการเรียน “ร” เมื่อผู้สอนพบว่าผู้เรียนไม่ได้เข้ารับการประเมินผลระหว่าง

เรียนหรือปลายภาค/ปลายปี ให้ผู้สอนรายงานพร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเสนอผู้บริหารเพ่ืออนุมัติ
ผลการเรียน “ร” แลว้ ประกาศผลใหน้ กั เรยี นทราบ

6. การให้ผลการเรยี น “มส”
6.1 การให้ผลการเรียน “มส” หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลา

ท้ังหมด
6.2 วิธีการให้ผลการเรียน “มส” ให้ผู้สอนรายงานพร้อมแนบเวลาเรียนของผู้เรียน

เสนอผู้บริหารเพอ่ื อนมุ ตั ผิ ลการเรียน “มส” ก่อนประเมินผลปลายภาค/ปลายปี 2 สัปดาห์
7. การแกไ้ ข “0”
7.1 ผเู้ รยี นนาใบแจ้งความจานงการแก้ไข “0” พบครูผสู้ อนประจาวชิ า
7.2 ผู้สอนดาเนนิ การพัฒนาผู้เรยี นในผลการเรียนรู้ท่ไี มผ่ ่านเกณฑ์ จนผู้เรียนสามารถบรรลุ ผล

ตามเกณฑท์ กี่ าหนดไว้ โดยให้ผลการเรียนไมเ่ กนิ “1”

[28]

7.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “0” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนเพ่ือเสนอต่อ
ผ้บู ริหารอนุมัติ และแจง้ ผูเ้ ก่ียวขอ้ ง

8. การแกไ้ ข “ร”
8.1 ผเู้ รยี นนาใบแจ้งความจานงการแก้ไข “ร” พบครูผู้สอนประจาวิชา
8.2 ผู้สอนดาเนินการตามสาเหตุของผลการเรียน “ร” น้ัน ๆ โดยให้ผลการเรียนตามเกณฑ์

ขอ้ 4
8.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “ร” ไปยังงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการเหน็ ชอบ เพ่อื เสนอต่อผบู้ รหิ ารอนมุ ัติ แลว้ แจ้งผูเ้ กี่ยวขอ้ ง
9. การแก้ไข “มส”
9.1 ผู้เรยี นนาใบแจ้งความจานงไปพบครผู ู้สอนประจาวชิ า
9.2 ผู้สอนพิจารณาว่าผู้เรียนมีข้อบกพร่องอะไร ให้ดาเนินการพัฒนาแก้ไขในส่ิงน้ันจนบรรลุ

เกณฑ์ขัน้ ตา่ ท่กี าหนดไว้ โดยใหผ้ ลการเรียนไม่เกนิ “1”
9.3 ผู้สอนรวบรวมและสรุปผลการแก้ไข “มส” ส่งงานวัดผลของโรงเรียนผ่านคณะ

กรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวชิ าการเห็นชอบ เพอ่ื เสนอผ้บู รหิ ารอนมุ ตั ิ แล้วแจง้ ผู้เก่ยี วขอ้ ง
10. การแก้ไข “0” “ร” และ “มส” ให้ดาเนินการแก้ไขให้เสร็จสิ้นภายใน 2 สัปดาห์

หลังจากไดร้ ับแจง้ ประกาศของงานวดั ผลโรงเรียน

สว่ นท่ี 2 การประเมินกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเป็นกิจกรรมที่สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนในทุกระดับช้ันการศึกษาได้พัฒนา

ความสามารถของตนเองตามความถนัดและความสนใจให้เต็มศักยภาพ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของ
สถานศึกษา มีการดาเนินการอย่างมีเป้าหมายชัดเจน มีรูปแบบ และวิธีการท่ีครูที่ปรึกษากิจกรรมและ
ผู้เรียนร่วมกันกาหนด ผู้เรียนต้องผ่านเกณฑ์การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามท่ีสถานศึกษากาหนด
จงึ จะผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับชน้ั

1. ลักษณะกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คอื
1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพัฒนาความสามารถของผู้เรียนให้เหมาะสม

ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถค้นพบและพัฒนาศักยภาพของตนเสริมสร้างทักษะชีวิต วุฒิภาวะ
ทางอารมณ์ การเรียนรใู้ นเชงิ พหปุ ัญญา และการสร้างสัมพนั ธภาพทีด่ ี ซึ่งครูทุกคนต้องทาหน้าที่แนะแนวให้
คาปรกึ ษาด้านชวี ิต การศกึ ษาตอ่ และการพฒั นาตนเองสโู่ ลกอาชพี และการมีงานทา

1.2 กิจกรรมนกั เรียน เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเองอย่างครบวงจรต้ังแต่ศึกษา
วิเคราะห์ วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมิน และปรบั ปรุงการทางาน โดยเน้นการทางานร่วมกันอย่างเป็น
กลุ่ม ได้แก่ โครงงาน กิจกรรมตามความสนใจชุมนุมวิชาการ กิจกรรมพัฒนานิสัยรักการอ่าน การคิด

[29]

วิเคราะห์ และเขียน กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด และผู้บาเพ็ญประโยชน์
และกจิ กรรมพฒั นาคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี น

1.3 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รยี นบาเพญ็ ตนให้
เป็นประโยชนต์ ่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั รเพอื่ แสดงถึงความ
รับผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาตา่ ง ๆ กจิ กรรม
สร้างสรรค์สังคม

2. การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นรายกจิ กรรม
1) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมประเมินการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนตามจุดประสงค์ของแต่ละ

กิจกรรม โดยประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและผลการปฏิบัติกิจกรรมด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย
ตามสภาพจริง

2) ผู้รับผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบเวลาเข้าร่วมกิจกรรมของผู้เรียนว่าเป็นไปตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนดไวห้ รือไม่

3) ตดั สนิ ใหผ้ เู้ รยี นทีผ่ ่านจุดประสงคส์ าคญั ของกจิ กรรม มผี ลงานชนิ้ งานหรือหลักฐานประกอบ
และมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ให้เป็นผู้ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม ผู้เรียนที่มีผลการ
ประเมินบกพร่องในเกณฑ์ใดเกณฑ์หนึ่ง จะเป็นผู้ไม่ผ่านการประเมินผลการร่วมกิจกรรม จะต้องซ่อมเสริม
ข้อบกพรอ่ งใหผ้ ่านเกณฑก์ ่อน จึงจะไดร้ บั การตดั สินใหผ้ า่ นกิจกรรม

3. การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนเลอ่ื นชั้น/จบหลกั สตู ร
เ ป็ น กา ร ป ร ะเ มิ น ส รุ ป ผ ล กา ร ผ่ า น กิ จ กร ร ม ต ล อ ด ปี ก า ร ศึ กษ า ขอ ง ผู้ เ รี ย น แ ต่ ล ะค น เ พ่ื อน า ผ ล
ไปพจิ ารณาตัดสินการเลือ่ นชั้น โดยมขี ้ันตอนปฏบิ ตั ิ ดังนี้

3.1 คณะกรรมการทไ่ี ด้รับแตง่ ต้งั รวบรวมผลการประเมินแต่ละกิจกรรมมาตัดสินตามเกณฑ์การ
ตัดสนิ การประเมนิ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน และรายงานผลต่อผู้ปกครอง

3.2 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและวชิ าการเพอ่ื พจิ ารณาเห็นชอบ

3.3 ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาพจิ ารณาตัดสนิ อนุมัติผลการประเมินรายภาค
3.4 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ รวบรวมผลการประเมินรายภาค ตัดสินผล
การเล่ือนชนั้ /จบหลักสูตร เสนอผู้บรหิ ารอนุมัติ
4. เกณฑ์ตัดสนิ ผลการประเมินกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น
4.1 เกณฑ์การตัดสินรายกิจกรรมพิจารณาจาก

1) เขา้ รว่ มกิจกรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 ของเวลาท้ังหมด
2) ผูเ้ รยี นมีพฤติกรรมดา้ นการเรียนรูไ้ มน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 70
3) ผู้เรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมและผา่ นจุดประสงค์สาคัญของแต่ละกจิ กรรมกาหนดทกุ ข้อ
4.2 ผเู้ รียนตอ้ งผา่ นเกณฑ์ ข้อ 4.1 ถอื ว่าผา่ นรายกิจกรรม

[30]

4.3 เกณฑ์การตัดสนิ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั ผลการประเมินผ่านทั้งกจิ กรรม
แนะแนว กิจกรรมนักเรียนทุกกจิ กรรมและกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ถอื วา่ ผ่านกจิ กรรมพฒั นา
ผเู้ รียน

4.4 เกณฑ์การผา่ นเล่อื นช้ัน / จบหลักสตู ร ผ้เู รยี นต้องไดร้ ับผลการประเมนิ ผา่ น ทุกกิจกรรม
รายภาค

5. แนวทางการซ่อมเสริมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
5.1 กรณีไม่ผ่านเน่ืองจากเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบ คณะกรรมการพัฒนาและการประเมิน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กาหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนไปปฏิบัติตามเวลาท่ีกาหนด ภายใต้การควบคุมดูแลของที่
ปรึกษากิจกรรมน้ัน ๆ จนกว่าผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมน้ันได้ อาจารย์ประจากิจกรรม สรุปรายงานผลการ
ปฏิบัติกิจกรรมให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพ่ือตัดสินผลการผ่าน
กิจกรรมรายภาค

5.2 กรณีไม่ผ่านจุดประสงค์สาคัญของกิจกรรมให้คณะกรรมการมอบหมายภาระงานที่
ผูเ้ รียนไมผ่ ่านไปปฏบิ ัตภิ ายใต้การดแู ลของอาจารย์ที่ปรกึ ษากจิ กรรม จนกว่าผเู้ รยี นจะปฏิบัตติ ามภาระงานนั้น
ได้ ให้ท่ีปรึกษาสรุปผลการปฏิบัติส่งให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประเมินการซ่อมเสริม เพ่ือตัดสินผล
การผ่านกิจกรรมเป็นรายภาค

5.3 คณะกรรมการสรุปผลการประเมินทั้งกรณีใน ข้อ 5.1 และ ข้อ 5.2 ส่งคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรและวชิ าการ เห็นชอบและเสนอผู้บรหิ ารอนมุ ตั ติ อ่ ไป

ส่วนที่ 3 การพัฒนาและประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสาคญั ของคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหัวใจสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยที่มีการจัด การศึกษา

เป็นวิธีการหลักท่ีสาคัญที่สุด การจัดการศึกษาให้ผู้เรียนเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนา
ผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีการพัฒนาการทั้งด้านปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม การพัฒนาจิตใจจึงถือเป็นสิ่งที่
สาคัญอย่างย่ิง ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตราท่ี 23 “การจัด
การศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยต้องเน้นท้ังความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ” มาตรา 24 วรรค 4 “จัดการ
เรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ตา่ ง ๆ อย่างเป็นสัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยม
ที่ดงี าม และคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ไวใ้ นทกุ วิชา

ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงกาหนด
ไว้ใน จุดหมายของหลักสูตรเป็นข้อแรก คือ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่า
ของตนเอง มีวินัยและปฏบิ ัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดให้สถานศึกษาได้สร้างหลักสูตรสถานศึกษาด้วยตนเอง ทั้งนี้เพื่อให้เป็น
หลักสูตรที่ตอบสนองต่อความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เป็นไปตามความต้องการจาเป็นของ

[31]

ชุมชนท้องถ่ินของตนอง โดยที่สถานศึกษาจะต้องร่วมกับชุมชนกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
ด้านคุณธรรม จริยธรรมค่านิยมท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจาเป็นของชุมชน และท้องถ่ิน และ
กาหนด เป็นเกณฑ์การจบหลักสูตรข้อหนึ่ง ในแต่ละระดับ คือ ผู้เรียนต้องผ่านการประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนด

2. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ได้กาหนดให้
สถานศกึ ษาทกุ แห่ง พัฒนาผู้เรียน ดงั น้ี

1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2) ซอื่ สตั ย์สจุ ริต
3) มีวินัย
4) ใฝ่เรยี นรู้
5) อย่อู ย่างพอเพียง
6) มุ่งมนั่ ในการทางาน
7) รกั ความเปน็ ไทย
8) มจี ติ สาธารณะ
ความหมายและตัวบง่ ชี้คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
2.1 คุณลกั ษณะ : รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

ความหมาย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงออก ด้วย
กาย วาจา และใจ

ตัวบ่งชี้คณุ ลกั ษณะ รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2.1.1 มีความจงรักดภี ักดีในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
2.1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมศาสนา
2.2 คณุ ลักษณะ : ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
ความหมาย ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงออกด้วยกาย วาจา
และใจ
ตัวบ่งช้คี ุณลักษณะ ซือ่ สัตย์สจุ ริต
2.2.1 ไม่นาสิง่ ของผ้อู นื่ มาเป็นของตน
2.2.2 ไม่พูดเทจ็ ทง้ั ต่อหน้าและลับหลัง
2.3 คณุ ลกั ษณะ : มีวินัย
ความหมาย มีวินัย หมายถึง ลักษณะของบุคคลท่ีแสดงออกถึงความเอาใจใส่
จดจ่อ ต้ังใจ มงุ่ มัน่ ต่อหนา้ ทกี่ ารงาน การศึกษาเล่าเรียน และการเป็นอยู่ของตนเอง และผู้อยู่ในความดูแล

[32]

ตลอดจนสังคมอย่างเต็มความสามารถด้วยความผูกพัน เพ่ือให้บรรลุผลสาเร็จตามความมุ่งหมายในเวลาที่
กาหนด ยอมรับผลการกระทาทั้งผลดแี ละผลเสยี ท่ีเกดิ ขนึ้ รวมท้ังปรบั ปรงุ การปฏิบตั ิใหด้ ขี ้ึนด้วย

ตัวบ่งชี้คณุ ลกั ษณะ มีวนิ ัย
2.3.1 มีความพยายามปฏิบัติภารกิจ หน้าท่ีการงาน การศึกษา หรือหน้าท่ีที่ได้รับ
มอบหมายอย่างเต็มความสามารถ
2.3.2 ตรงต่อเวลา
2.3.3 ทางานโดยคานงึ ถึงคุณภาพของงาน
2.3.4 ดแู ลรักษาสาธารณสมบตั ิ
2.4 คณุ ลักษณะ : ใฝเ่ รียนรู้
ความหมาย ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถงึ ลกั ษณะของบคุ คลท่ีแสดงออกถึงความใฝเ่ รยี น ใฝ่รู้
ตัวบง่ ชี้คณุ ลกั ษณะ ใฝ่เรียนรู้
2.4.1 มีการซักถามปญั หาในและนอกบทเรียนสมา่ เสมอ
2.4.2 ร้จู ักใชแ้ หลง่ เรยี นรภู้ ายในและนอกโรงเรียนประกอบการเรียนรู้
2.5 คณุ ลักษณะ : อยู่อย่างพอเพียง
ความหมาย อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการประพฤติตน
เปน็ ผู้ประหยัดเวลา ทรัพย์ และแรงงาน ทัง้ ของตนเองและส่วนรวม ตลอดจนวางแผนออมเพ่ืออนาคต
ตัวบ่งชีค้ ุณลกั ษณะ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
2.5.1 เลอื กใชส้ ิ่งของทีเ่ หมาะสมกับสถานภาพของตนและการใชง้ าน
2.5.2 ใชน้ ้า ใชไ้ ฟ อย่างระมัดระวัง และเฉพาะสว่ นท่จี าเป็น
2.6 คุณลกั ษณะ : ม่งุ มน่ั ในการทางาน
ความหมาย มงุ่ มนั่ ในการทางาน หมายถึง ความสามารถทางร่างกาย ความคิด จิตใจ
ท่ีจะปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ ง ๆ ให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งตามเป้าหมายท่ีกาหนด ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ ปญั หาอุปสรรค
ตัวบง่ ชค้ี ณุ ลักษณะ มุ่งมนั่ ในการทางาน
2.6.1 มีความเขม้ แข็ง พยายามเอาชนะปัญหาอปุ สรรคโดยไม่ยอ่ ทอ้
2.6.2 มีจิตใจหนักแน่น สามารถควบคุมอารมณ์และพฤติกรรมให้เป็นปกติเมื่อพบกับ
ปัญหาหรือส่งิ ย่ัวยตุ ่าง ๆ
2.7 คุณลกั ษณะ : รักความเปน็ ไทย
ความหมาย รักความเป็นไทย หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการปฏิบัติตนทั้ง
กาย ใจ และความคดิ ทคี่ านงึ ถงึ ความเปน็ ไทย
ตัวบ่งชคี้ ณุ ลกั ษณะ รักความเป็นไทย
2.7.1 ใชส้ งิ่ ของทผี่ ลิตในประเทศ
2.7.2 เขา้ รว่ มกจิ กรรมทเี่ ก่ียวข้องกบั วฒั นธรรม ประเพณีไทย และแต่งกายแบบไทย
2.7.3 ใชภ้ าษาไทยได้ถูกต้อง

[33]

2.8 คุณลกั ษณะ : มีจิตสาธารณะ
ความหมาย มีจิตสาธารณะ หมายถึง ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงการใช้วาจา ใจ

และกาย ต่อบคุ คลอ่นื ด้วยความเมตตา ใหค้ วามชว่ ยเหลือ โดยไม่หวงั ส่งิ ตอบแทน
ตวั บ่งช้คี ุณลกั ษณะ มจี ิตสาธารณะ
2.8.1 ร่วมกจิ กรรมการบาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ เช่น วดั , โบราณสถาน
2.8.2 อาสาปฏิบตั กิ จิ กรรมสาธารณประโยชน์

3. เกณฑก์ ารประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.1 เกณฑ์การประเมนิ ตวั บ่งช้ี
1) เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ
ระดับคณุ ภาพ
ดเี ย่ียม หมายถงึ ผเู้ รียนมีพฤตกิ รรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละ 80 – 100
ของจานวนครง้ั ของการประเมนิ ทง้ั หมด
ดี หมายถึง ผเู้ รยี นมพี ฤติกรรมตามตัวบง่ ช้ี ร้อยละ 65 – 79
ของจานวนคร้ังของการประเมนิ ทั้งหมด
ผ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมพี ฤตกิ รรมตามตัวบง่ ช้ี รอ้ ยละ 50 – 64
ของจานวนครงั้ ของการประเมนิ ทง้ั หมด
ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมตามตวั บ่งช้ี ร้อยละต่า 50
ของจานวนคร้ังของการประเมินทง้ั หมด
2) เกณฑก์ ารตัดสนิ การผ่านแตล่ ะตัวบง่ ชี้
ผเู้ รียนตอ้ งมีพฤติกรรมตามตวั บง่ ช้อี ยใู่ นระดับผา่ นข้ึนไป ถือวา่ ผ่านแตล่ ะตัวบง่ ช้ี
3.2 เกณฑ์การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
3.2.1 ใหค้ ดิ ค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมนิ ตัวบ่งชี้มาเป็นระดบั คณุ ภาพของ

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละขอ้
3.2.2 ใหค้ ดิ คา่ ฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินคณุ ลักษณะ 8 ขอ้ สรปุ เป็นคุณลกั ษณะ

อนั พึงประสงค์ของรายวชิ านน้ั ๆ
3.2.3 ให้คดิ ค่าฐานนยิ ม จากคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์รายวชิ า สรปุ เป็นคณุ ลกั ษณะอนั

พึงประสงคข์ องผู้เรยี นรายบคุ คล
3.3 เกณฑ์การตดั สินแต่ละคุณลักษณะ
ผ้เู รยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมนิ อย่ใู นระดบั คุณภาพ ผา่ นขน้ึ ไป ถือว่า ผ่าน

[34]

แนวการพัฒนาและประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ระดับผู้ปฏิบัติ
ในการพัฒนาและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน โรงเรียนกาหนดให้ผู้สอนทุกรายวิชา
ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่นอกเหนือจากครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ
ได้ดาเนินการ ดงั น้ี

1.1 ครูผู้สอนรายวิชาต่าง ๆ ทุกรายวิชา ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตนโดย
สอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาในคุณลักษณะใดคุณลักษณะหน่ึงที่เหมาะสม และ
สอดคล้องกบั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้น ๆ โดยให้ระบุไวใ้ นแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ุกแผน

1.2 ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ / กิจกรรม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท้ังกิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมชุมนุมต่าง ๆ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่นอกเหนือจากรายวิชาต่าง ๆ ให้ดาเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา
คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ โดยระบุไวใ้ นแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

1.3 ผู้รับผิดชอบทั้ง ข้อ 1.1 และ 1.2 ดาเนินการพัฒนาพร้อมกับประเมินผลและปรับปรุง
ผู้เรียนเป็นระยะ ๆ เพื่อแสดงพัฒนาการของผู้เรียน บันทึกร่องรอยหลักฐานการประเมินและปรับปรุงอย่าง
ต่อเน่ือง เม่ือเสร็จสิ้นภาคเรียน / ปลายปี หรือสิ้นโครงการ / กิจกรรม ให้มีการประเมินและสรุปผลบันทึก
ลงใน แบบ ปพ. 5 และระบุ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียนแต่ละคน ตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ พร้อมแนบ
ขอ้ มูลบันทึกหลกั ฐานร่องรอยการประเมินและปรับปรุงประกอบส่งให้คณะกรรมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้
ของตนเอง ได้ตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์

1.4 คณะกรรมการแต่ละกลมุ่ สาระรวบรวมผลการประเมนิ ทั้งหมด และสรุปผลการประเมินลง
ในใบ แบบ ปพ. 5 ส่งคณะกรรมการประเมินคุณลักษณะของสถานศึกษาท่ีได้รับการแต่งตั้งเพื่อดาเนินการ
ต่อไป

2. ระดับคณะกรรมการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของสถานศกึ ษา
ให้มีการประเมินและตัดสินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทุกภาคเรียน / ปี
โดยสถานศึกษาแตง่ ต้ังคณะกรรมการประเมินและตดั สินผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ระดับชั้นละ
3 – 5 คน ดาเนนิ การดงั น้ี

2.1 คณะกรรมการทุกระดับชั้น ศึกษาและทาความเข้าใจร่วมกันในเรื่องของเกณฑ์การ
ประเมินระดบั คุณภาพ ตลอดจนแนวทางการประเมินที่สถานศึกษากาหนดไว้

2.2 คณะกรรมการประเมินแตล่ ะระดับช้ัน นาผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์จากผู้
ปฏิบัติใน ขอ้ 1 มาร่วมกนั พิจารณาผลการประเมิน และขอ้ มูลจากการบันทึกร่องรอยหลักฐานท่ีแนบมาเป็น
รายบุคคลเทียบกับเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ แล้วตัดสินผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน บันทึกลงใน
แบบ ปพ. 5 ระบุจุดเด่นจุดด้อยของผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ
เห็นชอบ และเสนอผู้บริหารอนมุ ัติผลการประเมิน

2.3 กรณีท่ีคณะกรรมการไม่สามารถตัดสินผลการประเมิน เน่ืองจากข้อมูลไม่เพียงพอ
ให้คณะกรรมการขอข้อมูลเพ่มิ เตมิ จากผู้รบั ผิดชอบ จนสามารถตดั สินผลการประเมินได้

[35]

2.4 นายทะเบียนนาผลการตัดสินมาดาเนินการจัดทา ปพ. 4 และหลักฐานการศึกษาอ่ืนที่
เกี่ยวข้อง และประกาศใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ งรับทราบต่อไป

3. การประเมนิ การเลือ่ นชัน้ / การจบหลักสตู ร
คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการ นาผลการประเมินรายภาค / รายปี มารว่ มพจิ ารณา
และตัดสินผลการเลอื่ นชั้น / จบหลักสูตร
แนวทางในการซอ่ มเสริมคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
1. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะร่วมกันพิจารณาว่า ผู้เรียนมีคุณลักษณะใดที่ต้องพัฒนา
ปรบั ปรุง
2. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะกาหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงพร้อมระยะเวลาโดย
มอบหมาย ให้ท่ีปรึกษาในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ดาเนินการติดตามช่วยเหลือแนะนาการปฏิบัติงาน
ตามแนวทางท่ีคณะกรรมการกาหนด
3. กจิ กรรม ในการพฒั นาปรบั ปรงุ ผู้เรยี น

3.1 กาหนดภาระงานหรือกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับตัวบ่งช้ขี องคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนาปรับปรุง
3.2 ผ้เู รียนร่วมกิจกรรมท่ีสอดคลอ้ งกับคุณลกั ษณะทต่ี อ้ งพัฒนาปรบั ปรุงท้ังในและนอกโรงเรียน
3.3 ผู้เรียนเสนอโครงงาน / งาน ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะท่ีต้องพัฒนาปรับปรุงให้
คณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะเห็นชอบ
4. ผู้เรียนปฏิบัติตามแนวทางที่คณะกรรมการกาหนดหรือเห็นชอบ และรายงานผลการปฏิบัติให้
ที่ปรึกษาในระบบดูแลทราบเป็นระยะ ๆ พร้อมกับมีผู้รับรองผลการปฏิบัติโดยที่ปรึกษาบันทึกข้อคิดเห็นใน
การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมจนเสร็จสนิ้ กิจกรรม
5. ท่ีปรึกษาในระบบดูแล บันทึกผลแสดงพัฒนาการคุณลักษณะของผู้เรียนที่แสดงร่องรอย
หลักฐานการปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ๆ รวบรวมผลการปฏิบัตสิ ่งคณะกรรมการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
6. คณะกรรมการประเมินคุณลักษณะพิจารณาร่องรอยหลักฐานผลการปฏิบัติกิจกรรมเทียบกับ
เกณฑ์ที่กาหนด แล้วประเมินและตัดสินผลการซ่อมเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์สรุปผลเสนอต่อคณะ
กรรมการบริหารหลกั สตู รและวชิ าการเหน็ ชอบ เพอื่ เสนอตอ่ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาอนมุ ตั ติ ่อไป
7. นายทะเบยี นวัดผลดาเนินการจัดทา ปพ. 4 และแจ้งแก่ผ้เู กย่ี วขอ้ งตอ่ ไป

ส่วนที่ 4 การพฒั นาและประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น จานวน 3 ข้อ คอื
1. อ่านและเข้าใจ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลเป็นระบบ และเขียนเสนอ

ความคิดได้
ตวั บ่งชท้ี ี่ 1 เขียนรายงานเรื่องท่ีศึกษาค้นควา้ ได้
ตัวบง่ ช้ีท่ี 2 ตอบคาถามจากเรื่องที่ศึกษาค้นคว้าได้
ตวั บ่งชี้ท่ี 3 เขียนแสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองทอี่ ่านได้

[36]

ตัวบง่ ช้ที ี่ 4 เขยี นสรปุ จากเรื่องท่ีอา่ นได้
2. นาความรู้ความเขา้ ใจที่ได้จากการอ่านไปใช้ในการแก้ปัญหา ตดั สนิ ใจ คาดคะเนเรื่องราวหรือ
เหตุการณ์ และสรุปเป็นแนวปฏบิ ตั ไิ ด้

ตัวบง่ ช้ีท่ี 1 ทาโครงงาน / รายงานในเรอ่ื งทสี่ นใจได้ตามศกั ยภาพ
ตวั บ่งชี้ที่ 2 นาเสนอโครงงาน / รายงานไดต้ ามศักยภาพ
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 3 เน้ือหาในการทาโครงงาน / รายงานสอดคล้องกับเร่อื งท่ีเรยี น
ตัวบง่ ช้ที ่ี 4 เขยี นขน้ั ตอนในการปฏบิ ัตงิ านได้
3. มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถเขยี นถา่ ยทอดความคิดเพ่ือการสือ่ สารได้
ตวั บง่ ชที้ ี่ 1 เขียนเรือ่ งราวเชงิ สร้างสรรคไ์ ด้ตามศักยภาพ
ตวั บ่งชีท้ ่ี 2 เขียน / วาดภาพจากจินตนาการในเร่ืองทตี่ นสนใจได้
แนวทางและวิธกี ารประเมิน
การประเมินความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน โรงเรียนจะใช้แนวทางการวัด
และการประเมินจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performance Measurement) จึงกาหนดแนวทางและ
วธิ ีการประเมินใหค้ รูผ้สู อนทกุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้นาไปใช้ในการประเมนิ ดงั น้ี
1. วิธกี ารประเมนิ
1.1 ความสามารถจริงของผู้เรยี นในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทางการเรยี นรายวชิ าต่าง ๆ ในส่วนที่
เกี่ยวกบั การอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียน โดยการสังเกตของครู
1.2 มอบหมายใหผ้ เู้ รียนไปศึกษาค้นควา้ แล้วเขยี นเป็นรายงาน
1.3 ผลงานเชงิ ประจกั ษ์ตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั การอา่ น การคิด การวเิ คราะห์ และเขยี นที่รวบรวม
และนาเสนอในรปู ของแฟม้ สะสมงาน
1.4 การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบแบบเขยี นตอบ หรอื เขียนเรียงความ
1.5 การเขยี นรายงานจากการปฏบิ ตั ิโครงงาน
2. เกณฑ์การประเมนิ ผลงาน : การเขียนจากการอ่าน คิด วเิ คราะห์
2.1 การใชก้ ระบวนการอา่ นอย่างมีประสิทธภิ าพ
2.2 การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมวี ิจารณญาณ
2.3 ใช้กระบวนการเขียนส่ือความอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น
เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ : การอา่ น

ระดับ
ดเี ยย่ี ม ระบุสาระของเรื่องท่ีอา่ นได้ถูกต้องครบถว้ น ลาดับเรอ่ื งท่ีอ่านได้ถูกต้อง

ระบุประเดน็ สาคญั ของเรื่องที่อ่านได้ถกู ต้อง ระบุจุดมงุ่ หมาย และเจตคติ
ของผู้เขยี น

[37]

ดี ระบุสาระของเรื่องที่อ่านได้ถูกต้องครบถว้ น ลาดับเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
ระบุประเดน็ สาคัญของเรื่องท่ีอา่ นได้ถูกต้อง ระบุจุดมุ่งหมาย และเจตคติ
ของผู้เขียนไม่ครบถ้วน

ผ่าน ระบุสาระของเรื่องที่อา่ นได้ถูกต้องครบถ้วน ลาดบั เร่อื งที่อ่านค่อนขา้ งถูกต้อง
ระบปุ ระเด็นสาคัญของเรื่องท่ีอา่ นได้ไมส่ มบรู ณ์ ระบุจุดมุง่ หมาย และเจตคติ
ของผเู้ ขยี นเพียงเล็กนอ้ ย

ไม่ผา่ น ระบุสาระของเร่ืองที่อา่ นได้ไม่ครบถ้วน ลาดับเรื่องทีอ่ า่ นผิดพลาดเล็กน้อย
ระบปุ ระเดน็ สาคัญของเร่ืองที่อา่ นไมถ่ กู ตอ้ ง ไม่ระบุจุดม่งุ หมาย และเจตคติ
ของผเู้ ขียน

เกณฑ์ระดับคุณภาพ : การคดิ วเิ คราะห์
ระดบั
ดเี ยยี่ ม แสดงความคดิ เหน็ ชัดเจน มเี หตผุ ลระบุข้อมลู สนบั สนุนทีน่ า่ เช่ือถอื มคี วามคดิ
ท่แี ปลกใหม่ เป็นประโยชนต์ อ่ สังคมโดยส่วนรวม
ดี แสดงความคิดเห็นคอ่ นข้างชัดเจน มีเหตผุ ลระบุขอ้ มลู สนับสนนุ มีความคิด
ทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สังคมโดยสังคมรอบขา้ งตนเอง
ผา่ น แสดงความคิดเห็นทมี่ ีเหตุผลระบขุ ้อมูลสนับสนนุ ที่พอรับได้มคี วามคดิ ท่ีเป็น
ประโยชน์ตอ่ ตนเอง
ไมผ่ า่ น แสดงความคดิ เหน็ มเี หตุผลไม่ชัดเจน ขาดข้อมลู สนับสนนุ มีความคดิ ทีย่ ังมอง
ไม่เห็นประโยชนท์ ่ชี ดั เจน

เกณฑร์ ะดับคุณภาพ : การเขยี น
ระดบั
ดีเย่ยี ม มีจดุ ประสงค์ในการเขยี นชัดเจนได้เนื้อหาสาระ รปู แบบการเขยี นถูกต้องมีขั้นตอน
การเขียนชดั เจนง่ายต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคาถูกตอ้ ง
พฒั นาสานวนภาษาทีส่ อื่ ความหมายได้ชดั เจนกะทดั รัด
ดี มีจดุ ประสงค์ในการเขยี นชดั เจนได้เน้อื หาสาระ รปู แบบการเขยี นถูกต้องมีขน้ั ตอน
การเขียนชดั เจนงา่ ยต่อการติดตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคาผิดพลาด
ไม่เกนิ 3 แหง่ พฒั นาสานวนภาษาท่สี ื่อความหมายไดช้ ัดเจน

ผา่ น มีจุดประสงค์ในการเขยี นชดั เจนและค่อนขา้ งได้เน้ือหาสาระ รูปแบบการเขียน
ถูกต้อง มขี ้ันตอนการเขียนชัดเจนง่ายต่อการตดิ ตาม ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคา
ผดิ พลาดมากกวา่ 3 แห่ง ขาดการพัฒนาสานวนภาษาท่ีส่ือความหมายได้ชัดเจน

ไมผ่ า่ น ขาดจดุ ประสงคใ์ นการเขยี นและเนื้อหาสาระน้อย ใชไ้ วยากรณ์และสะกดคา
ผิดพลาดมาก ขาดการพฒั นาสานวนภาษาท่สี ่ือความหมาย

[38]

4. การสรุปผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน
4.1 ให้คิดค่าฐานนิยม (Mode) จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน

มาเป็นระดับคณุ ภาพของแต่ละรายวชิ า
4.2 ให้คิดค่าฐานนิยม จากเกณฑ์การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ของแต่ละ

รายวิชา สรุปเป็นผลการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ของผเู้ รียนรายบคุ คล
5. เกณฑก์ ารตัดสนิ ความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขยี น
5.1 ระดบั รายภาค
ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน อยู่ในระดับคุณภาพ ผ่าน ขึ้นไป

ถอื ว่า ผา่ น
5.2 การเลื่อนชน้ั / จบหลกั สูตร
ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ผ่านทกุ รายภาค

แนวทางการพฒั นาและการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน
ก ระดบั ผู้ปฏบิ ตั ิ
1. กลมุ่ ครูผสู้ อนแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรู้

1.1 แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ร่วมกันกาหนดแนวทางในการพัฒนาความสามารถในการอ่าน
คิด วิเคราะห์ และเขียน ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติของแต่ละกลุ่มสาระ และสอดคล้องกับมาตรฐาน
การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ทีส่ ถานศึกษากาหนด

1.2 ผ้สู อนทกุ รายวิชานาแนวทางที่กาหนดไว้ใน ข้อ 1 วางแผนการจัดกิจกรรมและดาเนินการ
จดั กิจกรรมการเรยี นรู้สอดแทรกในการจัดการเรียนการสอนของตนเอง

1.3. ผูส้ อนทุกรายวชิ าดาเนนิ การประเมินและปรับปรุงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์
และเขียน เป็นระยะ ๆ เมื่อสิ้นภาคเรียน / ปลายปี ประเมินผลพร้อมบันทึกร่องรอยหลักฐานในการพัฒนา
ปรบั ปรงุ และรวบรวมหลกั ฐานการประเมนิ ไวท้ ี่หมวดวิชาเพือ่ ใชเ้ ปน็ หลักฐานสาหรบั ตรวจสอบการปฏิบัติงาน
ของผ้สู อน ซ่ึงจะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความโปร่งใส และความยุตธิ รรมในการประเมนิ

1.4 บันทกึ สรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ลงใน
แบบ ปพ.5 แบบสรุปผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น

5. ผสู้ อนในแต่ละกลุม่ สาระร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง สมบูรณข์ องผลการประเมินแต่ละ
รายวชิ า แล้วสรปุ ผลการประเมินในระดบั กลุ่มสาระลงใน แบบ ปพ.5 แบบสรปุ ผลการอา่ น คดิ วิเคราะห์
และเขยี น สง่ คณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดับโรงเรียนต่อไป

2. กลมุ่ ผ้รู บั ผดิ ชอบกจิ กรรมพัฒนาเรียนรู้ และกลุ่มผรู้ ับผดิ ชอบงาน / โครงการ / กจิ กรรมใน
ระดบั โรงเรียน

2.1 วางแผนกาหนดกิจกรรมพัฒนาความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนท่ี
สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมในภาระงานทต่ี นเองรบั ผิดชอบ

[39]

22 เนนิ การจัดกจิ กรรมพฒั นาตามแผนที่วางไว้ และประเมินพัฒนาปรับปรุงผู้เรียนเป็นระยะ ๆ
พร้อมบนั ทึกรอ่ งรอยหลักฐาน

2.3 เม่ือสิ้นภาคเรียน ให้มีการประเมินผล และสรุปผลการประเมินตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา
กาหนดไว้ พร้อมให้ข้อสังเกตท่ีเป็นจุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียน บันทึกใน แบบ ปพ. 5 และรวบรวม
หลักฐานร่องรอยการพัฒนาปรับปรุงไว้ที่ผู้ปฏิบัติ เพ่ือเป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้
ปฏิบัติ สง่ ผลการประเมนิ ให้คณะกรรมการประเมินระดบั โรงเรียนต่อไป

ข ระดบั คณะกรรมการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ของสถานศึกษา
1. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน จานวน 3 – 5 คน
ในแต่ละระดบั ชนั้ เป็นรายภาค
2. คณะกรรมการประเมนิ ฯ ศกึ ษาเกณฑก์ ารประเมิน เพือ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจตรงกนั
3. นาผลการประเมินการอ่านจากระดับผู้ปฏิบัติร่วมกันประเมิน เพ่ือตัดสินความสามารถ
ในการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ตามเกณฑท์ ่กี าหนดไว้
4. กรณีท่ีคณะกรรมการไม่สามารถตัดสินได้ คณะกรรมการขอข้อมูลจากผู้ปฏิบัติเพิ่มเติม หรือ
ทดสอบความสามารถซ้า แลว้ จงึ ตัดสนิ ผล
5. คณะกรรมการสรปุ ผลการประเมนิ เพือ่ เสนอผู้บริหารโรงเรียนอนุมัตผิ ลการประเมิน
6. นายทะเบียนวัดผลบันทึกลงใน ปพ.1 แล้วแจ้งผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และ
เขียน ใหอ้ าจารยท์ ่ปี รึกษาเพ่อื แจง้ ผู้ปกครอง
แนวทางในการซอ่ มเสริมและประเมนิ ผลการซ่อมเสรมิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน
1. คณะกรรมการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน ร่วมกันพิจารณาว่าผู้เรียนมีจุด
ที่ต้องพัฒนาปรับปรุงด้านใด แต่งต้ังที่ปรึกษาโดยระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็นกรรมการดาเนินการ
ซ่อมเสรมิ
2. กาหนดภาระงานให้ผู้เรียนพฒั นา ปรบั ปรุง ในด้านทต่ี อ้ งพฒั นาปรับปรงุ โดย

2.1 กรณีไมผ่ ่านการประเมินการอ่าน
2.1.1 คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานให้นักเรียนอ่าน บันทึกการอ่านพร้อมส่ง

เอกสารท่ีได้อา่ นไมน่ ้อยกวา่ 5 เรือ่ ง หรือกรรมการกาหนดเรอ่ื ง 5 เรอ่ื ง ให้อ่าน ภายในเวลาทีก่ าหนด
2.1.2 คณะกรรมการประเมินผลการอ่านโดยต้ังประเด็นคาถามท่ีสอดคล้องกับเกณฑ์การ

ประเมิน ผูเ้ รยี นตอบโดยการเขียนตอบหรือตอบปญั หาปากเปล่าก็ได้
2.1.3 หรืออยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการฯ
2.1.4 คณะกรรมการประเมินตดั สินผลการอา่ นใหผ้ า่ น และไดร้ ะดบั ไม่เกนิ “ผา่ น” กรณี

ท่ซี ่อมเสริมไมผ่ า่ นให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรยี นพฒั นาตามวิธกี าร ข้อ 2.1.1 ถึง 2.1.3 จนกวา่
ผเู้ รียนจะไดร้ ับการตัดสิน ผ่าน

2.2 กรณีผเู้ รียนไมผ่ ่านการคิด วเิ คราะห์

[40]

2.2.1 คณะกรรมการประเมินกาหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกคิด วิเคราะห์ ในเรื่องที่
สนใจภายใน 1 สปั ดาห์

2.2.2 คณะกรรมการประเมิน ประเมินการคิด วิเคราะห์ โดยต้ังประเด็นคาถามที่
สอดคล้องกับเกณฑก์ ารประเมิน ผู้เรียนตอบโดยการเขยี นตอบ หรอื ตอบปากเปล่า

2.2.3 คณะกรรมการประเมินตัดสินผลการคิด วิเคราะห์ โดยให้ผลการประเมินไม่เกิน
“ผ่าน”

2.2.4 ในกรณีท่ีผลการประเมินไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรียนพัฒนา
ตามวธิ กี ารใน ขอ้ 2.2.1 – 2.2.3 จนกว่าผู้เรยี นจะได้รับการตัดสิน ผา่ น

2.3 กรณที ผ่ี เู้ รียนไม่ผา่ นการประเมินการเขียน
2.3.1 คณะกรรมการประเมิน กาหนดภาระงานให้ผู้เรียนไปฝึกเขียนในเร่ืองท่ีสนใจภายใน

1 สปั ดาห์ ภายใต้การควบคุมดแู ลของครูท่ปี รกึ ษาในระบบดแู ลช่วยเหลือ
2.3.2 ผเู้ รียนสง่ ผลงานการเขียนทไี่ ดพ้ ัฒนาแล้วแก่คณะกรรมการประเมิน
2.3.3 คณะกรรมการประเมินทาการประเมินผลงานการเขียนประกอบการสัมภาษณ์

นักเรยี นเก่ยี วกบั กระบวนการพฒั นาการเขยี น
2.3.4 คณะกรรมการตัดสินผลการเขียนโดยใหผ้ ลการประเมนิ ไม่เกนิ “ผ่าน”
2.3.5 ในกรณีที่ผลการประเมินยัง ไม่ผ่าน ให้คณะกรรมการประเมินกาหนดให้ผู้เรียน

พฒั นาตามวิธีการ ข้อ 2.3.1 – 2.3.4 จนกว่าผเู้ รยี นจะไดร้ ับการตัดสนิ ผา่ น
3. คณะกรรมการประเมนิ การอา่ นตัดสนิ ผลการประเมินการอ่าน ส่งผลการประเมินเสนอคณะ

กรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการของสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และรวบรวมส่งให้ผู้บริหาร
สถานศกึ ษาอนุมตั ิ นายทะเบียนวัดผลบันทกึ ลง ปพ.1 และแจง้ ผูเ้ กย่ี วข้องตอ่ ไป

สว่ นท่ี 5 เกณฑ์การตดั สนิ การเลือ่ นชัน้ และเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร
การตดั สนิ การเล่ือนช้ัน
ในการตัดสนิ ผลการเรยี นของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การอา่ น คิด วิเคราะห์และเขยี น คณุ ลกั ษณะ

อันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นนั้น ผสู้ อนตอ้ งคานงึ ถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเปน็ หลกั และ
ต้องเก็บข้อมูลของผเู้ รยี นทุกด้านอย่างสมา่ เสมอและต่อเน่ืองในแตล่ ะภาคเรียนรวมทั้งสอนซ่อมเสรมิ ผู้เรียนให้
พฒั นาจนเตม็ ตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
1) ตดั สนิ ผลการเรยี นเปน็ รายวิชา ผูเ้ รยี นต้องมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ

80 ของเวลาเรยี นทั้งหมดในรายวชิ าน้ัน ๆ
2) ผู้เรยี นตอ้ งได้รบั การประเมนิ ทกุ ตัวชวี้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด คือ

ตัวช้วี ัดทต่ี อ้ งผ่าน ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของแต่ละรายวิชา
3) ผู้เรียนตอ้ งไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า

[41]

4) ผูเ้ รียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมนิ ผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษากาหนด
ในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน

การพจิ ารณาเลื่อนช้ันในระดับประถมศกึ ษา ถา้ หากผูเ้ รียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และ
สถานศกึ ษาพจิ ารณาเหน็ วา่ สามารถพฒั นาและสอนซอ่ มเสริมได้ ให้อยใู่ นดลุ พินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผัน
ให้เล่ือนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน
ระดับชัน้ ทีส่ งู ข้นึ สถานศึกษาจะตัง้ คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซา้ ช้ันได้ โดยท้งั นี้จะคานึงถึงวุฒิภาวะและ
ความรูค้ วามสามารถของผเู้ รยี นเป็นสาคัญ

เกณฑก์ ารจบระดบั ประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/เพ่ิมเติมตามโครงสร้างเวลาเรียน

ที่ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานกาหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพ้ืนฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี

สถานศึกษากาหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์

การประเมินตามที่สถานศกึ ษากาหนด
(4) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามท่สี ถานศกึ ษากาหนด
(5) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน

ตามท่สี ถานศึกษากาหนด

ส่วนที่ 6 การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ
การประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นด้วยแบบประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีเป็นระดับมาตรฐาน

ระดับชาติ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้มีการประเมินเพ่ือตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทุกระดับชั้น
เพื่อใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ โรงเรยี นจึงไดก้ าหนดแนวทางปฏิบัตไิ ว้ ดงั นี้

1. ผู้แทนสถานศึกษาเข้ารบั การประชมุ ชีแ้ จงวธิ ีการดาเนินการทดสอบรว่ มกบั สานักงานเขตพ้นื ท่ี
2. จัดส่งรายชื่อคณะกรรมการดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ประธาน
กรรมการ คณะกรรมการกลาง กรรมการควบคุมห้องสอบ คณะกรรมการตรวจคาตอบชนิดเขียนตอบ และ
กรรมการรบั –ส่งข้อสอบ ส่งไปให้สานักงานเขตพืน้ ทีเ่ พอ่ื แตง่ ตั้ง
3. คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการ ประชุมช้ีแจงคณะกรรมการดาเนินการประเมิน
คุณภาพตามคาสั่งจากข้อ 2 ถึงวิธีการดาเนินการสอบ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและปฏิบัติได้ตรงกันตามแนว
ปฏิบัติในคู่มือการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน เพ่ือให้เกิดความยุติธรรมและเป็นไปตาม
การดาเนนิ การสอบแบบทดสอบมาตรฐานอยา่ งเคร่งครัด

[42]

4. คณะกรรมการกลางจัดพิมพ์รายชื่อพร้อมกาหนดรหัส / เลขที่นักเรียนตามจานวนนักเรียน /
ห้องเรียนท่ีกาหนดไว้ในคู่มือ นาไปประกาศไว้หน้าห้องสอบแต่ละห้องเพ่ือให้นักเรียนได้ทราบว่า ตนเองเลขท่ี
เท่าไรสอบหอ้ งทีเ่ ท่าใด พร้อมติดเลขท่ขี องนักเรียนไว้บนโต๊ะทนี่ ่งั สอบ

5. คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รและวิชาการประชุมชีแ้ จงนกั เรียนให้ตระหนักถึงความสาคัญ ของ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ ท้ังในด้านส่วนตัวระดับโรงเรียนระดับเขตและระดับชาติ ควร
ใหค้ วามร่วมมอื ตัง้ ใจในการสอบอย่างเต็มความสามารถ

6. กรณีที่นักเรียนไม่ได้รับการประเมินตามวันเวลาท่ีกาหนด ให้สถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบ
ติดตามและประสานงานกับเขตพ้ืนที่ดาเนินการประเมินให้เสร็จส้ินภายใน 2 สัปดาห์ หลังจากทราบรายช่ือ
นักเรยี นทย่ี งั ไมไ่ ดร้ บั การประเมนิ

7. เมื่อสานักงานเขตพ้ืนท่ีแจ้งผลการประเมินมายังสถานศึกษา ให้นาผลการประเมินมาทบทวน
คณุ ภาพรว่ มกนั ระหวา่ งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการกับคณะกรรมการสถานศึกษา และแจ้งผล
การประเมินให้ผู้เกี่ยวข้องทราบผล และดาเนินการต่อไปโดยเฉพาะผู้เรียนและครูผู้สอนนาไปพิจารณา
ในการพัฒนาปรับปรงุ ตนเองตอ่ ไป

[43]

บรรณานกุ รม

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน. (2551). แนวปฏิบัตกิ ารวดั และประเมินผลการเรยี นร้.ู
กรุงเทพฯ : องคก์ ารรบั ส่งสนิ ค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ).

[44]

ภาคผนวก

[45]

[46]