มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ from bua2503

จนถึงตอนนี้น้อง ๆ คงได้เรียนวรรณคดีกันมามากมายหลายเรื่อง แต่ละเรื่องก็อาจจะมีการใช้ลักษณะคำประพันธ์ที่ต่างกันออกไป หรือซ้ำกันบ้าง บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ ก็เป็นหนึ่งในวรรณคดีไทยที่อยู่ในแบบเรียนของน้อง ๆ แต่ความพิเศษคือลักษณะคำประพันธ์ที่น้อง ๆ อาจจะไม่เคยได้ยินมาก่อนอย่าง อินทรวิเชียร์ฉันท์ 11 จะเป็นอย่างไรบ้าง ถ้าพร้อมแล้วไปเรียนรู้วรรณคดีเรื่องนี้พร้อมกันเลยค่ะ

 

ความเป็นมาของบทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ

 

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ เป็นบทร้อยกรองขนาดสั้น มีเนื้อหาแสดงคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ ประพันธ์ขึ้นโดย พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เค้าโครงเดิมเป็นคาถาภาษาบาลี

 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และอาจาริยคุณ แต่งโดยใช้อินทรวิเชียร์ฉันท์ 11

 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

 

ถอดความตัวบท

 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

 

ถอดความ

กล่าวถึงการนอบน้อมในพระคุณของบิดามารดา ผู้ที่เลี้ยงดูเรามาตั้งแต่เล็ก แม้ว่าจะต้องเจอเรื่องยากลำบากแค่ไหนก็ยังคอยดูแลอยู่ไม่ห่าง อีกทั้งยังคอยปกป้องจากอันตรายจนลูกมีชีวิตรอดมาเป็นผู้ใหญ่ได้ พระคุณของบิดามารดา จึงยิ่งใหญ่กว่าภูเขาหรือผืนแผ่นดิน ไม่ว่าเราจะบูชาพระคุณนี้อย่างไรก็มิอาจทดแทนได้

 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

 

ถอดความ

กล่าวถึงการสรรเสริญพระคุณของครูอาจารย์ ที่เปี่ยมด้วยความโอบอ้อม เป็นผู้ที่คอยอบรมสั่งสอนให้มีความรู้ในเรื่องต่าง ๆ ให้บรรดามีความเข้าใจแจ่มแจ้ง และฉลาดหลักแหลม และยังมีความเมตตาเที่ยงตรง พระคุณของครูถือเป็นเลิศในสามโลก ลูกศิษย์ทุกคนควรระลึกและยกย่อง

 

คุณค่าที่ปรากฏในเรื่อง

 

คุณค่าด้านวรรณศิลป์

 

วรรณศิลป์ที่โดดเด่นในบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณคือการเล่นเสียงสัมผัส

 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

 

คุณค่าด้านเนื้อหา

 

ทั้ง 2 บทนมัสการสอนเหมือนกันคือเรื่องของการกตัญญูรู้คน ให้สำนึกในพระคุณของบิดามารดาผู้ให้กำเนิด และครูบาอาจารย์ที่ถึงแม้จะไม่ได้ให้กำเนิดแต่ก็เป็นผู้ที่เสียสละ คอยอบรมบ่มนิสัยและให้ความรู้ ซึ่งเป็นสิ่งที่สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยให้ความสำคัญเรื่องกตัญญูรู้คน จึงปลูกฝังให้กับเด็ก ๆ ผ่านแบบเรียนภาษาไทย

 

บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ เป็นบทอาขยานที่น้อง ๆ สามารถจำได้อย่างง่ายเพียงแค่ใช้ทำนองสรภัญญะ รับรองว่าน้อง ๆ จะสามารถจำได้และท่องบทร้อยกรองนี้ได้อย่างลื่นไหลเลยทีเดียวค่ะ สุดท้ายนี้น้อง ๆ สามารถตามไปดูคลิปการสอนของครูอุ้มที่ได้สรุปความรู้ของบทนมัสการนี้ไว้ อย่าลืมไปดูเพื่อทบทวนบทเรียนกันนะคะ

 

สรุปความรู้บทนมัสการอาจาริยคุณ

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยจาก nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ

ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆ ในบทความนี้จะกล่าวถึงฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ และฟังก์ชันที่เกิดจากการดำเนินการของค่า cosθ sinθ ซึ่งก็คือ tanθ และ cotθ นอกจากนี้ยังจะกล่าวถึงโคฟังก์ชันของฟังก์ชันตรีโกณมิติอีกด้วย ในบทความนี้สิ่งที่น้องๆต้องรู้ก็คือ วิธีการหาค่า cosθ และ sinθ จตุภาคของพิกัดจุดปลายส่วนโค้ง ซึ่งสามารถอ่านได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้เลยค่ะ การวัดความยาวส่วนโค้ง ค่าของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ หลังจากที่น้องๆมีพื้นฐาน 2 เรื่องที่กล่าวมาแล้วเราจะเริ่มทำความรู้จักกับฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่นๆกันค่ะ   ฟังก์ชันที่เป็นส่วนกลับของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ บทความนี้ได้รวบรวมความรู้เรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ ซึ่งได้กล่าวถึงขั้นตอนและวิธีการหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ และยกตัวอย่างประกอบ อธิบายอย่างละเอียด ซึ่งก่อนจะเรียนเรื่อง ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์น้องๆสามารถทบทวน การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ได้ที่  ⇒⇒ การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ⇐⇐ ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ (probability) คือ  อัตราส่วนระหว่างจำนวนเหตุการณ์ที่สนใจ (n(E)) กับจำนวนแซมเปิลสเปซ (n(S)) ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กัน ใช้สัญลักษณ์ “P(E)”  แทนความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ โดยที่ 

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นป.6 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไป ทบทวนการใช้ Past Simple ทั้งกับประโยคบอกเล่า/คำถาม/ปฏิเสธ กันน๊า Let’s go! ไปลุยกันเลยจ้า Past Simple Tense คืออะไร     Past Simple Tense คือโครงสร้างที่ใช้กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วจบลงไปแล้วในอดีต สิ่งสำคัญที่นักเรียนต้องรู้คือ กริยาช่องที่สองที่บอกความเป็นอดีต คำบอกเวลาในอดีตและโครงสร้างประโยคที่สำคัญๆ นั่นเอง

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

สำนวนการเสนอ การขออนุญาต และขอความช่วยเหลือ

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม. 3 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาไปตะลุย “สำนวนการเสนอ การขออนุญาต และขอความช่วยเหลือ พร้อมทั้งเทคนิคการพูดตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า สำนวนการเสนอ   ในชีวิตประจำวันของเรานั้น ล้วนจะต้องเจอกลุ่มประโยคคำถามในเชิงชักชวน และการเสนอแนะที่ใช้เป็นรูปแบบคำถามนั้นถือเป็นการเสนอแนะชักชวนทางอ้อม ถ้าเทียบกับนิสัยคนไทยแล้ว ก็เพื่อแสดงถึงความเกรงใจ ไม่พูดมาตรงๆ เพื่อจุดประสงคืบางอย่าง ซึ่งเป็นนิสัยที่คนไทยส่วนใหญ่มีอยู่แล้ว ในภาษาอังกฤษการใช้ภาษาเหล่านี้จะทำให้การสนทนาดูเป็นธรรมชาติและคล่องมากขึ้น โดยที่บางครั้งผู้ถามนั้นหว่านล้อมผู้ฟังด้วยการ ชวนให้ทำ หรือแนะนำให้ทำนั่นเอง ประโยคคำถามที่ใช้มีดังนี้  

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

บวกเศษส่วนและจำนวนคละให้ถูกต้องตามหลักการ

การบวกคือพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ที่ต้องเจอมาตั้งแต่ระดับอนุบาล แต่นั่นคือการบวกจำนวนเต็มโดยหลักการคือการนับรวมกัน แต่การบวกเศษส่วนและจำนวนคละนั้นเราไม่สามารถนับได้เพราะเศษส่วนไม่ใช่จำนวนนับ บทความนี้จึงจะพาน้อง ๆมาทำความเข้าใจกับหลักการบวกเศษส่วนและจำนวนคละ อ่านบทความนี้จบรับรองว่าน้อง ๆจะเข้าใจและสามารถบวกเศษส่วนจำนวนคละได้เหมือนกับที่เราสามารถหาคำตอบของ 1+1 ได้เลยทีเดียว

มาตาปิตุคุณ คุณค่าด้านสังคม

วิธีพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดูอย่างง่ายๆ

การพูดสรุปความสำคัญอย่างไร ? น้อง ๆ หลายคนคงจะเคยประสบปัญหาเวลาที่ต้องออกไปนำเสนองานหน้าชั้นเรียนแล้วไม่รู้ว่าจะพูดอย่างไรให้เพื่อนกับครูเข้าใจ เพราะเนื้อหาที่เราจำมามันก็เยอะเสียเหลือเกิน บทเรียนภาษาไทยวันนี้จะช่วยให้น้อง ๆ รับมือกับปัญหาเหล่านั้นได้ เพียงแค่น้อง ๆ มีความเข้าใจในเรื่องการพูดสรุปความ วันนี้เรามาดูไปพร้อม ๆ กันเลยนะคะว่าการพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังหรือดูจะมีวิธีใดบ้าง   การพูดสรุปความจากเรื่องที่ฟังและดู   การพูดคืออะไร   องค์ประกอบของการพูด   ผู้พูด คือผู้ที่มีจุดมุ่งหมายสำคัญที่จะนำเสนอความรู้ความคิดเห็นให้ผู้ฟังได้รับรู้และเข้าใจ เนื้อเรื่อง