ข้อสอบ โปรแกรม เม เบิ ล คอนโทรลเลอร์

- basic of SCADA (เก็บรายละเอียดความเข้าใจและจำให้ได้)

- Application (like in Lab work)

หน่วยประมวลผลกลางของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเล่อร์ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆ ดังนี้

-            ไมโครโปรเซสเซอร์

-            ตัวนับจำนวน

-            ตัวตั้งเวลา

-            หน่วยความจำภายใน

-            โปรเซสอิมเมจอินพุท

-            โปรเซสอิมเมจเอ๊าท์พุท

หน่วยความจำ

หน่วยรับสัญญาณอินพุท

บล๊อกคำสั่งของผู้ใช้งาน

หน่วยติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย

เอกสารประกอบการสอน

รหสั 3104-2006 วิชา ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟา้ กาลัง
หลักสตู รระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู พุทธศักราช 2557
ประเภทวชิ า อตุ สาหกรรม

จัดทาโดย
นายชัยวัฒน์ พอพนิ

แผนกวิชาชา่ งไฟฟ้า วิทยาลัยเทคนิคเชยี งใหม่
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

ปัจจุบันน้ีระบบควบคุมอัตโนมัติของเครื่องจักรหรือขบวนการผลิตต่าง ๆ ถูกควบคุมการทางานด้วย
โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ (PLC) ซึ่งได้มีการจัดให้เรียนรู้การใช้งานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์เบ้ืองต้น
(Binary logic operation : BASIC) ในรายวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหัส 3104-2006 ระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2557 สาขาวิชาช่างไฟฟ้า ผู้สอนจึงได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
แบบฐานสมรรถนะ การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงและ 3 ดี รายวิชาระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรมข้ึน
เพ่ือเป็นแนวทางในการเรียนการสอนสาหรับครูผู้สอนให้เป็นไปตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
พุทธศักราช 2557 ซ่ึงจะทาให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะปฏิบัติและการปฏิบัติงานร่วมกับเพื่อนร่วมงาน
ตลอดจนการดารงชีวติ ได้อยา่ งมคี วามสขุ ครบถว้ นตามเนื้อหาวชิ าอยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด
และเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาอน่ื ๆ ต่อไป

ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้และบูรณาการนี้ ผู้สอนได้พิจารณาจากทรัพยากรและสภาพแวดล้อม
ทมี่ ีอยูภ่ ายในวิทยาลยั และห้องทดลองระบบควบคุมซึ่งสามารถตอบสนองต่อผู้เรียน ชุมชน สถานประกอบการ
และโรงงานอตุ สาหกรรมต่าง ๆ ท่มี อี ยู่ในท้องถน่ิ และจงั หวดั ใกล้เคียงหรือที่ห่างไกล ได้ โครงสร้างของแผนการ
จัดการเรยี นร้แู ละบูรณาการจะเน้นการเรียนการสอนโดยผเู้ รียนเป็นสาคัญโดยใช้วิธีการสอนแบบนักศึกษาเป็น
ศนู ยก์ ลาง มกี ารใชค้ าถามถามนาเพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษาเกิดความตระหนักและกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นความสาคัญใน
เร่ืองท่จี ะต้องเรยี นในการเรียนแต่ละคร้ัง และให้นักศึกษาสามารถกาหนดหัวข้อการเรียนรู้ได้ มีความรู้เพื่อนาไป
เป็นแนวทางไปสูก่ ารเรยี นรูท้ ักษะปฏิบัติ มีการกาหนดวิธีการวัดผลทั้งด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการและเจตคติ
และการบูรณาการไปสู่การเรียนรู้ในเร่ืองอื่น ๆ แผนการจัดการเรียนรู้และบูรณาการน้ีสามารถปรับเปล่ียนให้
สอดคลอ้ งกบั ทรัพยากรและสภาพแวดล้อมของสถานศึกษาต่าง ๆ ที่มีการเรียนการสอนรายวิชาระบบควบคุม
ในงานอตุ สาหกรรมได้

แผนการจัดการเรียนรู้และบูรณาการ น้ีผู้จัดทาได้จัดทาเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการเรียนการสอนให้
นักศึกษาสาขาวชิ าชา่ งไฟฟ้า ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 นอกจากนี้ยังสามารถนาไป
พฒั นาเพ่อื จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้และบูรณาการในรายวิชาอ่ืน ๆ ได้อีก สาหรับผู้ท่ีสนใจในระบบควบคุม
อตั โนมตั ิโดยการประยุกตใ์ ชง้ านโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ตอ่ ไป

ชยั วฒั น์ พอพนิ

สารบัญ ข

คานา หนา้
สารบัญ ก
รายละเอยี ดวชิ า ข
ตารางวิเคราะหห์ วั ข้อเรื่อง ค
ตารางวิเคราะห์สมรรถนะรายวิชา ง
หน่วยที่ 1 โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ จ

ตารางวิเคราะห์หวั ข้อเรื่องประจาหน่วย 1
ตารางวเิ คราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรียนรู้ทฤษฎี 2
ตารางวเิ คราะห์จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ฏิบตั ิ 3
แผนการจัดการเรยี นรู้หน่วยที่ 1 4
แบบทดสอบกอ่ นเรียนประจาหนว่ ยท่ี 1 9
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนประจาหน่วยท่ี 1 11
ใบเน้ือหาประจาหนว่ ยที่ 1 12
แบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 1 25
เฉลยแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 1 28
ใบปฏิบตั งิ านท่ี 1 30
แบบทดสอบหลังเรียนประจาหน่วยท่ี 1 42
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนประจาหนว่ ยที่ 1 44
บนั ทกึ หลงั การสอนประจาหน่วยที่ 1 45
แบบประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานใบงานท่ี 1 46

รายละเอียดวิชา

หลกั สตู ร ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สงู ประเภทวิชา ช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างไฟฟา้ กาลัง
รหสั วชิ า 3104-2006 วชิ า ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม จานวน 3 หนว่ ยกิต 5 ชัว่ โมง/สัปดาห์

เวลาเรยี น 18 สัปดาห์ รวม 90 ชวั่ โมง

จุดประสงคร์ ายวชิ า
1. เขา้ ใจโครงสรา้ งส่วนประกอบ การทางานของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ คอมพิวเตอร์
เซนเซอร์ และอุปกรณ์ควบคมุ แบบตา่ ง ๆ
2. เขยี นโปรแกรมคาสง่ั ควบคุมการทางานของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ร่วมกับเซนเซอร์และ
อปุ กรณ์ควบคมุ แบบตา่ ง ๆ
3. มกี จิ นิสัยในการทางานร่วมกับผอู้ นื่ ด้วยความประณีต รอบคอบ และปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั ระบบควบคุมในงานอตุ สาหกรรม
2. ออกแบบวงจรควบคุม
3. ต่อวงจร ทดสอบการทางาน

คาอธบิ ายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์การเขียนคาสั่งควบคุมการ

ทางานของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ หลักการทางานของหน่วยอินพุต เอาท์พุต เซนเซอร์ท่ีใช้วัดและ
ตรวจจับ ความเร็ว ความดัน อุณหภูมิ อัตราการไหล ระดับ น้าหนัก แสง พร็อกซิมิต้ีสวิตซ์ อุปกรณ์ควบคุม
ตัวตั้งเวลา ตวั นบั ลิมิตสวิตซ์ ฯลฯ การนาเอาโปรแกรมคอนโทรลเลอร์และคอมพิวเตอร์ มาประยุกต์ใช้ร่วมกับ
เซนเซอรแ์ ละอุปกรณ์ ควบคมุ แบบต่างๆ

ตารางวเิ คราะห์หวั ข้อเรอื่ ง

วิชา ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหัสวิชา 3104-2006 หน่วยกิต 2-3-3
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู สาขาวชิ า ไฟฟา้ กาลัง จานวน 5 ชั่วโมง

ชุดที่ ช่ือเรือ่ ง แหล่งข้อมูล จานวน
A B C D E ชว่ั โมง
1 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์  5
2 การทางานของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์  5
3 การเขยี นคาสงั่ ควบคมุ ของโปรแกรมเมเบิลลอจิก      10

คอนโทรลเลอร์  10
4 สวิตชแ์ ละอปุ กรณ์ควบคมุ  10
5 เซนเซอร์และอุปกรณ์ตรวจจับ
 10
6 อุปกรณ์ควบคุมระดบั

7 อปุ กรณ์ควบคมุ ความดันและอณุ หภมู ิ      10

8 อุปกรณ์ตรวจจบั ความเรว็ และควบคมุ การไหล      10

9 การประยุกตใ์ ช้โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์ในงาน      15

อตุ สาหกรรม

การวดั และประเมนิ ผลปลายภาคเรยี น 5

รวม 90

หมายเหตุ A คาอธบิ ายรายวชิ า
B ผเู้ ชย่ี วชาญ
C เอกสาร/ตารา/คู่มือ
D สถานประกอบการ
E ประสบการณ์ผูส้ อน

ตารางวิเคราะหส์ มรรถนะรายวิชา

วชิ า ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม รหัสวชิ า 3104-2006 หนว่ ยกติ 2-3-3
ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู สาขาวชิ า ไฟฟา้ กาลงั จานวน 5 ชว่ั โมง

หนว่ ย หน่วยการเรยี นร้เู รื่อง สัปดาห์ จานวน สมรรถนะรายวิชา
ท่ี ท่ี ช่วั โมง
1 1.แสดงความรเู้ ก่ียวกับระบบ
1 โปรแกรมเมเบิลลอจิก 5 ควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม
คอนโทรลเลอร์ 2
5
2 การทางานของโปรแกรมเมเบิล
ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ 3-4 10 2.ออกแบบวงจรควบคุม
3.ต่อวงจร ทดสอบการทางาน
3 การเขียนคาสงั่ ควบคมุ ของ
โปรแกรมเมเบิลลอจิก 5-6 10 1.แสดงความรูเ้ กยี่ วกับระบบ
คอนโทรลเลอร์
7-8 10 ควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม
4 สวิตช์และอปุ กรณ์ควบคุม 9-10 10 2.ออกแบบวงจรควบคุม
11-12 10 3.ต่อวงจร ทดสอบการทางาน
5 เซนเซอรแ์ ละอปุ กรณ์ตรวจจับ
13-14 10
6 อปุ กรณ์ควบคุมระดับ
15-17 15 2.ออกแบบวงจรควบคุม
7 อปุ กรณ์ควบคุมความดนั และ 3.ตอ่ วงจร ทดสอบการทางาน
อณุ หภมู ิ
18 5
8 อปุ กรณ์ตรวจจบั ความเรว็ และ 90 ช่วั โมง
ควบคมุ การไหล

9 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมเมเบิล
ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ในงาน
อตุ สาหกรรม

การวัดและประเมินผลปลายภาคเรยี น

รวม

1

ตารางวิเคราะห์หัวขอ้ เรื่องประจาหนว่ ย

วิชา ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหสั วิชา 3104-2006 หนว่ ยกติ 2-3-3
จานวน 5 ชัว่ โมง
หวั ข้อเรือ่ ง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1

หวั ข้อเรื่อง หวั ข้อย่อย ระดบั
RAT
1.1 การควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม 1.1 การควบคุมในงานอุตสาหกรรม

1.2 คานิยามของโปรแกรมเมเบิลลอจิก 1.2 คานยิ ามของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิก 

คอนโทรลเลอรแ์ ละโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอรแ์ ละโปรแกรมเมเบิล 

คอนโทรลเลอร์ คอนโทรลเลอร์ 

1.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ 1.3 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ 

ในงานควบคมุ ในงานควบคุม 

1.4 การแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบิล 1.4.1 โปรแกรมเมเบิลลอจิก 

ลอจกิ คอนโทรลเลอรต์ ามขนาด คอนโทรลเลอร์ขนาดเลก็ 

1.4.2 โปรแกรมเมเบิลลอจิก

คอนโทรลเลอร์ขนาดกลาง 

1.4.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิก 

คอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่ 

1.4.4 โปรแกรมเมเบิลลอจิก

คอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่มาก

1.5 การแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบลิ 1.5.1 แบบ Compact

ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ตามลกั ษณะ 1.5.2 แบบ Modular
โครงสรา้ ง

1.6 โครงสรา้ งพนื้ ฐานของโปรแกรมเมเบิล 1.6.1 หนว่ ยประมวลผล

ลอจิกคอนโทรลเลอร์ 1.6.2 หนว่ ยความจา

1.6.3 หนว่ ยอินพตุ

1.6.4 หนว่ ยเอาต์พุต

1.6.5 หนว่ ยแหลง่ จา่ ยไฟฟ้า

1.7 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ 1.7 ส่วนประกอบภายในของ PLC

ของ Mitsubishi FX5U Mitsubishi FX5U

หมายเหตุ ระดับ R = Recalled Knowledge (ความจา)
A = Applied Knowledge (ความเข้าใจ)
T = Transferred Knowledge (สง่ ถา่ ยความรู้)

2

ตารางวิเคราะห์จุดประสงค์การเรยี นรู้ทฤษฎี

วิชา ระบบควบคุมในงานอุตสาหกรรม รหสั วชิ า 3104-2006 หนว่ ยกติ 2-3-3

หัวข้อเรอ่ื ง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 จานวน 5 ช่วั โมง

หน่วย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ / เชิงพฤติกรรม (ทฤษฎ)ี ISL ระดับความรู้ จานวน
ท่ี RAT ขอ้ สอบ
(ขอ้ )
1 1. อธบิ ายการควบคุมในงานอุตสาหกรรมได้ 
1

2. บอกนิยามของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรไ์ ด้  1

3. อธบิ ายหลักการทางานของโปรแกรมเมเบิลลอจิก 1
คอนโทรลเลอร์ได้

4. บอกประเภทของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์แบง่  1

ตามขนาดได้

5. บอกประเภทของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์แบง่  1
ตามลกั ษณะโครงสรา้ งได้

6. อธิบายโครงสรา้ งพ้ืนฐานของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิก 3

คอนโทรลเลอร์ได้

7. อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์  2

Mitsubishi FX5U ได้

ISL = ระดับความรู้ (Intellectual Skill Level)
R = ขน้ั ฟืน้ ความรู้
A = ขน้ั ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
T = ขน้ั ส่งถ่ายความรู้

3

ตารางวเิ คราะห์จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ปฏิบตั ิ

วชิ า ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม รหสั วิชา 3104-2006 หน่วยกิต 2-3-3
จานวน 5 ชว่ั โมง
หัวข้อเร่ือง โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 1
PSL ระดบั ทักษะ
หนว่ ย จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ / เชงิ พฤติกรรม (ปฏบิ ตั ิ) I CA
ที่

1 1. เขียนวงจรการต่อแหลง่ จา่ ยไฟฟ้า อุปกรณ์อินพุต อปุ กรณเ์ อาต์พุตได้
อย่างถูกต้อง 

2. ต่ออปุ กรณ์อินพุตกับโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ของ 
Mitsubishi FX5U ได้อย่างถูกต้อง

3. ตอ่ อุปกรณ์เอาต์พุตกบั โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรข์ อง
Mitsubishi FX5U ได้อย่างถูกต้อง

PSL = ระดับทักษะ (Physical Skill Level)
I = ข้ันทาเลียนแบบ
C = ข้ันทาถกู ต้อง
A = ขนั้ ทาด้วยความชานาญ

4

แผนการจัดการเรยี นรู้หนว่ ยที่ 1
เรอ่ื ง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์

สาระการเรียนรู้ โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
หนว่ ยท่ี 1 ประกอบดว้ ยสาระการเรียนรตู้ ่อไปนี้

1.1 การควบคมุ ในงานอุตสาหกรรม
1.2 คํานิยามของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรแ์ ละโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
1.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรใ์ นการควบคุม
1.4 การแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอรต์ ามขนาด
1.5 การแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ตามลกั ษณะโครงสรา้ ง
1.6 โครงสรา้ งพน้ื ฐานของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์
1.7 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ของ Mitsubishi FX5U

สาระสาคญั
ปัจจุบนั โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller, PLC) ไดร้ ับ

ความนิยมใช้งานเป็นอย่างมากสาํ หรับการใชค้ วบคุมงานอตุ สาหกรรมประเภทต่างๆ ทาํ ให้ บริษทั ผผู้ ลติ พฒั นา
โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ (Programmable Logic Controller, PLC) ให้มีความสามารถมากขน้ึ
เช่น ทาํ การวดั และควบคุมสัญญาณอินพุตและเอาต์พตุ ที่เป็น อนาลอก (Analog Signal)

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน
1. จุดประสงคท์ ั่วไป
เพื่อให้ผเู้ รียนมีความรู้ ความเข้าใจ มที ักษะ เกี่ยวกับเรอ่ื งโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม
2. จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
1.อธิบายการควบคุมในงานอุตสาหกรรมได้
2.บอกคํานยิ ามของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ได้
3.อธิบายหลกั การทํางานโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ได้
4.บอกประเภทของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์แบ่งตามขนาดได้
5.บอกประเภทของโปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรแ์ บ่งตามลกั ษณะโครงสร้างได้
6.อธิบายโครงสรา้ งพืน้ ฐานของโปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรไ์ ด้
7. อธิบายโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ Mitsubishi FX5U ได้

5

3. คุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
3.1 ตรงเวลา
3.2 ขยนั หมัน่ เพียร
3.3 เชือ่ มนั่ ในตัวเองและกลา้ แสดงออก
3.4 มคี วามรับผิดชอบ
3.5 มคี วามซ่ือสตั ย์สุจริต

เนื้อหาสาระ
1. โครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
1.1 การควบคุมในงานอุตสาหกรรม
1.2 คํานยิ ามของโปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรแ์ ละโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
1.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ในการควบคุม
1.4 การแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรต์ ามขนาด
1.5 การแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ตามลกั ษณะโครงสร้าง
1.6 โครงสร้างพ้ืนฐานของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์
1.7 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ของ Mitsubishi FX5U

กิจกรรมการเรียนการสอน (ภาคทฤษฎี)
ข้ันทาแบบทดสอบก่อนเรยี น

ผู้เรยี นทําแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง โครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์โดยทํา ใน
กระดาษเม่ือทาํ เสรจ็ แลว้ สง่ แบบทดสอบคนื ใหผ้ ู้สอน

1. ขนั้ นําเข้าสู่บทเรียน
1.1 ผู้สอนอธิบายถงึ การควบคมุ เครื่องใช้ไฟฟ้าและการควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม
1.2 ผู้สอนอธบิ ายถึงตวั อย่างการควบคุมในงานอุตสาหกรรมตา่ งๆ

2. ข้ันศกึ ษาข้อมลู
2.1 ผูส้ อนฉายสอ่ื Power point และผูเ้ รียนใช้ใบความรู้ โดยผู้สอนใช้วิธกี ารสอนแบบ ถามตอบ

เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มในการเรียน เกดิ ความรู้และความเขา้ ใจในบทเรียน ตามสาระการ เรียนร้ทู กี่ ําหนดไว้ ได้แก่
2.1.1 การควบคุมในงานอุตสาหกรรม
2.1.2 คํานยิ ามของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์และโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์
2.1.3 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรใ์ นการควบคุม
2.1.4 การแบ่งประเภทของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอรต์ ามขนาด
2.1.5 การแบง่ ประเภทของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรต์ ามลักษณะ โครงสร้าง
2.1.6 โครงสร้างพ้นื ฐานของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์

6

2.1.7 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรข์ อง Mitsubishi FX5U
2.2 ผเู้ รยี นทาํ แบบฝึกหัดทา้ ยบทหน่วยท่ี 1 เรื่องโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
เมื่อเสร็จแลว้ ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกันเฉลย
3. ข้นั พยายาม
ผู้เรียนทําแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยที่ 1 เร่อื งโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์ เมือ่
ทําเสร็จแลว้ ส่งแบบทดสอบคืนใหผ้ ู้สอน
4. ขั้นสาํ เร็จ
ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกนั เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยท่ี 1 เร่อื งโครงสรา้ งของ โปรแกรมเม
เบิลคอนโทรลเลอร์

กิจกรรมการเรยี นการสอน (ภาคปฏิบตั ิ)
ในขัน้ กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาคปฏิบัติ ใชข้ น้ั ตอนการสอนแบบทักษะ ประกอบดว้ ย ขน้ั ตอนดังน้ี
1. ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรยี น
1.1 ผสู้ อนอธิบายถงึ มานําโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ไปใช้ในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ
1.2 ผ้เู รยี นเรยี นรเู้ รอ่ื งโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
2. ขั้นสาธิต
ผู้เรียนสังเกตและฟงั การสาธิตของผู้สอน ประกอบการอธบิ ายโครงสรา้ งของ โปรแกรมเมเบลิ

คอนโทรลเลอรใ์ นใบงานท่ี 1 โครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ พร้อมฟัง ข้อเสนอแนะในเรื่อง
โครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

3. ขั้นฝึกหดั
3.1 ผู้เรียนแบง่ กลุ่มปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ ละ 3-5 คน โดยแตล่ ะกลุ่มควรมีคนเก่ง ปานกลาง และอ่อน

คละกัน และทุกกลุ่มลงมอื ปฏิบัติงานตามใบงานที่ 1 เร่ืองโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์พรอ้ ม
อธบิ ายขอ้ ควรระวงั และข้อเสนอแนะในการปฏบิ ัติงาน

3.2 ผเู้ รียนปฏิบตั งิ านตามใบงานที่ 1 เร่อื งโครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
4. ขั้นสรปุ และตรวจสอบ

4.1 ผเู้ รยี นสรปุ ผลการปฏิบตั ิงานโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
4.2 ผสู้ อนตรวจสอบความถูกต้องของการปฏบิ ัติงานตามแบบวัดและประเมนิ ผล พรอ้ ม สรุปและ
ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงานในใบงานที่ 1 เรื่องโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
5. ขั้นฝึกฝนจนเกดิ ความชานาญ
ผู้เรยี นร่วมกันวเิ คราะห์โครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอรต์ ามโจทย์ที่ผ้สู อน กําหนด
6. ขั้นประเมินผล
ผเู้ รียนถกู ประเมินผลงานโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอรเ์ พอื่ ทดสอบ ทักษะความรู้
ในโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

7

7. ขนั้ เฉลย
ผ้เู รยี นร่วมกบั ผู้สอนในการเฉลยผลการปฏบิ ัตงิ าน พรอ้ มสลับกนั ตรวจและให้คะแนน

งานทีม่ อบหมาย / กจิ กรรม
1. ก่อนเรยี น
ผู้เรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 เรื่องโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
2. ขณะเรยี น
ผเู้ รียนทาํ แบบฝึกหดั หนว่ ยที่ 1 เร่ืองระบบโครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
3. หลงั เรียน
3.1 ผู้เรียนทําแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 1 เรื่องโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
3.2 ผู้เรียนศกึ ษาลว่ งหนา้ ในหน่วยถดั ไป

สื่อประกอบการเรียนการสอน
1. ส่ือสิ่งพิมพ์
1.1 แบบฝึกหดั พร้อมเฉลย หน่วยท่ี 1 เรอ่ื งโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์
1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพร้อมเฉลย หน่วยท่ี 1 เรอ่ื งโครงสร้างของ โปรแกรมเม

เบิลคอนโทรลเลอร์
1.3 ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 1 เร่อื งโครงสรา้ งของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
1.4 ใบงานที่ 1 เร่อื งโครงสร้างของโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

2. สอ่ื โสตทัศน์
สื่อ Power point เรอื่ งโครงสร้างของโปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ใชป้ ระกอบการสอน ขั้น

นาํ เขา้ สู่บทเรียนและขน้ั ศึกษาขอ้ มูล
3. สอ่ื อุปกรณ์ / สื่อของจริง
3.1 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรข์ อง Mitsubishi FX5U
3.2 ชุดฝกึ ปฏบิ ตั ิงานโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ Mitsubishi FX5U
3.3 อุปกรณ์อินพุต สวิตซป์ ุ่มกด
3.4 อปุ กรณ์เอาต์พตุ รเี ลย์ 24 VDC
3.5 สายเสียบต่อวงจรขนาด 4 มลิ ลเิ มตร

การวดั ผลและประเมนิ ผลเรียนการสอน
1. แบบฝึกหัดท่ี 1 เรอื่ ง โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
2. แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 1 เรอื่ ง โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
3. ใบงานที่ 1 เรือ่ ง โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์

8

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
1. แบบฝกึ หัด
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนคือ
ทาํ ถกู ต้องและครบถ้วน ได้คะแนน เต็ม
ทําถูกต้องแต่ไม่ครบถว้ น ไดค้ ะแนน ครง่ึ หน่งึ ของคะแนนเต็ม
ทาํ ไม่ถูกต้อง ได้คะแนน ศูนย์
เกณฑ์การตดั สิน คือ ผู้เรียนจะต้องทาํ แบบฝึกหัดถูกทุกข้อ จงึ จะถือว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ผล
2. แบบทดสอบหลังเรยี น
มเี กณฑ์การใหค้ ะแนน คือ ทําแบบทดสอบหลงั เรียนถกู ต้อง ขอ้ ละ 1 คะแนน
มีเกณฑ์การตัดสิน คอื ผู้เรยี นจะต้องทําแบบทดสอบหลงั เรียนถกู ต้องอย่างน้อย 70 % จงึ จะถือว่า

ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ
3. ใบงาน
มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนน คือ ทําตามขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
มีเกณฑ์การตัดสิน คือ ผูเ้ รียนจะต้องปฏบิ ตั ิงานได้ถูกต้องตามใบงาน โดยได้คะแนน ไม่ต่ํากวา่ 70 %

ของคะแนนเต็มของใบงาน

9

แบบทดสอบก่อนเรยี น ประจาหนว่ ยท่ี 1
เร่ือง โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์

คาํ ชแี้ จง ให้กากบาท (X) ทบั ตัวอักษรคาํ ตอบที่ถูกต้องเพยี งคําตอบเดยี ว
1. ระบบควบคมุ ในงานอุตสาหกรรมอตั โนมตั ิสมัยใหมน่ ิยมใชว้ ธิ กี ารควบคมุ แบบใด

ก. ใชแ้ รงงานมนุษย์ควบคุมทั้งหมด
ข. ใช้การควบคุมด้วยระบบวงจรรเี ลย์
ค. ใช้การควบคมุ ด้วยโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์
ง. ใชก้ ารควบคุมดว้ ยระบบแมคคานิค
2. ขอ้ ใดคือข้อเสยี ของการใชโ้ ปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์
ก. ราคาถูกกวา่ ควบคุมดว้ ยแมกเนติกคอนแทคเตอรเ์ พ่ือควบคมุ มอเตอร์ 1 ตัว
ข. ไมส่ ามารถขยายเพม่ิ เติมระบบ และโปรแกรมเงื่อนไขการทํางานได้
ค. การซ่อมบาํ รงุ และดแู ลรกั ษายาก
ง. การทํางานไมแ่ มน่ ยําและน่าเชอ่ื ถอื
3. คํานิยามของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ตามมาตรฐาน IEC 1131 คอื
ก. ระบบปฏิบตั กิ ารทางไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ
ข. ระบบปฏิบตั ิการทางดจิ ิตอลสามารถโปรแกรมการทาํ งานได้
ค. ระบบปฏิบัตกิ ารทางดจิ ติ อลทาํ งานแบบดิจติ อลอยา่ งเดยี วเทา่ นั้น
ง. ระบบปฏิบตั กิ ารทางดิจิตอลควบคมุ การทํางานดว้ ยคอมพิวเตอร์
4. ข้อใดกลา่ วถึงโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์ ขนาดเล็กไม่ถูกต้อง
ก. มีจํานวนอนิ พตุ เอาต์พตุ ไม่เกิน 128 จดุ
ข. มหี น่วยความจํา 4 Kbyte
ค. สามารถโปรแกรมได้ 2,000 Statement
ง. สามารถตอ่ ขยายอนิ พตุ เอาตพ์ ุตได้สงู สุด 1,024 จุด
5. ควรเลือกใช้โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอรแ์ บบใด เพื่อควบคมุ งานทม่ี กี ารเพ่ิมเตมิ จํานวน อนิ พตุ
เอาต์พตุ มากๆ
ก. แบบ Compact
ข. แบบ Modular
ค. แบบ Block
ง. แบบ Network

10

6. ขอ้ ใดไมใ่ ช้โครงสรา้ งพ้นื ฐานของโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์
ก. หน่วยความจาํ
ข. หน่วยประมวลผล
ค. หนว่ ยตดิ ตอ่ สอ่ื สาร
ง. หนว่ ยอินพตุ

7. สว่ นใดของโปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ ทาํ หนา้ ท่รี บั สัญญาณจากอนิ พตุ แลว้ ประมวลผล ตามที่
โปรแกรมไว้

ก. หน่วยประมวลผล
ข. หนว่ ยตดิ ต่อสื่อสาร
ค. หน่วยอินพตุ
ง. หน่วยโปรแกรม
8. เอาตพ์ ุตชนิดทรานซิสเตอร์ เหมาะสําหรบั การควบคุมอุปกรณเ์ อาต์พุตแบบใด
ก. ควบคุมรีเลยไ์ ฟฟา้
ข. ควบคมุ เอาต์พตุ แบบอนาลอก 0 - 20 VDC
ค. ควบคุมเอาตพ์ ุตทม่ี ีการเปิด ปิดบอ่ ยๆดว้ ยความเร็วสูง
ง. ควบคมุ อนิ เวอรเ์ ตอร์
9. หนว่ ยอนิ พุตแบบอนาลอก ของ PLC Mitsubishi FX5U สามารถรับสัญญาณ มาตรฐานอะไรบ้าง
ก. สัญญาณกระแส 0 - 10 mA และ 4 - 10 mA
ข. สญั ญาณกระแส 0 - 20 mA และ 4 – 20 mA
ค. สญั ญาณแรงดนั 0 – 20 VDC
ง. สัญญาณแรงดัน 4 – 20 VDC
10.จากข้อความระบุ FX5U-32M ของ Mitsubishi FX5U เปน็ เอาต์พุตชนดิ ใด
ก. เอาตพ์ ุตชนิด DC
ข. เอาต์พุตชนิดไตรแอค
ค. เอาตพ์ ตุ ชนิดทรานซิสเตอร์
ง. เอาต์พตุ ชนิดรีเลย์

11

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น ประจาหน่วยที่ 1

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 

12

ใบเน้อื หา ประจาหน่วยที่ 1
เร่ือง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์
โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์
จากคํานิยามของ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ตามมาตรฐานของ IEC 1131, PART1
“ระบบปฏิบัติการทางด้านดิจิตอลออกแบบมาให้ใช้งานในอุตสาหกรรม ซ่ึงใช้หน่วย ความจําท่ีสามารถ
โปรแกรมได้ในการเก็บคําส่ังที่ผู้ใช้กําหนดข้ึน (User Program) เพ่ือเป็นเครื่องมือ ในการกําหนดฟังก์ชันหรือ
เงื่อนไขในการทํางาน เช่น การทํางานแบบลอจิก การทํางานแบบซีเควนซ์ การใช้งานไทม์เมอร์ การใช้งาน
เคานเ์ ตอร์ และฟงั กช์ ันทางคณติ ศาสตรเ์ พ่ือควบคมุ อุปกรณ์ดิจิตอล อินพุตและเอาท์พุต หรืออะนาล็อก อินพุต
และเอาท์พตุ ของเครอื่ งจักรหรอื กระบวนการผลิตตา่ ง ๆ นอกจากน้ัน ทั้งระบบ PLC และอุปกรณ์ภายนอกที่ใช้
งานจะต้องสามารถเชื่อมต่อหรือสื่อสารกับ ระบบควบคุมทางอุตสาหกรรม เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ และ
ใช้งานร่วมกันไดง้ ่าย”

ความหมายของโปรแกรมมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์
ในอดตี โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์ (PLC) ถูกเรียกในนาม โปรแกรมเมเบิล คอนโทรลเลอร์

(PC) ทําหน้าที่เป็นอุปกรณ์ควบคุมการทํางานของเคร่ืองจักร หรือกระบวนการ ผลิตต่าง ๆ ที่มีลักษณะการ
ทํางานเป็นแบบลอจิก (Logic Control System) หรือแบบซีเควนซ์ (Sequence Control System) เท่าน้ัน
ซ่ึงเซนเซอร์ (Sensor) และอุปกรณ์ทํางาน (Actuator) ท่ีควบคุม การทํางานภายในเคร่ืองจักร หรือกระบวน
การผลิตต่าง ๆ เหล่าน้ัน มีลักษณะของสัญญาณอินพุต และเอาท์พุตเป็นสัญญาณไบนาร่ี (Binary Signal)
เท่าน้ัน เพ่ือหลีกเล่ียงความสับสนระหว่างคําว่า PC : Personal Computer กับโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
(PC) ในปัจจุบันจึงถูกเรียกช่ือเป็นโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (PLC) ซึ่งได้มีการพัฒนาโปรแกรมเม
เบิลลอจิก คอนโทรลเลอร์ทําให้สามารถทําการวัดและควบคุมสัญญาณอินพุตและเอาท์พุตท่ีเป็นลักษณะ อะ
นาล็อก (Analog Signal) การควบคุมตําแหน่ง (Positioning Control) การควบคุมแบบ PID รวมถึง การ
ติดต่อส่ือสารข้อมูลกับอุปกรณ์ภายนอก ดังน้ัน จะเห็นว่าความหมายของช่ือเดิม คือโปรแกรมเมเบิล
คอนโทรลเลอร์ (PC) ไม่ ครอบคลุมความสามารถในการทํางานของอุปกรณ์ควบคุมท่ีพัฒนาขึ้นมา จึงได้มีการ
กําหนดช่ือ ของอุปกรณ์ควบคุมนี้ว่า โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ (Programmable Logic
Controller) เพ่อื ให้ความหมายกว้างข้นึ และครอบคลมุ ความสามารถในการทาํ งานมากข้ึน

การจาแนกขนาดของ PLC
เนือ่ งจากในปจั จบุ นั มีการนาํ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์มาใช้งานอย่างกว้างขวาง ซ่ึงในการ

นําเอาโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ไปใช้งานในแต่ละชนิดนั้น จะพิจารณาจาก ขนาดของงานที่จะ
นําไปควบคุมเป็นหลัก ดังน้ัน จึงเป็นผลให้ผู้ผลิตโปรแกรมเมเบิลลอจิก คอนโทรลเลอร์ทําการผลิตออกมา
หลากหลายระดับ ซึ่งในแต่ละระดับก็มีประสิทธิภาพแตกต่าง กันเพ่ือให้เหมาะสมกับการใช้งานในแต่ละ
ประเภท

13

โดยท่ัวไปการแบ่งขนาดของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์จะพิจารณาจากขนาด ของหน่วย
ความจําโปรแกรม (Program Memory) และจํานวนของอินพุตและเอาท์พุต (Input / Output Channels)
สงู สุดทีร่ ะบบโปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรน์ ั้นสามารถท่ีจะรองรบั ได้

ตารางท่ี 2.1 แสดงการจาํ แนก PLC ตามขนาดของหน่วยความจาํ โปรแกรมและจํานวนของอนิ พุตและเอาท์พุต

ขนาดของ PLC จํานวน Input / Output สูงสุด หนว่ ยความจาํ โปรแกรม
ขนาดเล็ก (Small Size) ไม่เกนิ 128 / 128 จดุ 4 kbyte (2,000 Statements)
ขนาดกลาง (Medium Size) ไม่เกิน 1024 / 1024 จุด 16 kbyte (8,000 Statements)
ขนาดใหญ่ (Large Size) ไมเ่ กนิ 2048 / 2048 จุด 64 kbyte (32,000 Statements)
ขนาดใหญ่มาก (Very Large ประมาณ 8192 | 8192 จดุ 256 kbyte (128,000
Size) Statements)

รูปที่ 2.1 โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรข์ นาดเล็ก
รูปท่ี 2.2 โปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอรข์ นาดกลาง
รูปท่ี 2.3 โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรข์ นาดใหญ่

14
อยา่ งไรกต็ าม ในการพิจารณาคุณสมบตั ิของโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์เพ่ือนาํ ไปใช้งาน
จะต้องพจิ ารณาองค์ประกอบหรือคุณสมบัตอิ ่นื ๆ ประกอบดว้ ย เช่น Processor, Cycle Time Language
Facilities, Function Operations, Expansion Capability, Communication Port เป็นต้น นอกจากนัน้
โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ยงั ถกู แบง่ ตามโครงสร้างออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ
1. แบบ Compact เป็นโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ทีม่ ีขนาดเล็ก กะทัดรดั มีหน่วยอินพตุ /
เอาท์พตุ และหน่วยสําหรบั ติดตอ่ สอ่ื สารขอ้ มูล ประกอบรวมกนั อยูภ่ ายในโครงสร้างเดยี วกัน ซง่ึ โครงสรา้ งของ
โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรท์ ่มี ลี กั ษณะน้ี ไดแ้ ก่ PLC Simatic S7 - 200 / Siemens LOGO ซง่ึ
เหมาะสําหรับงานท่มี ีการกําหนดจาํ นวนอินพตุ /เอาท์พตุ ท่ีแน่นอน และมจี ํานวนไม่มาก เชน่ ใชใ้ นการควบคมุ
เครือ่ งจักร เป็นต้น

รูปท่ี 2.4 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอรท์ มี่ โี ครงสร้างแบบ Compact
2. แบบ Modular เปน็ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอรท์ มี่ ลี ักษณะเป็น โมดูล เชื่อมต่อกันอยู่บน
Rack สามารถทาํ การถอดและเสียบโมดูลท่ีตอ้ งการใช้งานบน Rack ได้ ภายใต้ ข้อกําหนดของโปรแกรมเมเบิล
ลอจิกคอนโทรลเลอร์น้ัน ๆ โดยบน Rack จะมีบัสต่าง ๆ เช่น บัสข้อมูล บัสแอดเดรส บัสควบคุม และบัส
สําหรับจ่ายกําลังงานไฟฟ้าให้กับโมดูลต่าง ๆ ซึ่ง โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ในปัจจุบันนิยมที่จะมี
โครงสร้างในลักษณะนี้ เน่ืองจากมี ความยืดหยุ่นในเรื่องของจํานวนอินพุต เอาท์พุต และโมดูลฮาร์ดแวร์ท่ีใช้

15

ซ่ึงโครงสร้างของ โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ที่มีลักษณะน้ี ได้แก่ PLC Simatic S5 95U, S7 300,
S7 400 เปน็ ต้น

รูปที่ 2.5 โปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์แบบ Modular และการติดตัง้

โครงสรา้ งของ PLC
โครงสร้างโดยท่ัวไปของ PLC จะคล้ายกับคอมพวิ เตอร์หรือเปรยี บไดว้ ่า PLC เป็นคอมพิวเตอร์

เฉพาะงาน โดยมีโครงสร้างพ้ืนฐานดังน้ี
1. ภาคอินพุต (Input Device) ทําหน้าท่ีรับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุต ไม่ว่าจะเป็นสัญญาณ จาก

เซนเซอร์ (Sensors) เอ็นโค้ดเดอร์ (Encoders) ลิมิตสวิตช์ (Limit Switches) พร็อกซิมิต้ีสวิตช์ (Proximity
Switch) จากนั้นจะทาํ การส่งข้อมลู ต่อไปยงั ประมวลผล (PCU) เพ่ือนาํ ไปประมวลผล ตอ่ ไป

2. หน่วยประมวลผล (CPU) ทําหน้าที่คํานวณและควบคุม ซ่ึงเปรียบเสมือนสมองขอ PLC ภายใน
ประกอบด้วยวงจรลอจิก มีไมโครโปรเซสเซอร์เบส (Micro Processor Based) ใช้แทน อุปกรณ์จําพวกรีเลย์
เคาน์เตอร์ ไทม์เมอร์ และซีเควนเซอร์ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถออกแบบวงจร โดยใช้ Ladder Diagram ได้ CPU
จะยอมรับข้อมูลจากอุปกรณ์อินพุตต่างๆ จากน้ันจะทําการ ประมวลผลและเก็บข้อมูลโดยใช้โปรแกรมจาก
หนว่ ยความจาํ หลังจากน้นั จะสง่ ข้อมลู ท่เี หมาะสม และถกู ต้องออกไปยงั อุปกรณ์เอาท์พุต

3. หน่วยความจํา (Memory) ทําหน้าท่ีรักษาโปรแกรมและข้อมูลที่ใช้ในการทํางาน โดยขนาดของ
หน่วยความจาํ จะถูกแบง่ ออกเปน็ บิตขอ้ มูล (Data Bit) ภายในหนว่ ยความจํา 1 บิต จะมีค่าสภาวะทางลอจิก 0
หรือ 1 แตกต่างกันแล้วแต่คาํ สั่ง ซง่ึ PLC ประกอบดว้ ยหนว่ ยความจาํ 2 ชนดิ คอื RAM และ ROM

3.1 RAM ย่อมาจาก “Random Access Memory เป็น Memory Chips ท่ีจําเป็นของ
PLC ส่วนของ RAM นี้จะใช้สําหรับประมวลผลและเก็บไฟล์ข้อมูลช่ัวคราว RAM มีความแตกต่าง จาก ROM
ในเรือ่ งของการเก็บรักษาขอ้ มลู RAM จาํ เป็นจะตอ้ งมกี ระแสไฟมาเล้ียงเพ่ือท่ีจะรักษา ข้อมูลที่เก็บไว้ ถ้า RAM
ไมม่ ีกระแสไฟมาเลีย้ งขอ้ มูลต่างๆ ท่ีเก็บไว้ใน RAM กจ็ ะหายไป ท้ังหมด

3.2 ROM ย่อมาจาก “Read - Only Memory” หมายถึง หน่วยความจําท่ีใช้อ่านได้อย่าง
เดยี ว เป็น Memory Chip ท่ีทําหนา้ ทีเ่ ก็บแอปปลิเคชั่น (Application) และข้อมูลเป็นการถาวร เมื่อหยุดจ่าย

16
กระแสไฟฟ้าไปเล้ียงระบบ แอปปลิเคช่ันและข้อมูลที่อยู่ใน ROM ก็ยังคงอยู่ตลอด ซ่ึงแอปปลิเคชั่นและข้อมูล
จะถูกเขยี น (Burned) เขา้ ไปในชิป (Chip) โดยบริษทั ผผู้ ลิตผูใ้ ชจ้ ะไมส่ ามารถเปล่ยี นแปลงขอ้ มูลทีอ่ ยู่ในชปิ ได้

4. ภาคเอาท์พุต (Output Device) ทําหน้าท่ีรับข้อมูลจากตัวประมวลผลแล้วส่งต่อ ข้อมูลไปควบคุม
อปุ กรณภ์ ายนอก เช่น มอเตอร์ หลอดไฟ และโซลีนอยดว์ าลว์ เปน็ ตน้

5. แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) ทําหน้าที่จ่ายพลังงานและรักษาระดับแรงดันไฟฟ้า กระแสตรง
ให้กับ CPU หน่วยความจําและหน่วยอนิ พุต / เอาท์พตุ

รูปท่ี 2.6 ลกั ษณะโครงสรา้ งของ PLC
6. ส่วนเขียนโปรแกรม (Programming Device) ทําหน้าที่เขียนและป้อน โปรแกรม ควบคุมการ
ทํางานของ PLC อาจจะใช้ Handy Program, Computer หรอื ใช้ PLC อ่ืนมาควบคมุ กไ็ ด้
สรุปได้ว่า PLC มีส่วนประกอบต่างๆ เหมือนกับคอมพิวเตอร์ โดยแบ่งเป็น 6 ส่วน คือ ภาคอินพุต
เอาท์พุต หน่วยประมวลผล หน่วยความจํา แหล่งจ่ายไฟ และส่วนเขียนโปรแกรมซ่ึงอุปกรณ์อินพุตของ
คอมพิวเตอร์ คือ คยี บ์ อรด์ ส่วนอปุ กรณอ์ ินพุตของ PLC จะเปน็ สวติ ช์และเซนเซอร์แบบต่างๆ เป็นต้น อุปกรณ์
เอาท์พุตของคอมพิวเตอร์ คือ หน้าจอ ส่วนอุปกรณ์เอาท์พุต ของ PLC เป็นการควบคุมโหลดทางไฟฟ้า เช่น
มอเตอร์ โซลีนอยดว์ าลว์ หลอดไฟ เป็นต้น เพ่ือ ความเข้าใจมากย่ิงขึ้น ขอยกตัวอย่างส่วนประกอบและการใช้
งาน PLC ย่ีหอ้ MITSUBISHI

17
ฮาร์ดแวร์ PLC

โดยท่วั ไปถา้ พูดถึง PLC เราจะหมายถงึ CPU module ซึ่งเปน็ อุปกรณ์ทมี่ ี CPUเปน็ ส่วนประกอบ ซ่ึง
CPUจะใช้ในการประมวลผลโปรแกรมส่วนใหญ่แล้ว CPU module จะมี เฉพาะอุปกรณ์ I/O คือมีเทอร์มินอล
อินพุทสําหรับต่อกับสวิตช์หรือเซ็นเซอร์และมีเทอร์มินอลเอาท์พุทสําหรับต่อกับอุปกรณ์ไฟฟ้า การใช้งานPLC
เบ้อื งตน้ คอื การใช้ PLC ควบคุมอปุ กรณ์ไฟฟ้าเช่น หลอดไฟ,โซลินอยล์วาวล์, แมกเนติกคอนแทคเตอร์ เป็นต้น
ส่วนสวิตช์และเซ็นเซอร์ก็จะใช้สั่งงานโปรแกรม CPU module ยกตัวอย่างเช่น ใช้PLC ควบคุมเครื่องจักร
ขนาดเล็กควบคุมระบบไฟฟา้ นาํ้ ประปา เป็นตน้

รปู ท่ี 2.7 การใช้ PLC ควบคมุ อุปกรณ์ไฟฟ้า
การใช้งาน PLC ท่ีต้องมีอุปกรณ์อ่ืนๆเพิ่มเติม เช่นการใช้ PLC ส่ือสารกับอุปกรณ์ controller อ่ืนๆ
การใช้ PLC ควบคุมอุณหภูม,ิ การใช้ PLC จา่ ยสญั ญาณอนาลอ็ ก จะต้องใช้อุปกรณ์อ่ืนๆนํามาต่อกับ PLC เช่น
expansion board, Expansion adapter, Expansion module เปน็ ตน้

รูปท่ี 2.8 การใชง้ าน PLC ท่ีต้องมีอปุ กรณ์อืน่ ๆเพิ่มเติม

18

PLC MELSEC มหี ลายแบบ การแบ่งประเภทของ PLC MELSEC แบง่ ได้ 3 ลกั ษณะคือ
1. แบง่ ตามซรี ยี ์ (series) ซง่ึ แต่ละซีรียก์ จ็ ะมรี ุน่ ย่อยๆอีกที่ PLC MELSECเร่มิ ผลติ เมอ่ื ปี ค.ศ. 1973
คอื MELSEC-310 ต่อมาปคี .ศ.1980 ผลติ PLC MELSEC-K Series ปคี .ศ.1985 ผลติ PLC MELSEC-A Series
เปน็ ต้น และมีการผลิตขนึ้ อีกหลายซีรียเ์ นอ่ื งจากมกี ารพัฒนา เทคโนโลยที ่ีทนั สมัยข้ึน ในปัจจุบันมกี ารยกเลิก
การผลิตแลว้ หลายซีรีย์ โดยซีรีย์ในปัจจุบนั ที่ ยงั ผลติ อยู่มดี ังรูป 2.9

รูปที่ 2.9 การแบง่ ประเภทของ PLC MELSEC

2. แบง่ ตามโครงสร้างทางฮาร์ดแวร์ แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทคือ
2.1 Compact type คือ PLCที่รวมทุกฮาร์ดแวร์ทุกอย่างท่ีจําเป็น ให้อยู่ในโมดูล เดียวกัน

เชน่ CPU, input , Output ,power supply เป็นต้น โดยผลิตและประกอบเป็นโมดูล เดียวกัน เราจึงเรียกว่า
stand alone คอื สามารถทํางานไดใ้ นระดับหน่ึงโดยใช้แค่โมดูลเดียว จากรูป2.8 compact PLCคือ MELSEC
iQ-F series และ MELSEC-F series

2.2 Modular type คือ PLC แบบแยกส่วน ก็คือฮาร์ดแวร์แต่ละส่วนจะแยกออกจากกัน
โดยเรียกแต่ละส่วนว่าโมดูล (module) เช่น Power Supply module, input module Output module
การใช้งานจะต้องนาํ โมดลู มาประกอบกันเพอ่ื เป็นระบบเดียวกนั

2.3 Baseless type คือPLCแบบแยกส่วนเช่นเดียวกับ modular type แต่ Baseless type
จะไมม่ ี Base unit โมดูลแต่ละตัวจะประกอบกันได้เลย การตดิ ต้ัง PLC จะต้องใชร้ าง (DIN Track)

3. แบง่ ตามขนาดของระบบ PLC แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทคือ
3.1 PLC สําหรับระบบขนาดใหญ่และขนาดกลาง คือ MELSEC iQ-R series, MELSEC-Q

series
3.2 PLC สาํ หรับระบบขนาดกลางและเลก็ คือ MELSEC- L series หรือรุ่นเก่าคือ MELSEC-

AnS series (PLC รุ่นรองท่ีแยกออกจาก MELSEC-A Series) และ MELSEC-QnAS Series(PLC รุ่นรองของ
MELSEC-QnA series)

3.3 PLC สาํ หรบั ระบบขนาดเลก็ คอื MELSEC-F series, MELSEC iQ-F series

19

รูปที่ 2.10 แสดง PLC MELSEC ซรี ยี ต์ ่างๆ ทใ่ี ชใ้ นชว่ งเวลาตา่ งๆ
รูปที่ 2.11 แสดงระดับความสามารถของ PLC MELSEC

20
มิตซูบชิ ยิ ังผลติ PLC MELSEC ทีใ่ ช้เฉพาะทางอีก 2 ซีรยี ค์ ือ MELSEC-QS และ MELSEC-WS series
ท้ังสองซีรยี ์ใชส้ าํ หรบั ควบคุมความปลอดภยั

รูปท่ี 2.12 PLC MELSEC สําหรับควบคุมความปลอดภัย
ในงานทางด้านระบบควบคุมนอกจาก PLC แล้วยังมีอุปกรณ์ Controller หลายๆ แบบที่เป็น
อุปกรณ์ประเภท Programmable Controller เหมือนกับ PLC สิ่งทเี่ หมอื นกันคือมี CPU เป็นตัว ประมวลผล
และสามารถแก้ไขโปรแกรมการทํางานได้เช่นกัน แต่ท่ีต่างกันคือลักษณะการนําไปใช้งาน เช่น Robot CPU,
CNC CPU, C Controller, Motion controller (Motion CPU) เป็นต้น ซ่ึงอุปกรณ์เหล่านี้เป็นอุปกรณ์ที่ใช้
งานเฉพาะทางทน่ี อกเหนอื จาก PLC อกี ที่ดังนัน้ ส่วนสําคัญของ PLC หรืออุปกรณ์ Controller อ่ืนๆ ก็คือCPU
และเนื่องจาก PLC มี CPU เป็นส่วนประกอบหลกั ดังนน้ั ก็จะเรยี กช่อื เต็มๆ วา่ PLC CPU

รปู ท่ี 2.13 การต่อใชง้ านงานท่หี ลากหลาย
รปู ที่ 2.13 เปน็ การใช้ PLC สัง่ งานระบบเซอรโ์ ว ซงึ่ มอี ุปกรณ์ controller สามชนิดคอื PLC CPU
Motion CPU และ Servo Amplifier โดย Motion CPU คือ Module ท่ีใช้สั่งงาน Servo Amplify ,Servo
Amplify ใชส้ ั่งงาน Servo Motor ส่วน PLC CPUใช้ส่ังงาน Motion CPU, อุปกรณ์controller ทั้งสามก็จะมี
ซอฟต์แวร์เพ่ือใช้ส่ังงานโดยเฉพาะอีกที คือ PLC ใช้ GX Works2 , Motion CPU ใช้ MT Developer และ
servo amplify ใช้ MR configurator

21
PLC MELSEC-F series generation MELSECF series หรือบางคร้ังก็เรียกว่า MELSEC-F Family
คือการเรยี ก PLC ทัง้ หมดทีเ่ ป็น ซรี ีย์ F , MELSEC F series ทั้งรนุ่ เกา่ และรุน่ ปัจจบุ ัน มีทัง้ หมด 3 ยคุ

รปู ท่ี 2.14 แสดง PLC MELSEC F series และ MELSEC iQ-F series รนุ่ ต่างๆ
F,F1และ F2 คือ PLC ยุคท1ี่ ,FXO,FX1,FX2 คอื PLC ยุคท2ี่ และ FX3 คือ PLC ยคุ ที่3 (ยุคปัจจุบัน)
PLC ยุคที่ 2 และ 3 จะเรียกรวมกันว่า MELSEC FX series, MELSEC FX Family หรือ FACPU ความแตก
ตา่ งระหว่างซีรีย์ตา่ งๆ เช่นความเรว็ ในการประมวลผล จาํ นวนคําสง่ั ท่ีมมี าให้ใช้งาน จํานวนพ้ืนที่หน่วยความจํา
ที่มีให้ ลกั ษณะทางกายภาพ อุปกรณ์ต่อขยายต่างๆ ท่ีมีให้ เป็นต้น PLC ยุคท่ี1และ2 ยกเลิกการผลิตแล้ว เช่น
PLC ยุคที่ 2 รุ่นFX1N, FX1NC,FX1S ยกเลิกการผลิตทุกรุ่นในปี 2015 FX2N, FX2NC ยกเลิกการผลิตทุกรุ่น
ในปี2012 MELSEC iQ-F series คือ new generation ทเ่ี พ่ิมเทคโนโลยีให้ทันสมัยมากข้ึน เช่น ความเร็วการ
ประมวลผลที่มากขึ้น สามารถใช้SD memory Card สําหรับเก็บขอมูล : พอร์ตสื่อสารRS-485และEthernet
แบบbuilt-In เปน็ ตน้
MELSEC FX series เป็น PLC ขนาดเล็กเรียกว่า Micro PLC หรือ Compact PLC เป็น PLC ที่รวม
ทกุ ฮาร์ดแวร์ทุกอย่างท่จี าํ เปน็ ให้อยู่ในโมดลู เดียวกัน เราจึงเรียกว่า standalone (ยืนอยู่คนเดียว) คือสามารถ
ทํางานได้ในระดับหนึ่งโดยใช้แค่โมดูลเดียว MELSEC FX series ในยุคท่ีสามมี 6 ซีรีย์คือ FX3U,FX3UC,
FX3S,FX3G, FX3GC, FX3GE โดย FX3U, FX3G, FX3GE และ FX3S คือ PLC ที่มีขนาดทั่วไปข้อดีคือเดิน

22
สายไฟได้สะดวก ส่วน FX3UC, FX3GC เป็น PLC ท่ีออกแบบให้มีขนาดเล็กเพ่ือประหยัดพ้ืนท่ีติดตั้ง แต่จะไม่
สะดวกเร่อื งการ wiring สายไฟ

รูปท่ี 2.15 แสดง MELSEC FX series
PLC ร่นุ ท่ัวไปมีทง้ั แบบใช้ไฟ AC power และ DC power สว่ น PLC แบบประหยัดพน้ื ท่ีใชไ้ ด้ เฉพาะ
ไฟ DC power

รปู ที่ 2.16 แสดงPLC MELSEC - F Series รนุ่ ตา่ งๆท่ียกเลิกการผลติ
MELSEC iQ-F series มีสองซีรีย์หลกั ๆคือ FX5UและFX5UC โดย FX5U คือPLC ทม่ี ีขนาดท่ัวไป
ขอ้ ดีคือเดนิ สายไฟไดส้ ะดวก ส่วน FX5UC เป็น PLC ที่มคี วามสามารถเหมือนกบั FX5U แต่ FX5UC จะ
ออกแบบให้มขี นาดเล็กเพื่อประหยัดพ้ืนที่ตดิ ต้ัง แต่จะไม่ค่อยสะดวกเรื่องการ วายร่ิงสายไฟ FX5U ผลิต
ออกมา 9 รุ่นและ FX5UC ผลิต 6 รุ่น

23

รูปท่ี 2.17 แสดง PLC MELSEC iQ-F series

PLC FX5U จะใชไ้ ฟกระแสสลบั (AC) โดยใชแ้ รงดนั ได้ตง้ั แต่ 100 ถงึ 240VAC ส่วนFX5UC ใช้ไฟ
กระแสตรง (DC) ขนาดแรงดัน24VDC

ตาราง 2.2 แสดงข้อมูลจําเพาะของFX5U และ FX5UC

Series Type I/Os No.of input No.of output Power input Output type

FX5U-32Mx 32 16 16 100-240VAC Transistor
FX5U FX5U-64Mx 64 32 32 Relay
40
FX5U-80Mx 80 40

FX5UC-32MT/x 32 16 16

FX5UC FX5UC-64MT/x 64 32 32 24VDC Transistor

FX5UC-96MT/x 96 48 48

CPU module FX5U, FX5UC
FX5U - xxMx

Series name จํานวน I/O 32,64,80
R/ES : R=Relay output , E=AC power supply, S=24VDC input(sink/source)
T/ES : T=Transistor output (sink), E=AC power supply, S=24VDC input(sink/source)
T/ESS : T=Transistor output(source), E=AC power supply ,S=24VDC input(sink/source)

24

FX5UC-xxMx
Series name จํานวน I/O 32,64,96
T/D : T=Transistor output (sink), D=DC power supply, 24VDC input(sink)
T/DSS : T=Transistor output (source), D=DC power supply, S=24VDC input (sink, source)

power input/output module FX5

FX5 -xxEx
Series name จาํ นวน I/O 32
RIES : R=Relay output , E=AC power supply, S=24VDC input(sink/source)
TIES : T=Transistor output(sink), E=AC power supply ,S=24VDC input(sink/source)
T/ESS : T=Transistor output(source), E=AC power supply ,S=24VDC input(sink/source)

I/O expansion module FX5

FX5-xxEx
Series name จาํ นวน I/O 8,16
XIES : X= relay input ,S=24VDC input(sink, source) YR/ES : YR=Relay output
YT/ES: YT=Transistor output (sink) YT/ESS: YT=Transistor output (source)

25

แบบฝกึ หดั ประจาหนว่ ยท่ี 1
เร่อื ง โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์

คําสงั่ ให้ผู้เรียนตอบคาํ ถามให้สมบรู ณ(์ ข้อละ 2 คะแนน)
ให้ผู้เรยี นตอบคําถามและอธิบายในหวั ขอ้ ต่อไปนี้
1.จงบอก ข้อดี ของการนํา PLC มาใชใ้ นงานอตุ สาหกรรม แทนที่ ระบบควบคุมแบบเก่า ซ่ึงใชร้ เี ลย์
............................................................................................................................................................................ ..
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................... ...............
................................................................................................................... ...........................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................................. ............................
...................................................................................................... ........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. จงยกตัวอย่างงานทีใ่ ช้ PLC ในการควบคุมระบบ
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
..................................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
3. จงอธบิ ายถึงการแบ่งประเภทของ PLC ตามขนาดของหนว่ ยความจํา
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................ ......................................
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................

26

4. จงอธบิ ายถึงประเภทของ PLC ตามขนาดของโครงสร้าง
................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................................................................. ............................................
...................................................................................... ........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
5. ส่วนประกอบทีส่ าํ คัญของ PLC มกี สี่ ว่ นประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง
................................................................................................. .............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................ ..............................................
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
6. หนว่ ยประมวลผล ทําหน้าทีอ่ ะไร
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
7. หนว่ ยความจาํ ภายใน PLC แบ่งออกเปน็ กปี่ ระเภท ประกอบด้วยอะไรบา้ ง
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................ ..............................................
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

27

8. หนว่ ยความจาํ ประเภท Non - Volatile คืออะไร
.......................................................................................................................................... ....................................
.............................................................................................. ................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
9. จงอธบิ ายการทาํ งานของหนว่ ยอนิ พตุ และหนว่ ยเอาต์พุต
.................................................................................................. ............................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
10. จงบอกส่วนประกอบของ PLC ของ Mitsubishi FX5U
............................................................................................................................. .................................................
..................................................................................................................................... .........................................
......................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................

28

เฉลยแบบฝกึ หัด ประจาหน่วยท่ี 1
หน่วยที่ 1 เร่ือง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์
ให้ผเู้ รยี นตอบคาํ ถามและอธบิ ายในหวั ขอ้ ต่อไปนี้

1. การนํา PLC มาควบคุมในงานอตุ สาหกรรม มีข้อดีกว่า อยู่หลายประการ เช่น
1.1 ใช้การเขียนโปรแกรมข้อมูลสร้างกระบวนการทํางานแทนการใช้สายไฟฟ้าต่อวงจรทําให้ สามารถลด

จํานวนสายไฟลงได้
1.2 การขยายระบบ ให้ใหญส่ ามารถทาํ ได้ง่าย
1.3 การตดิ ตง้ั การซ่อมบํารงุ และการดแู ลรกั ษาทาํ ได้ง่าย
1.4 โปรแกรมการทํางานมีความยืดหยุ่นและแก้ไขได้ง่าย เหมาะสําหรับงานท่ีต้องการการ เปลี่ยนแปลง

แกไ้ ขโปรแกรมการทํางานอย่ตู ลอดเวลา
1.5 ราคาถกู เม่ือเปรยี บเทียบกบั การใช้รีเลย์ ใชพ้ ้ืนทใี่ นการติดตง้ั อุปกรณ์น้อยกว่าระบบ รเี ลย์
1.6 ตัวต้ังเวลา (Timer) และตัวนับ(Counter)เป็นซอฟแวร์ทําให้กําหนดค่าต่าง ๆ ได้ ง่าย สามารถ

เปล่ยี นแปลงค่าไดต้ ลอดเวลา
1.7 ความนา่ เช่อื ถอื ดีเพราะ ใช้อุปกรณส์ ารก่งึ ตัวนาํ จงึ ไมม่ ปี ญั หาเก่ยี วกับหนา้ สมั ผสั ของรีเลย์
1.8 มีฟังก์ชั่น(FUNCTION) ทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หารและอ่ืน ๆ 1.9 สามารถตรวจสอบ

สภาวะการทาํ งาน ขณะท่ี PLC กาํ ลังทํางานได้
1.10 ในปัจจุบัน PLC มหี นว่ ยอนิ พุต / เอาท์พุต หลายแบบสามารถเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมกับ สภาพงาน เช่น

Digital Input/Output , Analog Input/Output เป็นต้น
2. การควบคุมแบบลักษณะพเิ ศษ (Sophisticated Control) ตวั อย่างเชน่

2.1 การทาํ งานทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร
2.2 การควบคมุ แบบลเิ นียร์ เช่นการควบคุมอณุ หภมู ิ การควบคมุ ความดนั เป็นต้น
2.3 การควบคมุ PID (Proportional Integrate Derivation)
2.4 การควบคุมเซอรโ์ วมอเตอร์ สเต็ปปงิ้ มอเตอร์
3. แบง่ ประเภทของ PLC ตามขนาดของหน่วยความจํา ได้ดังนค้ี อื
3.1 โปรแกรมเมเบลิ คอนโทรลเลอร์ ขนาดเล็ก (Small or Micro Size) มีจํานวน อินพุต / เอาต์พุต ไม่เกิน
128 จุด หนว่ ยความจาํ ประมาณ 4 Kbyte (2,000 Statements)
3.2 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ขนาดกลาง (Medium size)มีจํานวนอินพุต/เอาต์พุต ไม่เกิน 1024
จุด หน่วยความจําประมาณ 16 Kbyte (8,000 Statements)
3.3 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ขนาดใหญ่ (Large Size) มีจํานวน อินพุต/เอาต์พุต ไม่เกิน 2048
Channels หนว่ ยความจําประมาณ 64 Kbyte (32,000 Statements)

29

3.4 โปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์ ขนาดใหญม่ าก (Very large size) มีจาํ นวนอนิ พต/ เอาต์พุต ประมาณ
8192 channels หน่วยความจําประมาณ 256 Kbyte (120 000 Statements) เป็น PLC แบบ Rack ท่ีต่อ
เพิ่ม อินพตุ /เอาตพ์ ตุ ตามจํานวนที่ต้องการขยายระบบ
4. แบ่งประเภทของ PLC ตามขนาดของหนว่ ยความจาํ ไดด้ ังนค้ี อื

4.1 แบบ COMPACT จะเป็น PLC ที่มีขนาดเล็ก กะทัดรัด มีหน่วยอินพุต/เอาต์พุต และ หน่วยสําหรับ
ตดิ ต่อสือ่ สารข้อมูล ประกอบรวมกันอยู่ภายในโครงสร้างเดียวกัน ซึ่งเหมาะสําหรับงานท่ี มีการกําหนดจํานวน
อนิ พตุ /เอาตพ์ ุต ท่ีแน่นอนและมจี าํ นวนไม่มาก

4.2 แบบ Modular หรอื แบบ Rack จะเป็น PLC ท่ีมีลักษณะเป็นโมดูล เชื่อมต่อกันอยู่ บน Rack สามารถ
จะทําการถอดและเสียบโมดูลท่ีต้องการใช้งาน Rack ได้ ภายใต้ข้อกําหนดของPLC น้ันๆ โดยบน Rack จะมี
บัสต่างๆ เช่น บัสข้อมูล บัสแอดเดรส บัสควบคุม และ บัสสําหรับจ่ายกําลัง งานไฟฟ้าให้กับโมดูลต่างๆ ซ่ึง
PLC ในปัจจุบันนิยมท่ีจะมีโครงสร้างในลักษณะน้ี เนื่องจากมีความ ยืดหยุ่นในเร่ืองของจํานวน อินพุต/
เอาต์พุต และโมดลู ฮาร์ดแวร์ท่ใี ช้
5. มสี ่วนประกอบหลกั ที่สําคัญ 3 สว่ น ดว้ ยกัน

5.1 หนว่ ยประมวลผล (Central processing unit)
5.2 หนว่ ยความจาํ (Memory Unit)
5.3 หน่วยอนิ พุต/เอาตพ์ ุต (Input/Output unit)
6. ทําหน้าท่ีเป็นตัวควบคุมและจัดการระบบการทํางาน ท้ังหมด ภายในระบบ PLC โดย ทําหน้าท่ีรับสถานะ
และปริมาณ ต่างๆ จากหน่วยอินพุต เพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการประมวลผล หน่วย ประมวลผล จะทําหน้าที่
ประมวลผลตามโปรแกรมท่ีผู้ใช้ป้อนเข้าไป หรือโปรแกรมที่ถูกเก็บไว้ใน หน่วยความจํา และทําการส่งผลที่ได้
จากการประมวลผล ส่งไปยงั หน่วย เอาต์พุตเพอื่ ใช้ในการควบคมุ อปุ กรณ์ภายนอก
7. มี 2 ประเภท คอื Volatile Memory และ Non - Volatile
8. EPROM และ EEPROM
9. หนว่ ยอนิ พุต ทาํ หน้าท่ี รับสัญญาณอินพุตจากอุปกรณ์ทางด้านอินพุตภายนอก ที่เป็นสวิตช์หรือตัวตรวจจับ
ต่าง ๆ (Sensor) ทงั้ ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลบั แล้วแปลงให้เป็นสัญญาณ ที่เหมาะสมถูกต้อง เพื่อ
ส่งให้ หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยเอาต์พุต ทําหน้าท่ี รับค่าสภาวะท่ีผ่านการประมวลผล จากหน่วย
ประมวลผลกลาง (CPU) เพื่อนําค่าเหล่าน้ไี ปควบคุมอุปกรณท์ าํ งาน
10. ส่วนประกอบของ PLC ของ Mitsubishi FX5U ประกอบดว้ ยดังนี้
จุดต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าเข้า 220 VAC จุดต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้า 24 VDC หน่วยประมวลผลกล จุดต่ออุปกรณ์
อินพุตแบบดิจิตอลและแบบอนาลอก จุดต่ออุปกรณ์เอาต์พุตแบบดิจิตอลและ อนาลอก จุดต่ออุปกรณ์ต่อร่วม
สวติ ชเ์ ลอื กโหมดการทาํ งาน และหลอดไฟฟ้า LED แสดง การทาํ งานของ PLC

ใบปฏิบตั ิงานที่ 1 30

วชิ า ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรม หนว่ ยที่ 1
ชอื่ หน่วย โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ สอนคร้งั ที่ 1

ชอ่ื งาน วงจรควบคมุ มอเตอรเ์ บอื้ งต้น จานวน 3 ชัว่ โมง

จดุ ประสงค์การเรียนการสอน รายการสอน

จุดประสงคท์ ่ัวไป 1. อุปกรณ์ท่ีใช้ในงานควบคุม
เพ่อื ใหน้ ักศึกษามคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 2. วงจรเดนิ สาย
3. การเดินสายไฟ
ในเรื่อง วงจรควบคุมมอเตอรเ์ บอื้ งตน้ และการ 4. สรปุ และวิจารณผ์ ลการทดลอง
นําเอาไปใชง้ าน
จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม

1. เลอื กชนิดของอปุ กรณ์ท่ีใช้งานควบคมุ ได้

2. ติดตง้ั อปุ กรณบ์ นแผงเดนิ สายตามแบบที่

กาํ หนดได้

3. เดนิ สายไฟวงจรควบคมุ มอเตอร์ได้

4. ทดลองการทํางานได้

5. สรปุ และวจิ ารณผ์ ลการทดลองได้
6. นักเรียนมีเจตคตทิ ดี่ ีต่อวชิ าระบบควบคุม

ในงานอตุ สาหกรรม

31

1. การเร่มิ ต้นใช้งาน PLC
ส่วนประกอบของ PLC Mitsubishi Fx5U

1. ตวั ยึดชนิดลอ็ กกับรางปีกนก 2. ตัวยดึ ชนิดใช้สกรู
3. ฝาปดิ จดุ ตอ่ อนิ พตุ และเอาทพ์ ตุ 4. จุดเช่อื มต่อกบั คอมพวิ เตอร์
5. ฝาปดิ สวิตช์ควบคมุ 6. หลอดบอกสถานะการใชก้ าร์ด SD
7. ฝาปดิ จุดตอ่ และตําแหล่งของแบตเตอร่ี 8. หลอดบอกสถานะของอินพุต
9. ฝาปดิ จุดต่อ 10. หลอดบอกสถานะการทํางานของ PLC
11. หลอดแสดงสถานะของเอาท์พตุ

รูปสวิตชค์ วบคมุ

32

การเริ่มต้นใช้โปรแกรม GX Works3
1. เปิดโปรแกรม GX Works3

2. โปรแกรม GX Works3

3. เริ่มสร้างโปรแกรม กด OK จนกวา่ จะเขา้ สหู่ นา้ สร้างโปรแกรม

33

4. การสร้างโปรแกรม
4.1 กดสวิตชเ์ ร่ิมทํางาน S2 จะทําให้คอนแทคเตอร์ K1M ทาํ งาน
4.2 ปลอ่ ยมือจากสวติ ช์ S2 จะทําให้คอนแทคเตอร์ K1M หยุดทาํ งาน
กาํ หนดให้

อปุ กรณ์อินพุต สญั ลกั ษณ์ ตาํ แหน่งอินพตุ
สวิตช์เริม่ ทํางาน S2 X2

อปุ กรณ์เอาท์พตุ สญั ลักษณ์ ตาํ แหน่งเอาท์พุต
คอนแทคเตอร์ K1M Y1

ภาษา Ladder diagram

1 23

34
1 23

35
5. การกาํ หนดคา่ การติดต่อกับ PLC

36

6. เลือกรูปแบบการตดิ ต่อกับ PLC 1
2

34

5 7
6

7. การตรวจสอบความผิดพลาดของโปรแกรม

37

8. สงั เกตดู Output ว่ามีความผิดพลาดหรือไม่ ถา้ หาก Error : 0 แสดงวา่ ไม่มีการผดิ พลาดใดๆ

9. ทาํ การเขยี นโปรแกรมลงในเคร่อื ง PLC

38
1

2

1
2

39
10. ทาํ การเสยี บสายที่ขว้ั 0V เข้ากับขั้ว COM ทําการโยกสวิตชข์ อง PLC มาทตี่ าํ แหน่ง Reset สงั เกตหลอด
สถานะ ERR กระพรบิ ทาํ การโยกสวติ ช์กลับไปที่ตาํ แหนง่ Stop และโยกต่อไปที่ตําแหน่ง Run แลว้ ทําการโยก
สวิตช์ X2 สงั เกตดูหลอดสถานะอินพตุ และหลอดสถานะเอาท์พตุ

11. ทาํ การต่อสวิตชภ์ ายนอกและคอนแทคเตอร์

40

วงจรการทดลอง

เงอ่ื นไขในการเรมิ่ เดินมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสสลบั ดว้ ยแมกเนติกคอนแทคเตอร์และควบคมุ ด้วยสวทิ ช์

ปุ่มกด

1. กดสวิตชเ์ ริ่มเดิน S5 คอนแทคเตอร์ K6M ทํางาน มอเตอรเ์ ริ่มเดิน

2. ปล่อยสวติ ช์ S5 คอนแทคเตอร์ K6M ยังคงทํางานตลอดเวลามอเตอรห์ มุน

3. กดสวิตชห์ ยดุ การทํางาน S12 คอนแทคเตอร์ K6M หยุดทํางานมอเตอร์หยุดหมุน

กําหนดให้

อุปกรณ์อินพุต สญั ลกั ษณ์ ตาํ แหนง่ อินพตุ

อปุ กรณ์เอาท์พตุ สัญลกั ษณ์ ตําแหน่งเอาท์พุต

เขียนภาษา Ladder diagram

การตอ่ วงจร com X0 X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7
S5 com X10 X11 X12 X13 X14 X15 X16 X17
S12 X0 X1 X2 X3 X4 X5 X6 X7 X10 X11X12 X13X14 X15 X16 X17

K6M V1+
Power

V2+
AD

V-
V+
24V 0V
V- DA
DC OUT
com Y0 Y1 Y2 Y3 Y4 Y5 Y6 Y7
com Y10 Y11 Y12 Y13 Y14 Y15 Y16 Y17

Design by Chiangmai Technical College

41

สรุปผลการทดลอง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

42

แบบทดสอบหลังเรียน ประจาหนว่ ยที่ 1
เรื่อง โปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์

คําชี้แจง ใหก้ ากบาท (X) ทบั ตวั อักษรคําตอบท่ีถกู ตอ้ งเพียงคําตอบเดียว
1 คาํ นิยามของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ตามมาตรฐาน IEC 1131 คือ

ก. ระบบปฏบิ ตั กิ ารทางดจิ ิตอลควบคมุ การทาํ งานด้วยคอมพวิ เตอร์
ข. ระบบปฏบิ ัติการทางดจิ ิตอลทํางานแบบดิจิตอลอย่างเดียวเท่าน้นั
ค. ระบบปฏบิ ัติการทางดิจิตอลสามารถโปรแกรมการทาํ งานได้
ง. ระบบปฏบิ ัติการทางไฟฟา้ แบบอัตโนมตั ิ
2. ขอ้ ใดคือขอ้ เสยี ของการใชโ้ ปรแกรมเมเบลิ ลอจกิ คอนโทรลเลอร์
ก. ตวั การทาํ งานไมแ่ มน่ ยําและนา่ เช่อื ถอื
ข. ไมส่ ามารถขยายเพ่ิมเตมิ ระบบ และโปรแกรมเงื่อนไขการทํางานได้
ค. การซ่อมบาํ รุงและดแู ลรักษายาก
ง. ราคาถกู กวา่ ควบคุมด้วยแม็คเนติกคอนแท็คเตอร์เพ่ือควบคมุ มอเตอร์ 1
3. ระบบควบคมุ ในงานอตุ สาหกรรมอตั โนมตั ิสมัยใหม่นยิ มใชว้ ิธกี ารควบคมุ แบบใด
ก. ใช้การควบคุมดว้ ยโปรแกรมเมเบิลลอจกิ คอนโทรลเลอร์
ข. ใช้การควบคมุ ด้วยระบบวงจรรีเลย์
ค. ใช้แรงงานมนุษยค์ วบคมุ ท้ังหมด
ง. ใช้การควบคุมดว้ ยระบบแมคคานคิ
4. ควรเลือกใช้โปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์แบบใด เพื่อควบคุมงานที่มีการเพ่ิมเติมจํานวนอินพุต
เอาตพ์ ตุ มากๆ
ก. แบบ Network
ข. แบบ Compact
ค. แบบ Modular
ง. แบบ Block
5. ข้อใดกล่าวถึงโปรแกรมเมเบลิ ลอจิกคอนโทรลเลอร์ ขนาดเล็กไม่ถกู ต้อง
ก. สามารถต่อขยายอินพุต เอาต์พตุ ได้สงู สดุ 1,024 จุด
ข. สามารถโปรแกรมได้ 2,000 Statement
ค. มหี นว่ ยความจาํ 4 Kbyte
ง. มจี ํานวนอนิ พุต เอาตพ์ ุต ไม่เกิน 128 จดุ

43

6. ส่วนใดของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์ ทําหน้าท่ีรับสัญญาณจากอินพุตแล้วประมวลผลตามท่ี
โปรแกรมไว้

ก. หนว่ ยอนิ พตุ
ข. หนว่ ยประมวลผล
ค. หน่วยตดิ ตอ่ สอื่ สาร
ง. หนว่ ยโปรแกรม
7 ข้อใดไมใ่ ช้โครงสรา้ งพน้ื ฐานของโปรแกรมเมเบิลลอจิกคอนโทรลเลอร์
ก. หน่วยความจํา
ข. หนว่ ยประมวลผล
ค. หน่วยอนิ พุต
ง. หน่วยติดตอ่ สื่อสาร
8. หนว่ ยอนิ พุตแบบอนาลอ็ ค สามารถรบั สัญญาณมาตรฐานอะไรบ้าง
ก. สญั ญาณกระแส 0 - 10 mA และ 4 – 10 mA
ข. สญั ญาณกระแส 0 - 20 mA และ 4 – 20 mA
ค. สญั ญาณแรงดนั 0 - 20 VDC
ง. สัญญาณแรงดนั 4 - 20 VDC
9. จากขอ้ ความระบุ FX5U-32M ของ Mitsubishi FX5U เป็นเอาตพ์ ตุ ชนดิ ใด
ก. เอาต์พตุ ชนดิ DC
ข. เอาต์พุตชนิดไตรแอค
ค. เอาตพ์ ุตชนดิ ทรานซิสเตอร์
ง. เอาตพ์ ุตชนิดรีเลย์
10. เอาต์พตุ ชนิดทรานซสิ เตอร์ เหมาะสําหรับการควบคมุ อุปกรณ์เอาต์พตุ แบบใด
ก. ควบคุมรีเลย์ไฟฟ้า
ข. ควบคมุ เอาตพ์ ตุ แบบอนาล็อค 0 - 20 VDC
ค. ควบคมุ เอาต์พตุ ที่มกี ารเปดิ ปิดบอ่ ยๆดว้ ยความเรว็ สูง
ง. ควบคมุ อนิ เวอรเ์ ตอร์

44

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ประจาหนว่ ยที่ 1

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10 