กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ สรุป

กฎหมายสิ่งแวดล้อม
ระหว่างประเทศ

แนวคดิ ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

ใชแ้ นวคิดหลาย ๆ แนวคิดเพอ่ื สรุปเป็นหลกั การเบ้ืองตน้ ใหถ้ ือปฎิบตั ิ ไดแ้ ก่
แนวคิดการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื (Sustainable development) หมายถึง

การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพตอ้ งสร้างสัมพนั ธ์ระหว่าง
สงั คม นโยบายเศรษฐกิจและคุม้ ครองส่ิงแวดลอ้ มโดยการฟ้ื นฟู บารุงรักษา
ใหด้ ีท่ีสุด

แนวคิดความรับผดิ ชอบร่วมกนั (Joint responsibility) หมายถึง ทุก
ชาติ ทุกประเทศในโลกตอ้ งมีความรับผิดชอบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดลอ้ ม

แนวคดิ ของกฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ(ต่อ)

แนวคิดการมีส่วนร่วม(Participation) ทุกประเทศทั่วโลกต้องมี
พันธกรณีตามกฎบัตรสหประชาชาติในการให้ความร่ วมมือในการ
แลกเปล่ียนสารสนเทศ การปรึกษาหารือเพื่อแกไ้ ขปัญหาระหว่างประเทศ
ท้งั ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม มนุษยธรรม รวมท้งั ส่ิงแวดลอ้ ม

ซ่ึงปัจจุบนั ถือเป็นกฎหมายจารีตประเพณีระหวา่ งประเทศ

รูปแบบของกฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ

กฎหมายสิ่งแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ หมายถึง กฎหมายที่ใช้
ควบคุมพฤติกรรมของรัฐซ่ึงเกิดจากฉนั ทามติ (Consensus) ระหวา่ งรัฐต่างๆ
เพอื่ จุดประสงคใ์ นการอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ มและ ทรัพยากรธรรมชาติ รวมท้งั
การใชท้ รัพยากรแบบยงั่ ยนื เนื่องจาก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
เป็น “สมบตั ิของมนุษยชาติ” ไม่ใช่ของประเทศใดประเทศหน่ึง รูปแบบของ
กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศ ส่วนใหญ่จะอยใู่ นรูปของ
- อนุสัญญา (Convention) - พธิ ีสาร (Protocol)
- แนวปฏิบตั ิที่มีลกั ษณะเป็น soft law เช่น ปฏิญญา (Declaration)

แถลงการณ์ร่วม (Joint Declaration)

พธิ ีสารเกยี วโต(Kyoto Protocol)

เป็ นสนธิสัญญาเกี่ยวกบั ภูมิอากาศของโลก คือ บนั ทึกขอ้ ตกลง
ระหวา่ งประเทศฉบบั เดียวของโลกท่ีมีเป้าหมายผกู พนั เร่ืองการลดการปล่อย
ก๊าซเรือนกระจก เป็ นเคร่ืองมือหลกั ท่ีรัฐบาลทวั่ โลกตอ้ งใชเ้ พ่ือจดั การกบั
ภาวะโลกร้อน พิธีสารฉบบั น้ีบงั คบั ใหป้ ระเทศท่ีพฒั นาแลว้ ทวั่ โลกลดการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกลงพอประมาณ คือ 5% แต่ละประเทศตอ้ งมีพนั ธะ
ต่อเป้าหมายของแต่ละประเทศ คือ สหภาพยโุ รป (15 ประเทศ) ที่ 8% ญ่ีป่ ุน
ท่ี 6% เป้าหมายของแต่ละประเทศกาหนดข้ึนจากปริมาณการปล่อยก๊าซ
เรือนกระจกในอดีต สหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียไม่ขอเขา้ ร่วมสัตยาบนั
คร้ังน้ีดว้ ยเหตุผลทางเศรษฐกิจ

พธิ ีสารมอนทรีออล

ไดม้ ีการแกไ้ ขปรับปรุงพธิ ีสาร 5 คร้ัง คร้ังแรก ณ กรุงลอนดอน
สหราชอาณาจกั ร คร้ังท่ีสอง ณ กรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ก คร้ังที่
สาม ณ กรุงเวยี นนา สาธารณรัฐออสเตรีย คร้ังท่ีส่ี ณ เมืองมอนทรีออล
ประเทศแคนาดา และคร้ังที่หา้ ณ กรุงปักก่ิง สาธารณรัฐประชาชนจีน

พิธีสารมอนทรีออล คือ สนธิสญั ญาสากลท่ีถูกกาหนดข้ึนเพื่อควบคุม ยบั ย้งั
และรณรงคใ์ หล้ ดการผลิตและการใชส้ ารทาลายช้นั บรรยากาศโอโซน เพ่ือ
รักษาช้นั บรรยากาศโอโซนที่เร่ิมจะสูญสลายไป สนธิสญั ญาน้ีมุ่งไปที่การ
จากดั การใชก้ ลุ่มสารประกอบประเภทไฮโดรคาร์บอน-ฮาโลเจนซ่ึงพบวา่ มี
ส่วนสาคญั ในการทาลายช้นั บรรยากาศโอโซน

อนุสัญญาไซเตส

เป็ นท่ีรู้จกั ในชื่อ อนุสัญญากรุงวอชิงตนั (Washington Convention)
อนุสัญญาไซเตส คือ การอนุรักษท์ รัพยากรสัตวป์ ่ าและพืชที่ใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์
หรือถูกคุกคาม ทาให้ปริมาณน้อยลงเป็ นเหตุให้สูญพนั ธุ์ วิธีการอนุรักษ์
กระทาโดยการสร้างเครื อข่ายท่ัวโลกในการควบคุมการค้าระหว่าง
ประเทศ (International Trade) ท้งั สัตวป์ ่ า พืชป่ า และผลิตภณั ฑ์ ไมค่ วบคุม
การคา้ ภายในประเทศสาหรับชนิดพนั ธุ์ทอ้ งถ่ิน (Native Species) เป้าหมาย
ของอนุสญั ญาไซเตส คือ การอนุรักษท์ รัพยากรสตั วป์ ่ าและพืชป่ าชนิดพนั ธุ์
ที่ใกลจ้ ะสูญพนั ธุ์หรือถูกคุกคามอนั เนื่องมาจากการคา้ ระหวา่ งประเทศ

คณะกรรมการ CITES ประจาประเทศไทย

สังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มอบหมายให้ส่วนราชการที่มี

หนา้ ที่โดยตรง ในการดูแลชนิดพนั ธุ์ที่ CITES ควบคุม คือ
สตั วป์ ่ า พชื ป่ า ของป่ า อยใู่ นความรับผดิ ชอบของ กรมป่ าไม้
พชื อยใู่ นความรับผดิ ชอบของ กรมวิชาการเกษตร
สตั วน์ ้า อยใู่ นความรับผดิ ชอบของ กรมประมง

ปี 2534 ประเทศไทยถูกพิจารณาลงโทษจากกลุ่มประเทศภาคีอนุสัญญา
CITES โดยการTrade ban เนื่องจากนาเขา้ สัตวป์ ่ าที่มีถิ่นกาเนิดอยใู่ นต่าง
ประเทศมาในประเทศไทยเพื่อการคา้ สวนสัตวห์ รือเพาะพนั ธุ์ ซ่ึงผลเสีย
หายในคร้ังน้นั ประมาณวา่ เป็นวงเงินสูงถึงหลายพนั ลา้ นบาท

อนุสัญญาแรมซาร์

คือ อนุสัญญาว่าดว้ ยพ้ืนท่ีชุ่มน้า ท่ีเมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน
เป็ นข้อตกลงระหว่างรัฐบาลซ่ึงกาหนดกรอบการทางานสาหรับความ
ร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อร่วมมืออนุรักษ์ ยบั ย้งั การสูญหายของพ้ืนที่ชุ่ม
น้าในโลก รวมท้ังเพ่ือให้มีการจัดทาแผนการบริหารจัดการเพ่ือการใช้
ประโยชน์พ้ืนที่ชุ่มน้าอยา่ งชาญฉลาด ประเทศไทยไดเ้ สนอพรุควนข้ีเสียน
ในเขตหา้ มล่าสตั วป์ ่ าทะเลนอ้ ย จ.พทั ลุง มีพ้ืนที่ 3,085 ไร่ เป็นพ้ืนท่ีชุ่มน้าท่ี
มีความสาคญั ระหว่างประเทศแห่งแรกของประเทศไทย และเป็ นลาดบั ท่ี
948 ในทะเบียนพ้ืนที่ชุ่มน้าท่ีมีความสาคญั ระหว่างประเทศของอนุสัญญา
แรมซาร์

อนุสัญญาแรมซาร์

อนุสญั ญาแรมซาร์ ไดแ้ บ่งประเภทของพ้นื ที่ชุ่มน้าเป็น 5 ประเภท คือ
1) พ้นื ที่ทางทะเล (Marine) ไดแ้ ก่ พ้ืนที่ชุ่มน้าชายฝ่ังทะเล รวมถึงทะเลสาบ
น้าเคม็ หาดหินและแนวปะการัง
2) พ้นื ท่ีปากแม่น้า (Estuarine) ไดแ้ ก่ ดินดอนสามเหล่ียมปากแม่น้า ที่ราบ
ลุ่มน้าข้ึนถึง และพ้นื ที่ป่ าชายเลน
3) พ้ืนท่ีทะเลสาบ (Lacustrine)ไดแ้ ก่ พ้นื ท่ีชุ่มน้าบริเวณทะเลสาบ
4) พ้ืนท่ีแหล่งน้าไหล (Riverine)ไดแ้ ก่ พ้นื ท่ีชุ่มน้าบริเวณแม่น้า ลาธาร หว้ ย
5) พ้ืนที่หนองน้า หรือท่ีลุ่มช้ืนแฉะ (Palustrine) ไดแ้ ก่ ที่ลุ่มช้ืนแฉะ ที่ลุ่มน้า
ขงั และหนองน้าซบั

ทะเบยี นรายช่ือพืน้ ทชี่ ุ่มนา้

จบแลว้ คะ่