คู่มือประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2564 ปฐมวัย

คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 ก

คมู่ อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 ก

คำนำ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน และระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ฉบับลงวนั ท่ี
6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ได้กาหนดให้สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานจัดให้มีระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ โดยประกาศกาหนดมาตรฐานการศึกษา
และประเด็นพิจารณารายมาตรฐานทั้งระดับปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จานวน 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและ
การจัดการ และมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสาหรับสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดในการพัฒนา
ส่งเสรมิ สนับสนุน กากบั ดแู ล และติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ทั้งน้ี ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเป็นภาระงานปกติท่ีสถานศึกษา
ต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยสถานศึกษาจะต้องมีการประเมินคุณภาพ
ตามมาตรฐานและการจัดทารายงานคุณภาพประจาปี (SAR) สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 จึงจัดทาโครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
เพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเพ่ิมขึ้นในสถานศึกษา และได้จัดทาคู่มือการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 เพ่ือใช้เป็นแนวทางการดาเนินงาน
ของสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะศึกษานิเทศก์และผู้ทรงคุณวุฒิท่ีสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 แต่งต้ังเพ่ือทาหน้าที่นิเทศ ช่วยเหลือ
แนะนาการพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาในสังกัด

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ขอขอบพระคุณ
คณ ะท างานและผู้ มี ส่ วนเก่ี ยวข้ องในการด าเนิ นโครงการรวมทั้ งการจั ดท าเอกสาร
ครั้งนี้จนสาเร็จลุล่วง และหวังว่าจะเป็นประโยชน์สาหรับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึ กษาที่ ส่ งผลต่ อการพั ฒนาการจั ดการศึ กษาให้ บรรลุ เป้ าหมายสู งสุ ด
โดยลาดบั ต่อไป

(นายชาญกฤต นา้ ใจดี)
ผู้อานวยการสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน่ เขต 4

ค่มู ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 ข

สำรบญั

คำนำ ก

สำรบญั ข

บทที่ 1 บทนำ 1

 แนวคดิ ความสาคัญการประกันคณุ ภาพภายใน 1

 การดาเนนิ การตามระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา 3

 หลกั การของการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา 7

บทที่ 2 มำตรฐำนกำรประกันคุณภำพภำยใน 13

 มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในระดับการศึกษาปฐมวัย 14

 มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน 28

บทที่ 3 แนวปฏิบัตกิ ำรดำเนินงำนระดบั สำนักงำนเขตพน้ื ที่กำรศึกษำ

ประถมศกึ ษำขอนแก่น เขต 4 46

 บทบาทหน้าที่ 46

 ระบบการประกันคุณภาพภายใน 47

บทที่ 4 แนวปฏบิ ตั ิกำรดำเนนิ งำนระดบั สถำนศกึ ษำ 61

 แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา

ภายในสถานศกึ ษา 62

บทที่ 5 สรปุ บทเรียนและเครือ่ งมือนเิ ทศ 88

 ถอดบทเรยี นประกันคุณภาพภายในสู่การประกันคณุ ภาพภายนอก 88

 เคร่อื งมือนิเทศการดาเนินงานระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 99

และการประกนั แนวใหม่ของสถานศึกษา

 ตวั อย่าง การกาหนดตัวชีว้ ัด คาอธิบายคณุ ภาพ ค่าเป้าหมาย 105

มาตรฐานการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

ระดับการศึกษาปฐมวัย

ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 ค

 ตัวอยา่ งการกาหนดตวั ช้วี ดั คาอธิบายคุณภาพ ค่าเป้าหมาย 121

มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 144
145
ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 146

ภำคผนวก เอกสำรดำวน์โหลดงำนประกนั คุณภำพกำรศกึ ษำ
 ข้อมลู และช่องทางการตดิ ต่อสอบถาม
 คณะทางาน

คู่มือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 1

บทที่ 1

บทนำ

แนวคดิ ควำมสำคญั กำรประกันคุณภำพภำยใน

ความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการเปลี่ยนแปลงที่เกดิ ข้นึ อยา่ ง
รวดเร็วทาให้สังคมโลกเปล่ียนแปลงไปสู่สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge based
society and economy) ทุนความรู้ (Knowledge capital) เป็นปัจจัยสาคัญในการผลิต
(Production factor) และขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจที่จะก่อให้เกิดผลผลิตทรัพย์สิน
ทางปัญญาและความสามารถในการแข่งขันกับนานาชาติ (Drucker, 1998) จึงจาเป็นท่ีแต่
ละประเทศต้องเรียนรู้ท่ีจะปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงและเตรียมพร้อมท่ีจะเผชิญ
กับความท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัยสาคัญท่ีจะเผชิญการเปลี่ยนแปลงและความ
ท้าทายดงั กลา่ ว คอื คุณภาพของคน การศึกษาจึงเป็นปัจจัยของการพัฒนาคนให้มีคณุ ภาพ
การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นเร่ืองที่มีความจาเป็นอย่างย่ิง ส่ิงท่ีสาคัญ
สถาบันการศึกษาต้องสร้างความเชื่อมนั่ ตอ่ สังคมว่าจะจัดการศึกษาท่ีมคี ุณภาพการประกัน
คุณภาพการศึกษาเป็นกลไกและเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เพราะเป็นระบบท่ีสามารถสร้างหลกั ประกันวา่ การจัดการศกึ ษามีคณุ ภาพและได้มาตรฐาน
สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและสังคม และถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การดาเนินงานประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามนโยบายเป้าหมาย และระดับคุณภาพมาตรฐานท่ี
กาหนดโดยสถานศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัด ซึ่งการประกันคุณภาพการศึกษาจะมี
ประสิทธิผลเม่ือได้มีการประเมินผลการดาเนนิ งาน และนาเอาผลการตรวจประเมินคุณภาพ
มาพัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามวงจรคุณภาพ (Plan, Do, Check, Act)
รวมท้ังการทบทวนและการติดตามกระบวนการดาเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
อย่างใกล้ชิด (สานกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา, 2557)

ค่มู อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 2

การประกันคุณภาพภายในจะทาให้สถานศึกษามีการทางานที่มีเป้าหมาย
และมีแผนการดาเนินงานที่ชัดเจน โดยมีการประเมินคุณภาพภายในหรือ
การประเมินตนเองเพ่ือตรวจสอบและพัฒนาปรับปรุงให้เป็นไปตามเป้าหมายอยู่
ตลอดเวลา การพัฒนาคุณภาพของเด็กและเยาวชน จะมีความก้าวหน้า
และมีประสิทธิภาพอย่างย่ังยืนก็ต่อเมื่อบุคลากรในสถานศึกษาพยายามมองตน
มองงานอยู่เป็นนิจ หากแต่ต้องมีระบบข้ันตอน ถ้าสถานศึกษาไม่มีการมองตนเอง
และพัฒนาตนเองแล้วก็เป็นไปได้ยากที่การศึกษาและเยาวชนจะรับการพัฒนาให้มี
คุณภาพ จึงมีความจาเป็นที่ผู้บริหารและครูจะต้องร่วมประเมินตนเองและ
ดาเนินการประกันคุณภาพภายในโดยมีเปา้ หมายและแผนการดาเนนิ งานท่ีผบู้ รหิ าร
และครูต้องร่วมกันคิดและร่วมกันทา (รัฐพล ชุมวรฐายี, 2545) หลักการของ
การประกันคุณภาพ คือ การทางานอย่างประกันว่าจะมีคุณภาพ การบริหารอย่าง
ประกันว่าจะมีคุณภาพ ดังนนั้ งานที่ทุกคนทา ทาทุกวัน ต้องทาอย่างประกันวา่ จะมี
คุณภาพ น่ันคือ วัฒนธรรมคุณภาพในหน่วยงาน ส่ิงเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนต้องมาจาก
ผู้นาหน่วยงานเป็นผู้ผลักดัน การประกันคุณภาพจึงเป็นเหมือนเคร่ืองมือของผู้นา
หนว่ ยงานใช้ขับเคลอ่ื นเพ่ือให้หน่วยงานมุ่งส่คู ณุ ภาพที่มรี ะดับดขี ้นึ ทุกๆ ปกี ารศกึ ษา
(กมลพรรณ นามวงศ์พรหม, 2550) ในการพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาให้เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพและดาเนินการอย่างยั่งยืน ผู้เก่ียวข้อง
ทุกฝ่ายในสถานศึกษาต้องมีการทางานท่ีมุ่งประโยชน์ที่จะเกิดแก่ผู้เรียนเป็นสาคัญ
โดยมีความตระหนัก รับรู้ และเห็นคุณค่าของการทางานเป็นระบบ ผู้เรียนมี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีการกาหนดเป้าหมายและ
ดาเนินกิจกรรม/โครงการ ท่ีใช้ผลการประเมินตนเอง ผลการประเมินคุณภาพจาก
องค์กรภายนอกหรือผลการวิจัยที่สถานศึกษาจัดทาข้ึนเพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนา
ผู้เรียนของสถานศึกษาเอง เป็นฐานในการกาหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียน การ
ติดตามตรวจสอบ และปรับปรุงงานเป็นระยะจะช่วยให้งานบรรลุผลได้อย่างดีและ
มีประสิทธิภาพ ผลท่ีเกิดกับผู้เรียนก็จะเป็นที่พึงพอใจกับผู้ปกครอง ชุมชน และ
องค์กรหรือสถานประกอบการที่รับช่วงต่อจากสถานศึกษา ด้วยการดาเนินงานที่

คมู่ อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 3

ทุกคนมีความรับผิดชอบร่วมกัน การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาจะเป็น
ส่วนหนึ่งของการบริหารที่แท้จริง และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนเป็นรูปแบบ
การทางานในส่ิงที่ทาอยู่เป็นประจาของทุกคน เป็นวัฒนธรรมขององค์กรท่ียึด
คณุ ภาพผเู้ รียนอยา่ งย่ังยืน

กำรดำเนินกำรตำมระบบกำรประกนั คณุ ภำพกำรศกึ ษำ
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา

ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 ได้กาหนดหลกั การสาคัญ
ทสี่ ถานศกึ ษาต้องดาเนินการ โดยสรุปในสองลักษณะซ่งึ มีความสัมพันธ์เช่ือมโยงกัน
ดังน้ี

เป็นการดาเนินการตามหลักเกณฑแ์ ละแนวปฏิบัติในการประกันคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
ให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาทเ่ี ข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ โดยดาเนินการ
ดังนี้

1) กาหนดเป้าหมาย จุดเน้น การพฒั นาคุณภาพการศึกษาได้สอดคล้อง
กับสภาพปัจจบุ ัน/ปญั หาการจัดการศึกษาท่ผี ่านมาอย่างครอบคลุมครบถว้ น

2) จัดทาเป็น“มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา”โดยทุกฝ่าย
ทเ่ี กย่ี วข้องมีส่วนร่วม

3) จัดทาแผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจาปี ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกบั มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และตรงตาม
จดุ เนน้ ท่ตี ้องการพฒั นาอย่างแท้จรงิ

4) ดาเนินการพัฒนาตามแผนปฏิบตั ิการประจาปี ไดอ้ ย่างครบถ้วน และ
มปี ระสิทธภิ าพ

5) จัดให้มีการประเมินผล และตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา โดยใช้การประเมินแนวใหม่ เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาเป็นระยะ อย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครงั้

ค่มู อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 4

6) จัดทารายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR)
ตามกรอบ “มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา” หลังส้ินปีการศึกษา ได้อย่างมี
คณุ ภาพ

เพื่อให้การดาเนินงานประกันคุณ ภาพการศึกษาเป็นไปตาม
กฎกระทรวงการประกันคุณภ าพการศึกษาพ.ศ. 2561 ดังน้ันสถานศึกษา
ในสังกัดทุกแห่ง ควรรู้และเข้าใจถึงแนวทางการดาเนินงานพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการรองรับการประเมินภายนอก
ดงั น้ี

1) สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดให้มีการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษาพ.ศ. 2561 โดย
มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศ
กาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษา และดาเนินการตามแผนท่ีกาหนดไว้ จัดให้มีการ
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการ
ดาเนินงานเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่ง
รายงานผลการประเมินตนเอง (SAR) ให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ี
กากบั ดแู ละสถานศกึ ษาเป็นประจาทุกปี

2) ต้ังแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไปสถานศึกษาจะต้องนามาตรฐาน
การศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกาหนดประกาศใช้ไปเทียบเคียงและจัดทาเป็น
“มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา” จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา และ
จัดทา SAR ตามกรอบมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แล้วจึงจัดส่ง SAR ให้
หน่วยงานต้นสงั กัดหรอื หน่วยงานท่ีกากับดแู ลสถานศกึ ษา

3) เมื่อหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาได้รับ
SAR จากสถานศึกษาก็จะมีการสรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการดาเนินงานและ
จัดส่ง SAR พร้อมประเด็นต่าง ๆ ท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและติดตาม
ตรวจสอบให้แก่ สมศ. เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก

คูม่ ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 5

4) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับ
คณุ ภาพตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสนิ โดยอาศัยความเช่ียวชาญ (expert
judgment) และการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินในระดับ
เดียวกัน (peer review) โดยเที ยบ กับเกณ ฑ์ ห รือมาตรฐานที่ กาห นดไว้
คณะกรรมการประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้านและวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันใน
การตัดสินเพื่อให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ซ่ึงจะไม่ใช่การให้คะแนนตาม
ความคิดเหน็ ของคนใดคนหนง่ึ

5) การประเมินคุณภาพภายในเป็นหน้าที่ของสถานศึกษาที่ต้อง
ตรวจสอบและประเมินตนเองตามสภาพบริบทของสถานศึกษาท่ีแท้จริง โดยให้
ความสาคัญกับการประเมินเชิงคณุ ภาพ ผนวกกับการประเมินเชิงปริมาณควบคู่กัน
ไป การตัดสินคุณภาพของสถานศึกษาให้ใช้เกณฑ์การให้คะแนนผลงานหรือ
กระบวนการที่ไม่แยกส่วนหรือแยกองค์ประกอบในการกาหนดคะแนนประเมิน แต่
เป็นการประเมินในภาพรวมของผลการดาเนินงานหรือกระบวนการดาเนินงาน
(holistic rubrics)

6) การกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานภายในของสถานศึกษา
ให้สถานศึกษากาหนดเป้าหมายและเกณฑ์การประเมินตามสภาพบริบทของ
สถานศกึ ษาเอง เพื่อตรวจสอบและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามภารกิจของ

7) การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เน้นการประเมินตาม
หลักฐาน เชิงประจักษ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานตามสภาพจริงของสถานศึกษา
(evidence based) โดยเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสมและสะท้อน
คุ ณ ภ า พ ก า ร ด า เนิ น งาน ต า ม ม าต ร ฐ าน ข อ งส ถ า น ศึ ก ษ า ได้ อ ย่ างชั ด เจ น แ ล ะ มี
เป้าหมาย การประเมินเพื่อการพัฒนาลดภาระการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารท่ี
ไม่จาเป็นในการประเมิน แต่ข้อมูลต้องมีความน่าเชื่อถือและสามารถตรวจสอบ
ผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษาน้ัน ๆ สถานศึกษาโดยให้ยึด
หลักการดาเนินงานเพอื่ พัฒนา และสะทอ้ นคุณภาพ การดาเนนิ งานตามเปา้ หมายที่
กาหนดตามมาตรฐานของสถานศึกษา

8) คณะท่ีทาหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรศึกษา
มาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาที่กาหนดให้เข้าใจถ่องแท้ก่อนดาเนินการ
ประเมินคุณภาพสถานศกึ ษาของตน หลังประเมนิ แล้วให้แจ้งผลการประเมินและให้

คมู่ อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 6

ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพการศึกษา สรุปและเขียนรายงาน
การประเมินตนเอง (self-assessment report)

9) ในการประเมินคุณ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาให้สถานศึกษา ดาเนินการโดยให้มีการประเมินคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษาอย่างนอ้ ยปลี ะ 1 คร้งั และในการประเมนิ คุณภาพภายในตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาใหใ้ ช้วธิ กี ารและเครอื่ งมือทห่ี ลากหลายและเหมาะสม

10) ให้สถานศึกษาสรุปและจัดทารายงานการประเมินตนเองท่ีสะท้อน
คุณภาพผู้เรียนและผลสาเร็จของการบริหารจัดการศึกษา นาเสนอรายงานต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและหน่วยงานต้นสังกัด เผยแพร่รายงานต่อ
สาธารณชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ต่อไป

11) โครงสร้างรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาไม่มี
รูปแบบตายตัว ให้สถานศึกษาจัดทาในส่ิงที่สถานศึกษาต้องการนาเสนอได้ สิ่ง
สาคัญท่ีสุดของรายงานการประเมินตนเอง คือ กระบวนการพัฒนาคุณภาพซึ่ง
หมายรวมถงึ กิจกรรม/โครงการ/งานท่ีสถานศึกษาดาเนินการที่จะสะท้อนให้เห็นถึง
หลักการแนวคิดของผู้บริหารสถานศึกษา การมีเป้าหมายหรือรูปแบบที่ชัดเจนใน
การพัฒนาการเรียนการสอน ซ่ึงทุกกิจกรรม/โครงการ/งานส่งผลถึงการพัฒนา
ผูเ้ รียนให้บรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา

ขอ้ ควรปฏบิ ัติของกำรประเมนิ คณุ ภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ
1. ศึกษามาตรฐาน หลกั เกณฑ์ วิธีการประเมิน วิธีการตดั สินระดับคณุ ภาพ

วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล รูปแบบการเขยี นรายงานการประเมนิ ตนเอง
2. ศกึ ษาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พนื้ ฐานของสถานศึกษาลว่ งหนา้ เช่น รายงาน

การประเมินตนเองของหน่วยงาน ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ
หน่วยงานรอบปีท่ีผ่านมา พร้อมสรุปข้อเสนอแนะและทิศทางการพัฒนาหน่วยงาน
เพ่อื เปน็ ข้อมลู ประกอบการประเมิน

3. ผปู้ ระเมินมีความรบั ผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายและปฏิบัติงานเต็ม
ความรู้ ความสามารถของตนและรับฟังความคิดเห็นจากคณะผู้ประเมินที่ไป
ประเมินดว้ ยกันไมค่ วรถือความคิดของตนเองเป็นหลัก

คมู่ ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 7

4. ให้ข้อเสนอแนะที่ชัดเจนต่อสถานศึกษาอย่างมีคุณค่า สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้

5. เขียนรายงานการประเมินตนเองอย่างมีคุณค่ารวมท้ังเลือกใช้ภาษาที่
เหมาะสม ถกู ตอ้ ง

6. แสวงหาความรู้ใหม่อยู่เสมอเพื่อให้เข้าใจบริบท เทคนิควิธีการจัด
การเรยี นการสอนแบบตา่ งๆ ทส่ี ถานศกึ ษานามาใช้

7. กาหนดระยะเวลาที่ใช้ในการประเมินให้เหมาะสมตามสภาพ
การดาเนินงานของสถานศึกษา และใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพจริง
เช่น การสอบถาม การสังเกต การสัมภาษณ์ ตรวจสอบเอกสารและช้ินงานเดิม
เพอ่ื ลดการใชก้ ระดาษจานวนมาก

8. ไม่สร้างสร้างเอกสารหลักฐานเพม่ิ เติมเพื่อรองรับการประเมินนอกเหนือ
จากเอกสารที่เป็นร่องรอยการดาเนนิ งานตามปกติ

(สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน, 2560 : 61)

หลักกำรของกำรประกนั คณุ ภำพภำยในของสถำนศกึ ษำ
การพัฒนาองค์ความรู้ให้กับผู้เก่ียวข้องกับมาตรฐานการศึกษาขั้น

พ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงาน
ตน้ สังกัดจะตอ้ งดาเนินการชี้แจง หรือทาความเข้าใจให้ผู้ทีเ่ กี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความรู้
ความเข้าใจและปฏิบัตติ ามหลักการของการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา
ได้อย่างชัดเจนในประเด็นดังต่อไปน้ี

1. การประกันคุณภาพเป็นหน้าท่ีของบุคลากรทุกคนที่ต้องปฏิบัติงาน
ตามภารกจิ ท่แี ตล่ ะคนไดร้ ับมอบหมาย

2. การประกันคุณภาพมุ่งพัฒนาการดาเนินงานตามความรับผิดชอบ
ของตนให้มีคุณภาพดีเพราะผลการพัฒนาของแต่ละคนคือผลรวมของการพัฒนา
ท้ังสถานศึกษา

3. การประกันคุณภาพเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยให้เป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ทาเพ่ือ
เตรียมรบั การประเมนิ เปน็ คร้งั คราวเทา่ นัน้

ค่มู อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 8

4. การประกันคุณภาพต้องเกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย
ทเี่ กีย่ วขอ้ งไมส่ ามารถวา่ จ้างหรอื ขอใหบ้ ุคคลอ่ืน ๆ ดาเนินการแทนได้

5. การประกันคุณภาพต้องเกิดจากการยอมรับและนาผลการประเมิน
คุณ ภาพการศึกษาไปใช้ในการพัฒ นาคุณภ าพการจัดการศึกษ าของสถานศึกษา

6. ให้สถานศึกษาประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา

เพื่อให้การดาเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาอย่างต่อเน่ือง ส่ิงท่ีจาเป็นต้องในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา คือ กาหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา เพื่อเปน็ จุดเริ่มตน้ ในการพฒั นาและเปน็ เป้าหมายสาคัญทีส่ ุด ท่ีผู้มีส่วน
เก่ียวข้องทุกฝ่ายต้องรับรู้และปฏิบัติงานในหน้าที่ท่ีรับผิดชอบให้บรรลุถึงเป้าหมาย
ตามมาตรฐานท่ีสถานศึกษากาหนดข้ึน ซ่ึงแนวทางดาเนินการพัฒนาระบบ
การประกนั คุณภาพในแต่ละขน้ั ตอนมีรายละเอยี ด ดังนี้

1. กำรกำหนดมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยให้
สถานศกึ ษาและผู้เก่ยี วขอ้ งดาเนนิ การและถือเปน็ ความรับผิดชอบรว่ มกนั

ท้ังน้ี สถานศึกษาอาจกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพ่ิมเติม
นอกเหนอื จากท่กี ระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศใชไ้ ด้ มีแนวทางการดาเนนิ งาน ดังนี้

1. ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ว่าด้วยการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา ตามท่ีกฎกระทรวงประกาศใช้ โดยกิจกรรมท่ีจาเป็นต้อง
ปฏิบตั ใิ นขั้นน้ี คือ

1.1 ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของมาตรฐานชาติ
มาตรฐานสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานเขตพื้นที่
มาตรฐานหลักสตู ร ศึกษาความตอ้ งการจาเปน็ และอ่ืน ๆ ที่เกยี่ วข้อง

1.2 เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ
อยา่ งชดั เจน

1.3 กาหนดผู้รับผิดชอบ เช่น คณะกรรมการดาเนินการจัดทา
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบมาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

2. พิจารณาสาระสาคัญที่จะกาหนดในมาตรฐานและตัวบ่งช้ีที่

คู่มอื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 9

สะท้อนอัตลักษณ์และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา กิจกรรมท่ีจาเป็นต้อง
ปฏิบัติในขน้ั น้ี คือ

2.1 ผู้มีส่วนเก่ียวข้องร่วมกันกาหนดจุดเน้น จุดเด่นที่สะท้อนอัตลักษณ์
และมาตรการสง่ เสริมของสถานศึกษา

2.2 กาหนดมาตรฐานและตัวบ่งช้ีที่จะใช้เป็นมาตรฐานของ
สถานศกึ ษา

2.3 ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
2.4 ประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3. กาหนดค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งช้ี
โดยไดร้ ับความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
4. ประกาศค่าเป้าหมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐานและตัวบ่งช้ี
โดยปฏบิ ัติดงั นี้
4.1 จดั ทาประกาศคา่ เปา้ หมายความสาเร็จของแต่ละมาตรฐาน
และตัวบ่งช้ีโดยได้รบั ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
4.2 ประชาสัมพนั ธใ์ ห้ผ้เู กี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอก
รับทราบโดยใช้วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย
2. กำรจัดทำแผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ การจัดทาแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
จาเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยสะท้อนคุณภาพความสาเร็จอย่าง
ชัดเจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามุ่งคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศกึ ษานน้ั สถานศกึ ษาและผเู้ กีย่ วข้องจะตอ้ งรว่ มมือกันดาเนนิ งาน ดงั นี้
1. ศึ ก ษ า วิ เค ราะ ห์ ส ภ าพ ปั ญ ห าแ ล ะ ค ว าม ต้ อ งก ารจ าเป็ น
ของสถานศกึ ษา
2. กาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายด้านต่าง ๆ โดยมุ่งเน้นที่คุณภาพ
ผู้เรียนที่สะท้อนคุณภาพความสาเร็จอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่าย
มสี ่วนรว่ ม
3. กาหนดวิธีดาเนินงานทุกโครงการ กจิ กรรมท่ีสอดคล้องกับมาตรฐาน
และตัวบ่งชี้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ การวัด
และประเมินผล

คมู่ อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 10

4. กาหนดแหลง่ เรยี นรู้และภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ
5. ก าหนดบทบาทหน้ าท่ี ของผู้รับผิดชอบและร่วมด าเนิ นกิ จกรรม
อย่างมีประสิทธิภาพ
6. กาหนดบทบาทหน้าท่ขี องผเู้ กี่ยวขอ้ ง เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน
7. กาหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
ให้สอดคลอ้ งกับกจิ กรรม/โครงการ
8. เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขน้ั พนื้ ฐานพจิ ารณาและลงนามใหค้ วามเห็นชอบ
9. จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีท่ีสอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัด
การศกึ ษาของสถานศึกษา
10. กาหนดปฏิทนิ การนาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปสี กู่ ารปฏิบตั ิทช่ี ดั เจน
11. เสนอแผนปฏิบัติการประจาปีต่อคณะกรรมการสถานศึกษาให้
ความเห็นชอบ
3. กำรดำเนินงำนตำมแผนพัฒนำกำรจัดกำรศึกษำของสถำนศึกษำ
การดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจดั การศึกษาของสถานศึกษา โดยครูประจาชั้น/
ผ้รู บั ผิดชอบงานโครงการ/กิจกรรม โดยปฏบิ ัติดังน้ี
1. นาแผนปฏิบัติการประจาปีไปสู่การปฏิบัติตามกรอบระยะเวลา
และกิจกรรมโครงการทีก่ าหนดไว้
2. ผู้รับผิดชอบและผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีและ
ความรับผิดชอบตามท่ีได้กาหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด
4. กำรจัดให้มีกำรประเมินผลและตรวจสอบคุณภำพภำยในตำม
มำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศกึ ษำ ประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษา
ภายในสถานศึกษา โดยกาหนดผู้รับผิดชอบในการประเมินผลและตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาท้ังระดับบุคคลและระดับสถานศึกษา และกาหนดการ
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา อย่างน้อยภาค
เรียนละ 1 ครั้ง โดยวิธีการและเคร่ืองมือที่หลากหลายและเหมาะสม การประเมิน
คณุ ภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีแนวทางในการปฏิบัติ ดังน้ี
1. ประเมินคุณ ภาพภายในสถานศึกษาอย่างน้ อยปีละ 1 คร้ัง
โดยแต่งตั้งคณะกรรมการ อย่างนอ้ ย 3 คน

คู่มือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 11

2. จัดทาเครื่องมือสาหรับประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่าง
หลากหลาย

3. ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา

5. กำรจัดให้มีกำรติดตำมผลกำรดำเนินกำรประเมินผลคุณภำพภำยใน
ตำมมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ ติดตามผลการดาเนินการเพื่อพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และนาผลการติดตามไปใช้
ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของ
สถานศกึ ษา มีแนวทางในการปฏิบตั ิ ดังนี้

1. การกาหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ระดับสถานศึกษา

2. ดาเนินการติดตามตรวจสอบผลการดาเนินการประเมินผลคุณภาพ
ภ า ย ใน ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ทั้ ง ร ะ ดั บ บุ ค ค ล แ ล ะ ร ะ ดั บ
สถานศกึ ษา (โดยคณะกรรมการระดับสถานศกึ ษา)

3. จัดทารายงานเสนอต่อผู้เก่ียวข้องและนาผลการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาไปใช้วางแผนดาเนินงานปรับปรุงพัฒนา การบริหารจัดการและ
การจดั การเรียนการสอน

4. เตรียมการรองรับการตรวจสอบและให้ความร่วมมือในการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด โดยเตรียมการเป็นระบบท้ัง
ด้านข้อมูล เอกสารหลักฐานร่องรอยการดาเนินงานต่าง ๆ อย่างครบถ้วน ชัดเจน
สมบูรณโ์ ดยความรว่ มมือของผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง

6. กำรจัดทำรำยงำนประจำปี จัดทารายงานผลการประเมินตนเอง
(Self-Assessment Report : SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษ า
นาเสนอรายงานผลการประเมินตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้
ความเห็นชอบ และจัดส่งรายงานดังกล่าวต่อสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเป็น
ประจาทุกปี การจัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายในของ
สถานศึกษาโดยรายงานผลที่สะท้อนคุณภาพผู้เรียน และผลท่ีสะท้อนให้เห็นภาพ
ความสาเรจ็ ของการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา ซึง่ มีแนวทางในการปฏบิ ัติ
ตามลาดับขั้นตอน ส่วนแนวการเขียนแต่ละส่วนสถานศึกษากาหนดได้เองแต่

คู่มือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 12

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา พัฒนาสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพโดยพิจารณา
จากรายงานผลการประเมินตนเอง (Self- Assessment Report : SAR) และตาม
คาแนะนาของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือสานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
พฒั นาอย่างตอ่ เน่ือง ตอ้ งนาเสนอเป็นรายมาตรฐานท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงเนื้อหาตอ่ ไปน้ี

1. ผลจากการจัดการศึกษา หรอื เรยี กว่าผลการดาเนินงาน โดยนาเสนอ
ในรูปแบบของตาราง กราฟ แผนภาพ หรือการสรุปเนื้อหาสาระท่ีสาคัญของ
มาตรฐานนัน้ ๆ

2. กระบวนการจัดการศึกษา หรือกระบวนการพัฒนามาตรฐานน้ันๆ
ที่มุ่งสู่เป้าหมายที่กาหนด เน้นการเขียนให้มีความกระชับ ชัดเจน และส่ือ
ความหมายใหเ้ ข้าใจง่าย

3. วิเคราะห์คุณภาพการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา ที่เป็นจุดเด่น
และจุดควรพัฒนาของมาตรฐานนั้นๆ

- จุดเด่นของมาตรฐานน้นั ๆ ปจั จยั หรือกระบวนการทที่ าใหเ้ กิดจุดเด่น
- จุดควรพัฒนา ซึ่งเป็นจุดอ่อนในมาตรฐาน ปัญหาอุปสรรคที่ทาให้
ประเด็นพิจารณา/ มาตรฐานนัน้ ๆ มคี ุณภาพไม่เป็นไปตามเป้าหมาย แนวทางแก้ไข
การพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอยู่ที่เนื้องานของบุคลากรในโรงเรียนทุกคนต้องมี
จิตสานึกและความรับผิดชอบร่วมกันทุกคน โดยเร่ิมจากการทางานแบบ PDCA
ของบุคลากร มีการประเมินตนเองพัฒนางาน เก็บงานอย่างเป็นระบบ มีการ
วางแผนงาน ติดตาม ตรวจสอบ ปรับปรุง ต้องทาให้เป็นปัจจุบัน มีการเก็บข้อมูลท่ี
ใช้ในการทางานอย่างมีระบบและนาข้อมูลเหล่าน้ีไปรวมเป็นสารสนเทศเพื่อใช้ใน
การเขียนโครงการ/กิจกรรมวางแผนดาเนินงานต่อไป

คู่มือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 13

บทท่ี 2
มำตรฐำนกำรประกนั คณุ ภำพภำยใน

มาตรฐานการศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาและเป็นเป้าหมายสาคัญ
ท่ีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทุกคนต้องรับรู้ และปฏิบัติงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบให้
บรรลุถึงเป้าหมายคือมาตรฐานท่ีสถานศึกษากาหนดขึ้น การกาหนดให้มีมาตรฐาน
การศึกษาทาให้เกิดโอกาสที่เท่าเทียมกันในการพัฒนาคุณภาพเพราะสถานศึกษา
ทุกแห่งรู้ว่าเป้าหมายการพัฒนาท่ีแท้จริงอยู่ที่ใด การกาหนดให้มีมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาดาเนินการ
ตามกรอบนโยบายการปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษา เพ่ือใช้ในการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาและ
เตรียมการสาหรบั การประเมินคุณภาพภายนอกตามกรอบมาตรฐานการศึกษา เพื่อ
ส ร้ า ง ค ว า ม มั่ น ใ จ ให้ กั บ ผู้ ท่ี มี ส่ ว น เก่ี ย ว ข้ อ ง ทุ ก ฝ่ า ย ว่ า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง
สถานศึกษามีคุณภาพได้มาตรฐานและคงรักษาไว้ ซ่ึงมาตรฐานจากการดาเนินงาน
ประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

กำรดำเนินกำรตำมมำตรฐำนกำรศึกษำ
เป็นการดาเนินการใน 3 ข้ันตอน คือ การกาหนดมาตรฐานการศึกษา

การพัฒนามาตรฐานการศึกษา และการประเมินมาตรฐานการศึกษา การกาหนด
มาตรฐานการศึกษาจึงเน้นที่คุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้บริหารสถานศึกษา และ
คุณภาพครู มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ และข้อกาหนดใน
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561

มาตรฐานการศึกษาในแต่ละระดับ กำหนดเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ของมาตรฐานมี 5 ระดับ คือ ระดับกาลังพัฒนา ระดับปานกลาง ระดับดี
ระดับดีเลิศ และระดับยอดเยี่ยม โดยใช้มาตรฐานการศึกษาตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั ระดับการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษฉบับลงวันที่
6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561 เป็นพื้นฐานในการจดั การศึกษาท้งั 2 ระดับ ประกอบดว้ ย

คมู่ อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 14

มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดับปฐมวยั

มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย พ.ศ. 2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เป็นสำคัญ
มาตรฐานท่ี 4 การบรหิ ารจดั การสิง่ แวดล้อมทท่ี นั สมยั เพ่ือการพัฒนา

ทยี่ ่งั ยืน

รำยละเอยี ดแตล่ ะมำตรฐำน มดี งั น้ี
มำตรฐำนท่ี 1 คุณภำพของเดก็
1.1 มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ัยท่ดี ี และดูแลความ

ปลอดภัยของตนเองได้
1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์

ได้
1.3 มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของ

สังคม
1.4 มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน และ

แสวงหาความรูไ้ ด้

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 1 คุณภำพของเด็ก
ผลพฒั นาการเด็กในด้านร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสตปิ ญั ญา
1.1 มพี ัฒนำกำรดำ้ นรำ่ งกำย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยท่ีดี และดแู ลควำม
ปลอดภยั ของตนเองได้

เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคล่ือนไหวร่างกาย
คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพ
อนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเก่ียวกับความ
ปลอดภัย หลีกเล่ียงสภาวะที่เส่ียงต่อโรค ส่ิงเสพติด และระวังภัยจากบุคคล
สิ่งแวดลอ้ ม และ สถานการณท์ เ่ี ส่ียงอันตราย

คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 15

1.2 มีพัฒนำกำรดำ้ นอำรมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทำงอำรมณ์ได้
เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ความรู้สึกได้เหมาะสม รู้จักยับยั้ง

ช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของ
ตนเองและผู้อื่น มีจิตสานึกและค่านิยมท่ีดี มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก
ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสัตย์สุจริต มี
คุณธรรม จริยธรรมตามที่สถานศึกษากาหนดชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรี
และการเคลือ่ นไหว

1.3 มพี ัฒนำกำรด้ำนสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมำชิกทีด่ ี
ของสงั คม

เด็กช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัตกิ จิ วตั รประจาวนั มีวนิ ัยในตนเอง
ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มี
มารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับ
ผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด
พฤติกรรม พ้ืนฐานครอบครัว เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เป็นต้น เล่นและทางาน
ร่วมกับผ้อู ืน่ ได้ แก้ไขข้อขดั แย้ง โดยปราศจากการใช้ความรุนแรง

1.4 มีพัฒนำกำรด้ำนสติปัญญำ สื่อสำรได้ มีทักษะกำรคิดพ้ืนฐำน และ
แสวงหำควำมรไู้ ด้

เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อ่ืนเข้าใจ ต้ังคาถามในสิ่งท่ี
ตนเองสนใจหรอื สงสยั และ พยายามค้นหาคาตอบ อ่านนิทานและเล่าเรือ่ งทต่ี นเอง
อ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล
ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเรื่อง
ง่าย ๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การ
เคล่ือนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ เป็นต้น และใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย
แมเ่ หล็ก กล้องดจิ ติ อล เป็นตน้ เป็นเคร่ืองมอื ในการเรยี นรแู้ ละแสวงหาความรไู้ ด้

คู่มอื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 16

ระดบั ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ
กำลงั พฒั นำ  มพี ัฒนาการด้านรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สงั คมและ
ปำนกลำง สติปัญญายังไม่บรรลุตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

ระดับ  มพี ัฒนาการดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและ
คณุ ภำพ สติปัญญายังไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

ดี  มีการจดั ประสบการณ์การเรียนรตู้ ามหลักสตู รและมี
ดเี ลศิ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเสรมิ ในการพฒั นาเด็กทย่ี งั ไม่
บรรลตุ ามเปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด
ยอดเยี่ยม
ประเดน็ พิจำรณำ

 มีพฒั นาการด้านร่างกายอารมณจ์ ติ ใจสงั คม
และสติปัญญาบรรลุตามเปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด

 มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายอารมณ์จติ ใจสงั คม
และสตปิ ญั ญาบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 มกี ารจัดประสบการณ์การเรยี นรูต้ ามหลักสูตรและ
มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสริมในการพัฒนาเดก็ อยา่ ง
เป็นระบบและตอ่ เนื่อง

 มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกาย อารมณจ์ ิตใจ สังคมและ
สติปัญญาบรรลตุ ามเป้าหมายทส่ี ถานศึกษากาหนด
มีความพร้อมในการศึกษาระดับประถมศึกษา

 มีการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลักสตู รและ
มแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมเสริมในการพฒั นาเดก็
อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง

 มีส่วนรว่ มของพอ่ แม่ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่าย
ทีเ่ กย่ี วข้องในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

คู่มือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 17

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของ

ท้องถ่ิน
2.2 จดั ครูให้เพียงพอกบั ช้ันเรยี น
2.3 สง่ เสรมิ ให้ครูมคี วามเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์
2.4 จดั สภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ
2.5 ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพ่ือสนับสนนุ

การจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กีย่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม

คำอธิบำย
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
สถานศึกษาดาเนินการบริหารและจัดการสถานศึกษาที่ครอบคลุม

ด้านวิชาการ ด้านครูและบุคลากร ด้านข้อมูลสารสนเทศ ด้านสภาพแวดล้อมและ
ส่ือเพ่ือการเรียนรู้ และด้านระบบประกันคุณภาพภายใน โดยเปิ ดโอกาสให้
ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการจัดการศึกษา มีการกากับตดิ ตามการดาเนินงาน
อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง เพ่ือสร้างความมั่นใจต่อคุณภาพการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา

2.1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นำกำรทั้ง 4 ด้ำน สอดคล้องกับบริบท
ของท้องถิ่น

สถานศึกษามีหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น และสอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โดยสถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีเตรียม
ความพร้อมและไม่เร่งรัดวิชาการ เน้นการเรียนรู้ ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ
ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉ พาะ
และสอดคล้องกับวถิ ชี ีวติ ของครอบครวั ชุมชนและท้องถน่ิ

2.2 จดั ครูใหเ้ พียงพอกับช้ันเรียน
สถานศกึ ษาจัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการสอนหรือ

จัดครูท่ีจบการศึกษาปฐมวัยหรือผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัยอยา่ งพอเพยี งกับ
ช้นั เรียน

คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 18

2.3 สง่ เสริมใหค้ รูมีควำมเช่ียวชำญดำ้ นกำรจัดประสบกำรณ์
พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความร้คู วามสามารถในการวิเคราะห์และ

ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมิน
พัฒนาการเดก็ ใชป้ ระสบการณ์สาคญั ในการออกแบบ การจดั กิจกรรม มีการสังเกต
และประเมินพัฒนาการเดก็ เป็นรายบุคคล มปี ฏิสัมพนั ธ์ท่ดี กี ับเดก็ และครอบครวั

2.4 จัดสภำพแวดล้อมและสื่อเพื่อกำรเรียนรู้ อย่ำงปลอดภัยและ
เพียงพอ

สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียน
ทีค่ านึงถงึ ความปลอดภัย ส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรยี นรูเ้ ป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบ
รว่ มมอื ร่วมใจ มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีสื่อการเรียนรู้ เช่น ของเล่น หนังสือ
นิทาน สื่อจากธรรมชาติ ส่ือสาหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี ส่ือเพื่อ
การสืบเสาะหาความรู้

2.5 ให้ บริ กำรสื่ อเทคโนโลยี สำรสนเทศและสื่ อกำรเรี ยนรู้ เพ่ื อสนั บสนุ น
กำรจัดประสบกำรณ์ สำหรับครู

สถานศึกษาอานวยความสะดวก และให้บริการสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศ วสั ดุ และอุปกรณ์ เพอื่ สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์และพัฒนาครู

2.6 มีระบบบริหำรคุณภำพที่เปิดโอกำสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ำยมีส่วน
รว่ ม

สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้อง
กับมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั และอัตลักษณท์ ่ีสถานศกึ ษากาหนดจดั ทาแผนพัฒนา
กา ร ศึ ก ษ า ข อ งส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ ส อ ด รั บ กั บ ม า ต ร ฐ า น ท่ี ส ถ า น ศึ ก ษ าก า ห น ด แ ล ะ
ดาเนินการตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดาเนินงานและจัดทารายงานผลการประเมินตนเองประจาปี นาผล
การประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา โดยผู้ปกครองและ
ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงาน
ตน้ สังกัด

คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 19

ระดับ ประเด็นพิจำรณำ
คุณภำพ
กำลัง  มหี ลกั สตู รสถานศึกษาท่ีไมย่ ืดหยุ่น ไม่สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู ร
พฒั นำ การศกึ ษาปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถนิ่

ปำน  มีระบบบริหารคุณภาพ แต่ไม่ส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพ
กลำง เดก็ ปฐมวัย

ดี  มีหลกั สูตรสถานศึกษาทย่ี ืดหยุ่น สอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรการศกึ ษา
ปฐมวยั และบริบทของท้องถนิ่
ดเี ลิศ
 มรี ะบบบริหารคุณภาพ แต่ไม่สง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพเด็ก
ปฐมวยั

 มีการสง่ เสริมให้ครมู ีความเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณท์ ี่
ส่งผลตอ่ คณุ ภาพเดก็ เปน็ รายบุคคล

 จดั สภาพแวดลอ้ มอย่างปลอดภยั และมสี ่ือเพ่ือการเรยี นรอู้ ยา่ ง
เพยี งพอและหลากหลาย

 ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พ่ือ
สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์เหมาะสมกับบริบทของ
สถานศกึ ษา

 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาท่สี ง่ ผลต่อคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาและเปดิ โอกาส
ใหผ้ ูเ้ ก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนรว่ ม

 มีการประเมินและพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคลอ้ งกับ
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั และบริบทของท้องถิน่

 จดั ครใู ห้เพยี งพอและเหมาะสมกับชัน้ เรยี น

 มกี ารส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ที่
ส่งผลตอ่ คุณภาพเด็กเป็นรายบคุ คลตรงความต้องการของครูและ
สถานศึกษา

ค่มู อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 20

ระดบั ประเดน็ พิจำรณำ
คุณภำพ
 จัดสภาพแวดล้อมอยา่ งปลอดภัย และมสี ่ือเพือ่ การเรยี นรู้
ยอด อยา่ งเพียงพอและหลากหลาย
เยยี่ ม
 ใหบ้ ริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การเรยี นรเู้ พ่อื สนบั สนนุ
การจัดประสบการณเ์ หมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศึกษา

 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาการชีแ้ นะระหว่าง
การปฏบิ ตั กิ ารปฏิบัตงิ านทสี่ ่งผลต่อคณุ ภาพมาตรฐานของ
สถานศกึ ษาบูรณาการการปฏิบัตงิ านและเปดิ โอกาสให้ผ้เู กี่ยวขอ้ ง
ทกุ ฝา่ ยมีส่วนรว่ ม

 มีการประเมนิ และพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับ
หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัยและบริบทของท้องถนิ่

 จัดครูใหเ้ พยี งพอและเหมาะสมกบั ช้นั เรียน
มีการส่งเสริมให้ครมู ีความเชย่ี วชาญด้านการจดั ประสบการณ์ที่
สง่ ผลต่อคุณภาพเดก็ เป็นรายบุคคลตรงความตอ้ งการของครูและ
สถานศกึ ษาและจัดใหม้ ชี มุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี จัด
สภาพแวดลอ้ มอย่างปลอดภัย และมีสอื่ เพอื่ การเรยี นรู้
อย่างเพียงพอและหลากหลาย

 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พ่ือสนบั สนุน
การจัดประสบการณ์เหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา

 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาที่เหมาะสมและ
ต่อเน่ืองมกี ารช้แี นะระหว่างการปฏบิ ตั งิ านสง่ ผลตอ่ คุณภาพตาม
มาตรฐานของสถานศึกษาบรู ณาการการปฏิบัตงิ านและเปิดโอกาส
ให้ผเู้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ มจนเปน็ แบบอย่างที่ดีและได้รบั การ
ยอมรบั จากชมุ ชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

คมู่ ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 21

มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั
3.1 จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล

เตม็ ศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอย่าง

มีความสุข
3.3 จัดบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับ

วยั
3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมิน

พฒั นาการเด็กไปปรบั ปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก

คำอธิบำย
มำตรฐำนท่ี 3 กำรจดั ประสบกำรณ์ท่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคัญ

ครจู ัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศกั ยภาพ
รู้จกั เด็กเปน็ รายบุคคลและสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่น
และลงมือกระทาผา่ นประสาทสมั ผัส จัดบรรยากาศท่เี อ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ ื่อและ
เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกับวยั มีการติดตามและประเมนิ ผลพฒั นาการเด็กอยา่ งเปน็
ระบบ

3.1 จัดประสบกำรณ์ท่สี ่งเสริมให้เดก็ มีพัฒนำกำรทุกดำ้ นอยำ่ งสมดลุ
เตม็ ศกั ยภำพ

ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล จัดทาแผนการจัดประสบการณ์จาก
การ
วิเคราะห์ มาตรฐานคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ในหลักสตู รสถานศกึ ษา โดยมีกิจกรรม
ท่ีส่งเสริมพฒั นาการเดก็ ครบทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม
และดา้ นสตปิ ัญญา ไมม่ งุ่ เน้นการพัฒนาดา้ นใดดา้ นหนงึ่ เพียงดา้ นเดยี ว

3.2 สร้ำงโอกำสให้เด็กได้รับประสบกำรณ์ตรง เล่น และปฏิบัติอย่ำงมี
ควำมสุข

ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ให้เด็กมีโอกาส
เลือกทากิจกรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ

คูม่ ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 22

ตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล หลากหลายรูปแบบ จากแหล่ง
เรียนรู้ท่ีหลากหลาย เด็กได้เลือกเล่น เรียนรู้ ลงมือ กระทา และสร้างองค์ความรู้
ดว้ ยตนเอง

3.3 จัดบรรยำกำศท่ีเอื้อต่อกำรเรียนรู้ ใช้สื่อ และเทคโนโลยีท่ี
เหมำะสมกบั วยั

ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนท่ีแสดงผล
งานเด็ก พ้ืนที่สาหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม เด็กมีส่วนร่วมในการจัด
สภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ครูใช้ส่ือและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวถิ ีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น
กล้องดิจิตอล คอมพิวเตอร์สาหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย ส่ือของเล่นท่ีกระตุ้นให้คิด
และหาคาตอบ เป็นต้น

3.4 ประเมนิ พฒั นำกำรเดก็ ตำมสภำพจรงิ และนำผลกำรประเมนิ
พฒั นำกำรเด็กไปปรับปรงุ กำรจัดประสบกำรณแ์ ละพัฒนำเด็ก

ครูประเมนิ พฒั นาการเดก็ จากกจิ กรรมและกิจวัตรประจาวันดว้ ย
เครอื่ งมอื และวิธีการท่ีหลากหลาย ไม่ใช้แบบทดสอบ วิเคราะห์ผล การประเมิน
พัฒนาการเด็ก โดยผู้ปกครองและผู้เกย่ี วข้อง มสี ว่ นร่วม และนาผลการประเมนิ ที่ได้
ไปพัฒนาคณุ ภาพเด็กและแลกเปล่ียนเรยี นร้กู ารจัดประสบการณท์ ี่มีประสิทธภิ าพ

ระดับ ประเดน็ พิจำรณำ
คณุ ภำพ
กำลงั  จดั ประสบการณ์ที่สง่ เสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการ
พฒั นำ ดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ติ ใจ สังคม และสตปิ ญั ญา ไมส่ มดุล

ปำนกลำง  ไมส่ รา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเลน่ และปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรมอย่างอิสระตามความต้องการ ความสนใจและ
ความสามารถของเด็ก

 จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณจ์ ติ ใจ สังคม และสติปัญญาอยา่ งสมดุล

ระดบั ค่มู อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 23
คณุ ภำพ
ประเด็นพจิ ำรณำ
ดี
 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ัติ
ดีเลิศ กิจกรรมอยา่ งอสิ ระตามความตอ้ งการ ความสนใจ และ
ความสามารถของเดก็

 จัดประสบการณท์ ่สี ่งเสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการด้านร่างกาย
อารมณ์จติ ใจสังคม และสติปัญญาอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ
ของเด็กเป็นรายบุคคล

 สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรงเลน่ และปฏิบัติ
กิจกรรม เรยี นรลู้ งมือทาและสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง
อย่างมีความสุข

 จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในห้องเรยี นท่เี อือ้ ต่อการ
เรียนร้ใู ช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วยั

 จดั ครูประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงด้วยวิธีการท่ี
หลากหลาย โดยผู้ปกครองและผเู้ กยี่ วข้องมีส่วนร่วม
นาผลการประเมินทีไ่ ด้ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์และ
พฒั นาเดก็

 จดั ประสบการณท์ ีส่ ่งเสรมิ ใหเ้ ด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
อารมณจ์ ิตใจสังคม และสติปัญญาอย่างสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ
โดยความร่วมมือของพ่อแม่ และครอบครวั ชุมชน และ
ผู้เก่ยี วขอ้ ง

 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงเล่นและปฏิบตั ิ
กิจกรรม เรยี นรู้ลงมือทาและสร้างองค์ความรูด้ ้วยตนเอง
อย่างมีความสุข

 จดั บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการ
เรียนรโู้ ดยเด็กมีส่วนรว่ มใช้สื่อและเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั

คมู่ ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 24

ระดบั ประเดน็ พจิ ำรณำ
คณุ ภำพ
วัย
ยอดเยี่ยม
 ครปู ระเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ ดว้ ยวธิ ีการที่
หลากหลาย โดยผู้ปกครองและผู้เกย่ี วข้องมสี ่วนรว่ ม
นาผลการประเมนิ ทไี่ ด้ไปปรับปรุงการจัดประสบการณ์และ
พฒั นาเด็ก

 จดั ประสบการณท์ ส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการดา้ นร่างกาย
อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปญั ญาอย่างสมดลุ เตม็
ศักยภาพโดยความรว่ มมือของพอ่ แม่และครอบครัวชมุ ชน
และผเู้ กี่ยวข้อง และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี

 สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม เรียนรู้ลงมือทาและสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง
อย่างมีความสขุ

 จัดบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนทเี่ ออ้ื ตอ่
การเรียนรู้โดยเด็กมสี ว่ นรว่ ม ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีที่
เหมาะสม
กบั วัย

 ครูประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงดว้ ยวธิ กี ารท่ี
หลากหลาย โดยผปู้ กครองและผู้เกีย่ วข้องมีสว่ นรว่ มนา
ผลการประเมนิ ทีไ่ ด้ไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และ
พัฒนาเด็ก

คูม่ ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 25

มำตรฐำนที่ 4 กำรบริหำรจัดกำรส่งิ แวดล้อมท่ีทันสมัยเพ่อื กำรพฒั นำที่
ยง่ั ยนื

1. กำรบรหิ ำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและส่งิ แวดล้อมสถำนศึกษำ
2. กำรมสี ว่ นร่วมและกำรสรำ้ งเครอื ขำ่ ยส่ิงแวดลอ้ ม

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 4 กำรบริหำรจัดกำรด้ำนส่ิงแวดล้อมท่ีทันสมัยเพ่ือกำร
พฒั นำที่ยั่งยนื

สถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมท่ีมีประสิทธิภาพ
โดยเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้บริหาร ครูและบุคลากรใน
สถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในด้านส่ิงแวดล้อม มีภาคีเครือข่ายในการ
ดาเนินงานด้านส่งิ แวดลอ้ มทย่ี ่ังยืน

4.1 กำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมใน
สถำนศกึ ษำ

ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อมมีการ
กาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และแผนงานหรือโครงการด้าน
ส่ิงแวดล้อมศึกษามีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการด้านส่ิงแวดล้อม
ทรัพยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมีการบริหารจดั การภมู ิทัศน์ ดาเนินงานตามแผนงาน
โครงการและนิเทศติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ มีการส่งเสริม สนับสนุน
งบประมาณและทรัพยากร พัฒนาแหล่งเรียนรู้เอื้อต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน มีการ
เผยแพร่ประชาสัมพนั ธง์ านด้านสง่ิ แวดลอ้ มศึกษา

4.2 กำรมีส่วนรว่ มและกำรสร้ำงเครือข่ำยส่ิงแวดล้อมศกึ ษำ
การมีส่วนร่วมของบุคลากร ชุมชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง การ

สร้างภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานด้านส่ิงแวดล้อม ขยายภาคีเครือข่ายในการ
ดาเนินงานดา้ นสง่ิ แวดล้อม

คู่มอื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 26

ระดบั ประเดน็ พจิ ำรณำ
คณุ ภำพ
กำลังพัฒนำ  การมสี ว่ นร่วมของบคุ ลากรในโรงเรยี นด้านส่ิงแวดลอ้ ม
ปำนกลำง  การมสี ่วนรว่ มของชุมชน และหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องด้าน

ดี สิง่ แวดลอ้ ม
 การสร้างภาคเี ครือขา่ ยในการดาเนินงานดา้ นสง่ิ แวดล้อม
ดีเลิศ
 ผ้บู ริหารมีวสิ ัยทัศนใ์ นการพัฒนาคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อม
 มีการส่งเสริม สนบั สนุน งบประมาณและทรัพยากร
 การมีสว่ นร่วมของบคุ ลากรในโรงเรยี นดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม
 การมีสว่ นร่วมของชุมชน และหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องดา้ น

สง่ิ แวดล้อม
 การสร้างภาคีเครือข่ายในการดาเนนิ งานด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
 ผูบ้ รหิ ารกาหนดนโยบาย/วิสัยทศั น/์ พันธกจิ /เปา้ ประสงค/์

และแผนงานหรือโครงการด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
 มกี ารดาเนินงานตามแผนงานโครงการและนิเทศติดตาม

ประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ
 มกี ารบรหิ ารจดั การภูมทิ ัศน์เอื้อต่อการเรียนรู้
 พัฒนาแหล่งเรยี นรดู้ ้านการจัดการสงิ่ แวดล้อมในโรงเรยี น
 มกี ารเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธง์ านด้านสิง่ แวดลอ้ ม
 การมีส่วนรว่ มของบคุ ลากร ชุมชน และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง
 การสรา้ งภาคีเครือข่ายในการดาเนนิ งานด้านสงิ่ แวดลอ้ ม
 ผบู้ ริหารกาหนดนโยบาย/วสิ ยั ทศั น์/พนั ธกิจ/เป้าประสงค์/

และแผนงานหรือโครงการด้านสิง่ แวดลอ้ ม
 มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการด้าน

สง่ิ แวดลอ้ ม/ทรัพยากรอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
 มกี ารดาเนนิ งานตามแผนงานโครงการและนเิ ทศติดตาม

ระดับ คมู่ ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 27
คณุ ภำพ
ประเดน็ พิจำรณำ
ยอดเย่ียม
ประเมินผลอยา่ งเป็นระบบ
 มีการสง่ เสรมิ สนบั สนุน งบประมาณและทรัพยากร
 มีการบรหิ ารจัดการภมู ิทศั นเ์ อือ้ ต่อการเรยี นรู้
 พัฒนาแหล่งเรียนรดู้ ้านการจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 มกี ารเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์งานดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
 การมสี ่วนรว่ มของบุคลากร ชุมชน และหน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง
 การสรา้ งภาคเี ครือข่ายในการดาเนินงานดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม
 ผ้บู ริหารกาหนดนโยบาย/วสิ ัยทศั น/์ พันธกิจ/เป้าประสงค์/

และแผนงานหรือโครงการด้านสิง่ แวดล้อม
 มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการด้าน

สง่ิ แวดลอ้ ม/ทรัพยากรอยา่ งมีประสิทธภิ าพ
 มีการดาเนินงานตามแผนงานโครงการและนิเทศติดตาม

ประเมินผลอย่างเปน็ ระบบ
 มกี ารส่งเสรมิ สนบั สนุน งบประมาณและทรัพยากร
 มกี ารบรหิ ารจัดการภูมทิ ัศนเ์ อ้ือต่อการเรยี นรู้
 พัฒนาแหลง่ เรียนร้ดู ้านการจัดการสิง่ แวดล้อมในโรงเรียน
 มกี ารเผยแพรป่ ระชาสัมพันธง์ านด้านส่ิงแวดล้อม
 การมีสว่ นร่วมของบคุ ลากร ชุมชน และหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง
 การสรา้ งภาคเี ครือขา่ ยในการดาเนินงานด้านส่ิงแวดลอ้ ม
 การขยายภาคเี ครอื ขา่ ยในการดาเนินงานด้านสิ่งแวดลอ้ ม

คู่มอื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 28

มำตรฐำนกำรศกึ ษำระดบั กำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน

ม าต ร ฐ า น ก าร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ ื้น ฐ า น พ .ศ . 2 5 6 1
มีจานวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน
1.2 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ
มาตรฐานท่ี 4 การบรหิ ารจดั การสิ่งแวดลอ้ มทท่ี ันสมยั เพอ่ื การพฒั นาที่ยงั่ ยนื

รำยละเอยี ดแตล่ ะมำตรฐำน มีดังนี้
มำตรฐำนที่ 1 คณุ ภำพของผู้เรยี น
1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน
1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิด

คานวณ
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ

อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา
3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
5) มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
6) มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ งานอาชพี

1.2 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รียน
1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ีดตี ามที่สถานศึกษากำหนด
2) ความภมู ใิ จในท้องถนิ่ และความเป็นไทย
3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม

คูม่ อื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 29

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 1 ดำ้ นคุณภำพผ้เู รียน

ผ ล ก ารเรีย น รู้ที่ เป็ น คุ ณ ภ าพ ข อ งผู้ เรีย น ทั้ งด้ าน ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์
ทางวิชาการ ประกอบด้วยความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิด
คานวณ การคิดประเภทต่างๆ การสร้างนวัตกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร การมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานและ
เจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่เป็นค่านิยมที่ดีตามที่
สถานศึกษากาหนด ความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทยการยอมรับท่ีจะอยู่
ร่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย รวมทัง้ สขุ ภาวะทางร่างกายและจิตสังคม

1.1 ผลสัมฤทธท์ิ ำงวิชำกำรของผเู้ รียน
1) มีควำมสำมำรถในกำรอำ่ น กำรเขียน กำรสอ่ื สำร และกำรคดิ

คำนวณ
ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคานวณ

ตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากาหนดในแต่ละระดบั ช้ัน
2) มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ

อภิปรำยแลกเปลีย่ นควำม คดิ เห็น และแก้ปัญหำ
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ

ไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการ
อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแก้ปญั หาอย่างมีเหตผุ ล

3) มีควำมสำมำรถในกำรสรำ้ งนวตั กรรม
ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรไู้ ดท้ ้งั ดว้ ยตวั เองและ

การทางานเป็นทีม เช่ือมโยงองค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์
สิ่งใหมๆ่ อาจเปน็ แนวความคิด โครงการ โครงงานชน้ิ งาน ผลผลิต

4) ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศและกำรสอ่ื สำร
ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ

การสื่อสารเพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม

คมู่ อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 30

5) มีผลสัมฤทธิท์ ำงกำรเรยี นตำมหลกั สูตรสถำนศึกษำ
ผู้ เรีย น บ รรลุ แล ะมีค วา มก้า วห น้ าใน กา รเรี ย น รู้ต า มห ลั ก สู ต ร

สถานศึกษาจากพ้ืนฐานเดิมในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ
รวมทง้ั มคี วามกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอ่นื ๆ

6) มคี วำมรู้ ทกั ษะพ้นื ฐำน และเจตคตทิ ด่ี ตี อ่ งำนอำชพี
ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติท่ีดีพร้อมท่ีจะ

ศึกษาต่อในระดบั ช้ันทส่ี ูงขน้ึ การทางานหรืองานอาชีพ
1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รยี น
1) มคี ุณลักษณะและค่ำนยิ มทีด่ ตี ำมทส่ี ถำนศึกษำกำหนด
ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎ

กติกา มีค่านิยมและจิตสานึกตามท่ีสถานศึกษากาหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมายและ
วฒั นธรรมอนั ดีของสงั คม

2) มคี วำมภูมใิ จในทอ้ งถิ่นและควำมเปน็ ไทย
ผู้เรยี นมีความภูมิใจในท้องถนิ่ เห็นคณุ ค่าของความเป็นไทย มีสว่ น

รว่ มในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและประเพณไี ทย รวมทงั้ ภมู ิปัญญาไทย
3) ยอมรับท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนควำมแตกต่ำงและหลำกหลำย
ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน

ดา้ นเพศ วัย เชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี
4) มีสุขภำวะทำงร่ำงกำย และจิตสงั คม
ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม

และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแต่ละช่วงวัยสามารถอยู่ร่วมกับคนอ่ืนอย่างมี
ความสุข เข้าใจผู้อนื่ ไมม่ คี วามขดั แยง้ กบั ผอู้ น่ื

ระดบั ประเด็นพิจำรณำ
คณุ ภำพ
กำลัง 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน
พัฒนำ  ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การส่อื สารและ
การคิดคานวณตา่ กวา่ เป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

คมู่ ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 31

ระดับ ประเด็นพจิ ำรณำ
คณุ ภำพ

 ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา
ตา่ กวา่ เปา้ หมายที่สถานศึกษากาหนด

1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น

 ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ีดตี ่ากว่าเป้าหมายท่ี
สถานศึกษากาหนด

 ผูเ้ รยี นมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคมตา่ กวา่ เป้าหมายที่
สถานศกึ ษากาหนด

ปำนกลำง 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรยี น

 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสือ่ สารและ
การคิดคานวณ เปน็ ไปตามเป้าหมายทสี่ ถานศึกษากาหนด

 ผูเ้ รียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เปน็ ไปตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

1.2 คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรียน

 ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมท่ีดีเปน็ ไปตามเปา้ หมาย
ท่สี ถานศึกษากาหนด ผเู้ รยี นมีสุขภาวะทางร่างกายและ
จติ สังคมเปน็ ไปตามเป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

ดี 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รียน

 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสารและ
การคิดคานวณเป็นไปตาม เป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

 ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
เป็นไปตามเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 ผ้เู รยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์คิดอย่างมี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี น ความคดิ เห็น และ
แกป้ ญั หาได้

 ผูเ้ รียนมคี วามรูแ้ ละทักษะพนื้ ฐานในการสรา้ งนวัตกรรม

คมู่ อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 32

ระดบั ประเดน็ พิจำรณำ
คณุ ภำพ
ดเี ลิศ  ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สารเพื่อพัฒนาตนเองได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย
ยอดเยี่ยม
 ผู้เรยี นมคี วามรทู้ กั ษะพื้นฐาน และเจตคติทีด่ ตี ่องานอาชพี
1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รยี น
ผ้เู รยี นมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดีเป็นไปตามเป้าหมายที่
สถานศกึ ษากาหนด
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

 ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สารและ
การคิดคานวณสงู กวา่ เป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาสูง
กวา่ เป้าหมายท่สี ถานศึกษากาหนด

 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์คดิ อย่างมี
วิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และ
แก้ปัญหาได้

 ผเู้ รยี นมีความร้แู ละทักษะพนื้ ฐานในการสร้างนวตั กรรม

 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอ่ื สารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในดา้ น
การเรยี นรู้ การส่ือสาร การทางาน

 ผเู้ รยี นมีความรู้ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติทีด่ ีพร้อมท่จี ะศึกษา
ตอ่ ในระดบั ช้ันที่สงู ขน้ึ และการทางานหรืองานอาชีพ

1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ของผู้เรียน

 ผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะและคา่ นิยมทีด่ ีสงู กวา่ เปา้ หมายท่ี
สถานศึกษากาหนด

1.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น

 ผู้เรยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสือ่ สารและ

คูม่ ือการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 33

ระดับ ประเด็นพจิ ำรณำ
คณุ ภำพ
การคดิ คานวณ สูงกว่าเปา้ หมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 ผเู้ รียนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
สูงกว่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษากาหนด

 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์คิดอย่างมี
วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ โดยใชเ้ หตผุ ล
ประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้

 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
มีการนาไปใชแ้ ละเผยแพร่

1.2 คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ของผเู้ รียน

 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเอง และสังคมในด้านการเรยี นร้กู าร
สอ่ื สาร การทางานอย่างสร้างสรรคแ์ ละมคี ุณธรรม

 ผู้เรยี นมคี วามรู้ทักษะพื้นฐาน และเจตคติทดี่ ีพร้อมทีจ่ ะศกึ ษา
ตอ่ ในระดับชนั้ ที่สงู ข้นึ และการทางานหรอื งานอาชีพ

 ผู้เรยี นมีคณุ ลกั ษณะและค่านิยมท่ีดสี งู กวา่ เปา้ หมายที่
สถานศกึ ษากาหนดเปน็ แบบอย่างได้

 ผเู้ รียนมคี วามภูมใิ จในทอ้ งถิ่น เห็นคุณค่าของ
ความเปน็ ไทย มีสว่ นรว่ มในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม ประเพณี
และภมู ิปัญญาไทย

 ผเู้ รียนสามารถอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
ผเู้ รยี นมสี ุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
สูงกวา่ เปา้ หมายท่สี ถานศึกษากาหนด

ค่มู ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 34

มำตรฐำนที่ 2 กระบวนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
2.1 มเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากาหนดชดั เจน
2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม

หลักสตู รสถานศกึ ษาและทุกกลมุ่ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัด

การเรียนรู้อย่างมีคณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนุนการบริหารจัดการ

และการจดั การเรยี นรู้

คำอธิบำย
มำตรฐำนท่ี 2 กระบวนกำรบรหิ ำรและกำรจัดกำร

เป็น ก า ร จัด ร ะ บ บ บ ริห า ร จัด ก า ร คุณ ภ า พ ข อ ง ส ถ า น ศึก ษ า
มีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจน สามารถดำเนินงาน
พัฒนาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาใน
ทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาดำเนินการ
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศ เพือ่ สนับสนุนการบริหารจดั การและการเรียนรู้ รวมท้ังจัด
สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรู้

2.1 มเี ป้ำหมำย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ ทส่ี ถำนศกึ ษำกำหนด
ชัดเจน

สถานศึกษากาหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจ ไว้อย่าง
ชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน
วตั ถุประสงค์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ นโยบายของรัฐบาล และของตน้ สังกดั
รวมทัง้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงของสงั คม

ค่มู ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 35

2.2 มรี ะบบบรหิ ำรจัดกำรคณุ ภำพของสถำนศกึ ษำ
สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

อย่างเป็นระบบท้ังในส่วนการวางแผน พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำ
แผนไปปฏบิ ัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบ ประเมินผล
และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง มีการบริหารอตั รากำลัง ทรัพยากรทาง
การศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำ
ข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน
ปรบั ปรงุ และพฒั นา และรว่ มรับผิดชอบตอ่ ผลการจัดการศกึ ษา

2.3 ดำเนินงำนพัฒนำวิชำกำรทเี่ น้นคุณภำพผู้เรียนรอบด้ำน
ตำมหลักสูตรสถำนศึกษำและ ทกุ กลุ่มเป้ำหมำย

สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการ
พัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เช่ือมโยงวิถีชีวิตจริง
และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย หมายร วมถึงการจัดการเรียนการสอนของกลุ่ม
ที่เรียนแบบควบรวมหรือกลุ่มทเ่ี รียนร่วมด้วย

2.4 พัฒนำครแู ละบุคลำกรให้มีควำมเช่ียวชำญทำงวิชำชีพ
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเช่ียวชาญ

ทางวิชาชพี และจัดให้มีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชีพ มาใชใ้ นการพัฒนางานและ
การเรียนรู้ของผเู้ รียน

2.5 จัดสภำพแวดล้อมทำงกำยภำพและสังคมท่ีเอ้ือต่อกำรจัดกำร
เรียนรู้

สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและ
ภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
และมคี วามปลอดภยั

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศเพ่ือสนับสนุนกำรบริหำรจัดกำร
และกำรจัดกำรเรยี นรู้

สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพ
ของสถานศึกษา

ระดบั คูม่ ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 36
คณุ ภำพ
กำลังพัฒนำ ประเด็นพจิ ำรณำ
ปำนกลำง
 เป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนด
ดี ไมช่ ัดเจน

ดเี ลศิ  มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาแต่ไม่สง่ ผล
ตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

 เปา้ หมายวิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจท่สี ถานศกึ ษากาหนด
ชัดเจนเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ัติ

 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่สง่ ผลต่อ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

 เปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกิจท่ีสถานศกึ ษากาหนด
ชดั เจนสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของสถานศกึ ษาเปน็ ไปได้
ในการปฏิบตั ิ

 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาที่ชดั เจน
ส่งผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

 ดาเนินงานพฒั นาวิชาการทีเ่ น้นคณุ ภาพผ้เู รยี นรอบด้าน
ตามหลกั สตู รสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย

 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวชิ าชีพ
 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อ

การจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ
 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบริหาร

จัดการและการจัดการเรยี นรู้
 มีเป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกจิ ท่สี ถานศึกษากาหนด

ชดั เจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศกึ ษาความต้องการ
ชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแหง่ ชาติเปน็ ไปได้
ในการปฏิบัติ
 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาทช่ี ัดเจน

ระดบั คูม่ ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 37
คุณภำพ
ประเด็นพิจำรณำ

มีประสิทธิภาพ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของผู้เกยี่ วข้องทุกฝา่ ย
 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ น
ตามหลักสตู รสถานศึกษา และทุกกลุม่ เปา้ หมาย เช่ือมโยง
กบั ชีวิตจรงิ
 พฒั นาครูและบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา
 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมที่เอ้ือตอ่
การจดั การเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย
 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหาร
จดั การและการจดั การเรยี นร้ทู ี่เหมาะสมกับสภาพของ
สถานศกึ ษา

ยอดเยี่ยม  มีเป้าหมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนด
ชัดเจน สอดคล้องกบั บริบทของสถานศึกษาความต้องการ
ชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศึกษาแห่งชาติเป็นไปได้
ในการปฏบิ ัติทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง

 มรี ะบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาทีช่ ัดเจน
มปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมอื ของผู้เกยี่ วข้องทุกฝา่ ย
มกี ารนาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรงุ พัฒนางานอยา่ ง
ต่อเนือ่ งและเปน็ แบบอย่างได้

 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ น
ตามหลกั สูตรสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยง
กับชีวิตจริง และเปน็ แบบอย่างได้

คู่มือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 38

ระดับ ประเดน็ พจิ ำรณำ
คุณภำพ
 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
ตรงตามความต้องการของครแู ละสถานศึกษา และจดั ให้มี
ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพเพ่อื พฒั นางาน

 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้ือต่อ
การจัดการเรยี นรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย
จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบรหิ าร
จดั การและการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศกึ ษา

มำตรฐำนที่ 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนทเี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ
3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไป

ประยุกต์ใช้ในชวี ิตได้
3.2 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ีเ่ อ้ือตอ่ การเรียนรู้
3.3 มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก
3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมา

พัฒนาผู้เรียน
3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ

ปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้

คำอธบิ ำย
มำตรฐำนท่ี 3 กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของ
หลักสูตรสถานศึกษา สรา้ งโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด
และปฏิบัติจริงมีการบริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ครูรู้จัก
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดาเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและ

คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 39

นาผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนาผลท่ีได้มาให้ข้อมูล
ปอ้ นกลบั เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

3.1 จัดกำรเรียนรู้ผ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏิบัตจิ ริง และสำมำรถ
นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นกำรดำเนนิ ชีวติ

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดของ
หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ
จริง มีแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีสามารถนาไปจดั กจิ กรรมได้จริง มีรูปแบบการจัดการ
เรียนรู้เฉพาะสาหรับผู้ที่มีความจาเป็นและต้องการความช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียน
ได้รับการฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตได้( สะท้อน 3.1)

3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสำรสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อกำร
เรยี นรู้

มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้ง
ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหา
ความรดู้ ้วยตนเองจากสอื่ ทห่ี ลากหลาย

3.3 มีกำรบริหำรจดั กำรชน้ั เรยี นเชงิ บวก
ครูผู้สอนมีการบริหารจัดการช้ันเรียน โดยเน้นการกา รมี

ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็กรักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้
สามารถเรยี นร้รู ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่ำงเป็นระบบ และนำผลมำ
พฒั นำผ้เู รยี น

มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็น
ระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับ
เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้
พฒั นาการเรียนรู้

3.5 มีกำรแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลป้อนกลับเพื่อปรับปรุง
และพฒั นำกำรจัดกำรเรยี นรู้

คู่มอื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 40

ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกั นแลกเปลี่ยนความรู้และ
ประสบการณ์รวมทั้งให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้

ระดบั ประเด็นพจิ ำรณำ
คณุ ภำพ
กำลังพัฒนำ  จัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ไม่เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้ใชก้ ระบวนการ
คิดและปฏบิ ัตจิ ริง
ปำนกลำง
 ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่ไม่เอ้ือต่อ
ดี การเรยี นรู้

ดเี ลิศ  ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างไมเ่ ปน็ ระบบ

 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ ตามมาตรฐาน
การเรียนร้ตู ัวช้วี ดั ของหลักสตู รสถานศึกษา
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ

 ใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่เี อ้ือตอ่ การเรยี นรู้

 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเป็นระบบและ
นาผลมาพฒั นาผูเ้ รียน

 จดั กจิ กรรมการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ ตาม
มาตรฐานการเรียนรูต้ ัวชี้วดั ของหลักสูตรสถานศกึ ษา
และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวติ

 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรูท้ ีเ่ ออ้ื
ตอ่ การเรยี นรู้

 มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก

 มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่ือพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้

 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงตามมาตรฐาน
การเรยี นรู้ตัวชี้วดั ของหลกั สตู รสถานศกึ ษา

 มแี ผนการจดั การเรียนร้ทู ่ีสามารถนาไปจัดกจิ กรรมได้จรงิ

คู่มือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปงี บประมาณ 2565 41

ระดับ ประเด็นพิจำรณำ
คณุ ภำพ
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
ยอดเย่ียม
 ใช้สือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้รู วมทัง้ ภมู ปิ ัญญา
ท้องถนิ่ ทีเ่ อ้อื ต่อการเรยี นรู้

 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ มขี ้ันตอน
โดยใชเ้ ครือ่ งมือและวธิ ีการวัดและประเมินผลทเ่ี หมาะสม
กับเป้าหมายในการจัดการเรียนรใู้ ห้ขอ้ มูลย้อนกลบั แก่ผู้เรียน
และนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น

 มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก เด็กรักท่ีจะเรยี นรู้
และเรยี นรรู้ ่วมกันอยา่ งมีความสขุ

 มีชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครเู พ่ือพฒั นา
และปรับปรงุ การจัดการเรยี นรู้

 จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง
ตามมาตรฐานการเรียนร้ตู ัวชีว้ ดั ของหลักสูตรสถานศกึ ษา

 มแี ผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จรงิ และ
สามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้มนี วตั กรรมใน
การจดั การเรียนร้แู ละมีการเผยแพร่

 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้รวมท้ัง
ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้โดยสร้างโอกาสให้ผเู้ รยี น
ได้แสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง

 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ มขี ้ันตอน
โดยใช้เครือ่ งมือและวธิ ีการวัดและประเมินผลท่เี หมาะสมกับ
เป้าหมายในการจดั การเรยี นรู้ ให้ข้อมูลย้อนกลับ
แกผ่ ูเ้ รยี น และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น

 มกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชิงบวกเดก็ รกั ท่จี ะเรยี นร้แู ละ
เรยี นรู้รว่ มกันอย่างมีความสุข

คู่มอื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 42

ระดบั ประเด็นพจิ ำรณำ
คุณภำพ
 มีชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี ระหวา่ งครูและผู้เกี่ยวข้อง
เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นร้คู รแู ละผ้เู ก่ียวข้อง

 มีการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะท้อนกลบั
เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้

มำตรฐำนที่ 4 กำรบริหำรจัดกำรสิ่งแวดลอ้ มท่ีทันสมัยเพอื่ กำรพัฒนำท่ี
ยัง่ ยืน

1. การบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมสถานศึกษา
2. การมสี ว่ นร่วมและการสร้างเครือข่ายสง่ิ แวดล้อม

คำอธิบำย
มำตรฐำนที่ 4 กำรบริหำรจัดกำรด้ำนสิ่งแวดล้อมที่ทันสมัยเพื่อกำร
พัฒนำทยี่ งั่ ยืน

สถานศึกษามีระบบการบริห ารจัดการด้า นสิ่งแวดล้อมท่ี มี
ประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้บริหาร ครูและ
บุคลากรในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในด้านสิ่งแวดล้อม มีภาคีเครือข่ายใน
การดาเนนิ งานด้านส่งิ แวดล้อมที่ยงั่ ยนื

4.1 กำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมใน
สถำนศึกษำ

ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ในการพัฒนาคุณภาพด้านสิ่งแวดล้อมมีการ
กาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ และแผนงานหรือโครงการด้าน
ส่ิงแวดล้อมศึกษามีการใช้ข้อมูลสารสนเทศในการบริหารจัดการด้านส่ิงแวดล้อม
ทรพั ยากรอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมกี ารบรหิ ารจัดการภมู ิทัศน์ ดาเนินงานตามแผนงาน
โครงการและนิเทศติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ มีการส่งเสริม สนับสนุน

คูม่ ือการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2565 43

งบประมาณและทรัพยากร พัฒนาแหล่งเรียนรู้เอ้ือต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน มีการ
เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์งานด้านสงิ่ แวดล้อมศกึ ษา

4.2 กำรมสี ่วนรว่ มและกำรสรำ้ งเครอื ข่ำยสง่ิ แวดลอ้ มศกึ ษำ
การมีส่วนร่วมของบุคลากร ชุมชน และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง

การสรา้ งภาคเี ครอื ข่ายในการดาเนินงานดา้ นสง่ิ แวดล้อม ขยายภาคีเครอื ขา่ ยในการ
ดาเนนิ งานดา้ นสง่ิ แวดล้อม

ระดับ ประเด็นพจิ ำรณำ
คุณภำพ
กำลงั พฒั นำ  การมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากรในสถานศึกษาด้านส่ิงแวดล้อม
 การมีสว่ นร่วมของชมุ ชน และหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องดา้ น
ปำนกลำง
สิง่ แวดลอ้ ม
ดี  การสรา้ งภาคีเครือข่ายในการดาเนนิ งานด้านสิ่งแวดล้อม
 ผู้บรหิ ารมีวิสยั ทศั น์ในการพัฒนาคณุ ภาพด้านสิง่ แวดลอ้ ม
 มีการส่งเสริม สนบั สนุน งบประมาณและทรัพยากร
 การมสี ่วนรว่ มของบคุ ลากรในสถานศกึ ษาด้านสิ่งแวดล้อม
 การมสี ่วนร่วมของชมุ ชน และหน่วยงานที่เกย่ี วข้องดา้ น

ส่งิ แวดล้อม
 การสรา้ งภาคีเครือขา่ ยในการดาเนินงานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม
 ผบู้ รหิ ารกาหนดนโยบาย/วสิ ยั ทัศน/์ พันธกิจ/เปา้ ประสงค/์

และแผนงานหรือโครงการด้านส่งิ แวดลอ้ ม
 มกี ารดาเนนิ งานตามแผนงานโครงการและนเิ ทศตดิ ตาม

ประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบ
 มกี ารบริหารจัดการภูมทิ ศั น์เอ้อื ต่อการเรียนรู้
 พัฒนาแหล่งเรียนรดู้ ้านการจัดการสงิ่ แวดล้อมในสถานศึกษา
 มีการเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์งานด้านส่ิงแวดล้อม

ระดับ คมู่ อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 44
คณุ ภำพ
ดเี ลศิ ประเด็นพิจำรณำ

ยอดเยี่ยม  การมสี ่วนรว่ มของบคุ ลากร ชุมชน และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง
 การสรา้ งภาคเี ครือขา่ ยในการดาเนนิ งานดา้ นส่ิงแวดล้อม

 ผบู้ ริหารกาหนดนโยบาย/วสิ ยั ทัศน์/พนั ธกจิ /เป้าประสงค์
/และแผนงานหรือโครงการด้านส่งิ แวดล้อม

 มีการนาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจดั การด้าน
สง่ิ แวดล้อม/ทรัพยากรอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

 มีการดาเนินงานตามแผนงานโครงการและนิเทศตดิ ตาม
ประเมินผลอยา่ งเปน็ ระบบ

 มีการส่งเสรมิ สนับสนุน งบประมาณและทรัพยากร
 มีการบรหิ ารจัดการภูมิทศั นเ์ ออื้ ต่อการเรียนรู้
 พัฒนาแหลง่ เรยี นรดู้ ้านการจัดการส่งิ แวดลอ้ มในสถานศึกษา
 มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งานดา้ นสง่ิ แวดล้อม
 การมสี ่วนร่วมของบุคลากร ชุมชน และหน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง
 การสรา้ งภาคีเครือข่ายในการดาเนินงานด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
 ผู้บรหิ ารกาหนดนโยบาย/วิสัยทัศน์/พนั ธกจิ /เปา้ ประสงค์/

และแผนงานหรือโครงการด้านสิ่งแวดล้อม
 มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจดั การด้าน

สิ่งแวดลอ้ ม/ทรัพยากรอย่างมีประสิทธภิ าพ
 มีการดาเนนิ งานตามแผนงานโครงการและนเิ ทศติดตาม

ประเมนิ ผลอย่างเปน็ ระบบ
 มีการส่งเสริม สนบั สนนุ งบประมาณและทรัพยากร
 มกี ารบรหิ ารจัดการภมู ิทศั น์เอ้ือต่อการเรยี นรู้
 พัฒนาแหลง่ เรยี นรดู้ ้านการจัดการส่งิ แวดล้อมในสถานศึกษา
 มีการเผยแพร่ประชาสมั พันธง์ านด้านสิง่ แวดล้อม

ระดบั คมู่ ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2565 45
คณุ ภำพ
ประเดน็ พจิ ำรณำ
 การมสี ่วนรว่ มของบุคลากร ชุมชน และหนว่ ยงานที่เก่ียวข้อง
 การสรา้ งภาคเี ครือขา่ ยในการดาเนินงานดา้ นสิ่งแวดล้อม
 การขยายภาคเี ครือขา่ ยในการดาเนินงานดา้ นส่งิ แวดล้อม

คมู่ อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2565 46

บทที่ 3
แนวปฏบิ ัตกิ ำรดำเนินงำน
ระดับสำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำประถมศึกษำขอนแก่น เขต 4

บทบำทหนำ้ ท่ี
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4 ในฐานะ

หน่วยงานท่ีกากับดูแลสถานศึกษา กาหนด นโยบายช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน
และตรวจสอบติดตามให้สถานศึกษาได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
โดยบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต้นสงั กดั พอสรปุ ได้ดังน้ี

(1) สร้างจิตสานึกและค่านิยมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ
การประกนั คณุ ภาพการศึกษาใหเ้ กิดแกบ่ ุคลากรทุกฝา่ ยในหนว่ ยงาน

(2) ประกาศนโยบาย/ทิศทางและเป้าหมายในการพัฒนาระบบ
การประกนั คุณภาพการศึกษาของระดบั หนว่ ยงานต้นสังกดั และระดบั สถานศึกษา

(3) กาหนดมาตรการในการสนับสนุนและช่วยเหลือผลักดัน
ระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาให้ประสบความสาเร็จ สามารถดาเนินการอยา่ ง
เป็นระบบและต่อเนือ่ ง โดยเฉพาะมาตรการทางด้านงบประมาณและบุคลากร

(4) กากับ ติดตามการดาเนินงานของหน่วยงานในสงั กัดท้ังในส่วนของ
การเตรยี มการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพจาก
ภายนอก

4.1 ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของ
สถานศึกษาตลอดจนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพ่ือให้
การประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแหง่ พฒั นาอย่างต่อเน่ือง

4.2 จดั ส่งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self- Assessment Report : SAR) พรอ้ มกบั ประเด็นที่ต้องการให้มกี าร
ประเมนิ ผลและติดตามตรวจสอบซึง่ รวบรวมไดจ้ ากหน่วยงานที่เกีย่ วข้องหรอื ผู้มี
ส่วนได้สว่ นเสยี กับสถานศึกษา ไปยงั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน
และสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)
หรือ สมศ. เพ่อื ใช้เป็นข้อมลู และแนวทางในการประเมนิ คุณภาพภายนอก