ประกัน ออม ทรัพย์ ที่ไหน ดี 2561

ขอแนะนำแผนประกันสุขภาพเด็กแบบออม เบี้ยประกัยไม่เสียทิ้ง มีเงินสะสมให้ลูกในอนาคตและมีความคุ้มครองค่ารักษาพยาบาลให้ลูกด้วย เลือกแผนประกันสุขภาพเด็กได้ตามความเหมาะสม ประกันสุขภาพเด็กแบบออม

รายละเอียดแบบประกันภัยแบบประกันภัยหลัก :สะสมทรัพย์ 25 ปี ชำระเบี้ยประกันภัย 15 ปี พิเศษจำนวนเงินเอาประกันภัยเริ่มต้น :200,000 บาทความคุ้มครองชีวิตสูงสุด 135% ของจำนวนเงินเอาประกันภัยเริ่มต้น :270,000 บาทระยะเวลาคุ้มครอง :25 ปีระยะเวลาชำระเบี้ยประกันภัย :15 ปีได้รับเงินคืนตามสัญญา รายงวดๆละ :ปีละ 2,000 บาท ปีที่ 2-24 รวม 46,000 บาทได้รับเงินคืนเมื่อครบสัญญา :242,000 บาทรวมผลประโยชน์ที่ได้รับ :288,000 บาท

จุดเด่น ประกันสุขภาพเด็กแบบออม

  • สร้างวินัยในการเก็บเงินให้ลูกสุดที่รัก
  • ได้ประกันสุขภาพและออมเงินไปพร้อมกัน

ตางรางผลประโยชน์ประกันสุขภาพเด็ก AIA HS Extra

สัญญาเพิ่มเติมเอไอเอ เอช แอนด์ เอส เอ็กซ์ตร้า

AIA H&S EXTRA |  สัญญาเพิ่มเติมกลุ่มค่ารักษาพยาบาล

ระยะเวลาความคุ้มครอง สูงสุดถึงอายุ 80 ปี

อายุผู้ขอเอาประกันภัย* 1 เดือน – 70 ปี

ช่องทางการขาย ตัวแทนประกันชีวิต

จุดเด่นผลิตภัณฑ์ ประกันสุขภาพเด็กแบบออม

สุขภาพดี เป็นสิ่งที่ปรารถนาของทุกคน แต่การเจ็บป่วยยังเป็นความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ ซึ่งนอกจากจะเสียสุขภาพและเสี่ยงเสียชีวิตแล้ว ยังอาจเสียค่าใช้จ่ายจำนวนมากได้อีกด้วย ประกันสุขภาพจึงช่วยลดภาระทางการเงินให้คุณ ในยามที่คุณต้องเจอกับโรคภัยไข้เจ็บ เพื่อให้ฟื้นคืนสู่สุขภาพดีในเวลาสั้นที่สุด สัญญาเพิ่มเติม AIA H&S Extra จะช่วยให้คุณคลายกังวลหากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน

ประกันสุขภาพแบบใหม่ AIA H&S Extra

เอไอเอ เอช แอนด์ เอส เอ็กตร้า คือ สัญญาเพิ่มเติมประกันสุขภาพตัวใหม่ของบริษัท เอไอเอ จำกัด ซึ่งเปิดขายวันที่ 10 พฤษภาคม 2561 นี้ แผนประกันสุขภาพตัวนี้ให้วงเงินค่าห้องพยาบาล ค่ารักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นจากแผนประกันสุขภาพตัวเดิม H&S และที่สำคัญแผนประกันสุขภาพ AIA H&S Extra ยังสามารถใช้กรณีผู้ป่วยนอกได้ OPD แบบเหมาจ่ายตามจริง ไม่เกินวงเงินที่กำหนดของแผนนั้นๆ จุดเด่นอีกข้อถ้าไม่มีการเคลม มีเงินคืนพิเศษให้ด้วย และที่สำคัญ ประกันเด็กอายุ 0 – 5 ปี ยังสามารถซื้อแผนประกันสุขภาพค่าห้องพยาบาลได้สูงสุดถึงวันละ 5000 บาท รายละเอียดความคุ้มครองของแผน เอไอเอ เอช แอนด์ เอส เอ็กตร้า ดูตามตารางข้างล่างนี้ได้เลยครับ

ตารางผลประโยชน์โดยย่อของ AIA H&S Extraแผน 1500แผน 2000แผน 2500แผน 3500แผน 4500แผน 5500แผน 65001. กรณีเข้าพักรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยใน (รวมกรณี Day Case)
ข้อมูล 1.1 ถึง 1.7 ชดเชยต่อการเข้าพักรักษาตัวครั้งใดครั้งหนึ่ง1.1 ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาลประจำวันต่อวัน (สูงสุดไม่เกิน 125 วัน)
– กรณีพักห้อง ICU ผลประโยชน์จะได้รับเป็น 2 เท่า (สูงสุดไม่เกิน 30 วันต่อครั้งต่อโรค)1,5002,0002,5003,5004,5005,5006,5001.2 ค่าแพทย์ตรวจรักษาในโรงพยาบาลประจำวันต่อวัน (สูงสุดไม่เกิน 125 วัน)6007008009001000110012001.3 ค่าแพทย์ผ่าตัดและหัตถการ50,00060,00080,00090,000100,000110,000120,0001.4 ค่าแพทย์วิสัญญี5,0006,0008,0009,00010,00011,00012,0001.5 ค่าห้องผ่าตัดและอุปกรณ์ในห้องผ่าตัด8,00010,00012,00013,00014,00015,00016,0001.6 ค่ารักษาพยาบาลอื่นๆ ในโรงพยาบาล14,00018,00020,00025,00030,00035,00040,0001.7 ค่าตรวจวินิจทางรังสิตและการตรวจทางห้องปฎิบัติการผู้ป่วยนอก ซึ่งเกิดขึ้นภายใน 30 วันก่อนหรือหลังการเข้ารักษาพยาบาลในโรงพยาบาลครั้งนั้น2,0002,5003,0004,0005,0006,0007,0002. กรณีเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยนอกของ ร.พ.
ข้อ 2.1 และข้อ 2.3 ชดเชยต่อปีกรมธรรม์ ข้อ 2.2 ชดเชยต่อการบาดเจ็บแต่ละครั้ง2.1 ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก3,0004,0005,0006,0007,0008,0009,0002.2 ค่ารักษาพยาบาลฉุกเฉิน (เนื่องจากอุบัติเหตุ) ภายใน 24 ชั่วโมง3,0004,0005,0007,0008,0009,00010,0002.3 ค่าล้างไตผ่านทางเส้นเลือด ค่าเคมีบำบัด และค่ารังสีบำบัด20,00025,00035,00040,00050,00060,00070,0003. ผลประโยชน์อื่นๆ3.1 ผลประโยชน์เงินคืนพิเศษ1,5002,0002,5003,0003,5004,0004,5003.2 ผลประโยชน์เงินช่วยเหลือกรณีเสียชีวิต10,00010,00010,00010,00010,00010,00010,000
รวมผลประโยชน์ผู้ป่วยใน สูงสุดต่อครั้ง/โรค (บาท)
386,500
494,000
610,500
796,000
981,500
1,167,000
1,325,000

*โปรดศึกษาและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมผ่านทางตัวแทนประกันชีวิตที่คอยให้บริการท่านด้านล่างหน้าเพจนี้

การรักษาแบบ Day Case (ไม่ต้องนอน รพ. เบิกได้) ดังนี้

  1. การสลายนิ่ว ( ESWL:Extracorporeal Shock Wave Lithotripsy )
  2. การตรวจเส้นเลือดหัวใจโดยการฉีดสี ( Coronary Angiogram / Cardiac Catheterization )
  3. การผ่าตัดต้อกระจก ( Extra Capsular Cataract Extraction with Intra ocular Lens )
  4. การผ่าตัดโดยการส่องกล้องทุกชนิด ( Laparoscopic )
  5. การตรวจโดยการส่องกล้องทุกชนิด ( Endoscope )
  6. การผ่าตัด หรือเจาะไซนัส ( Sinus Operations )
  7. การรักษาริดสีดวงทวารโดยการฉีดยาหรือผูก ( Injection or Rubber Band Ligation )
  8. การตัดก้อนเนื้อที่เต้านม ( Excision Breast Mass )
  9. การตัดชิ้นเนื้อจากกระดูก ( Bone Biopsy )
  10. การตัดชิ้นเนื้อเพื่อการวินิจฉัยจากอวัยวะใด ๆ ( Tissue Biopsy )
  11. การตัดนิ้วมือหรือนิ้วเท้า ( Amputation )
  12. การจัดกระดูกให้เข้าที่ ( Manual Reduction )
  13. การเจาะตับ ( Liver Puncture / Liver Aspiration )
  14. การเจาะไขกระดูก ( Bone Marrow Aspiration )
  15. การเจาะช่องเยื่อหุ้มไขสันหลัง ( Lumbar Puncture )
  16. การเจาะช่องเยื่อหุ้มปอด ( Thoracentesis / Pleuracentesis / Thoracic Aspiration / Thoracic Paracentesis )
  17. การเจาะช่องเยื่อบุช่องท้อง ( Abdominal Paracentesis / Abdominal Tapping )
  18. การขูดมดลูก ( Curettage, Dilatation & Curettage, Fractional Curettage )
  19. การตัดชิ้นเนื้อจากปากมดลูก ( Colposcope, Loop diathermy )
  20. การรักษา Bartholin ‘s Cyst ( Marsupialization of Bartholin ‘s Cyst )
  21. การรักษาโรคด้วยรังสีแกมม่า ( Camma Knife )

สิ่งที่คุณจะได้รับแผนประกันเด็ก

  • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน IPD เมื่อเข้าพักรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาล รวมทั้งกรณี Day Case
  • ค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก OPD เมื่อเข้ารับการรักษาพยาบาลเป็นผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล
  • ผลประโยชน์เงินคืนพิเศษ หากสัญญาเพิ่มเติมนี้มีผลบังคับมาไม่น้อยกว่า 1 ปี และกรณีที่ไม่มีการเรียกร้องผลประโยชน์ใดๆ ทั้งกรณีเป็นผู้ป่วยในโรงพยาบาล หรือรับการรักษาเป็นผู้ป่วยนอก หรือผลประโยชน์กรณีเสียชีวิตภายในรอบปีกรมธรรม์นั้นๆ (โดยต้องไม่มีการขาดอายุ หรือยกเลิกสัญญาเพิ่มเติมนี้ระหว่างปีกรมธรรม์) รวมทั้งได้มีการชำระเบี้ยประกันภัยในงวดถัดไปภายในระยะเวลาผ่อนผันการชำระเบี้ยประกันภัย ทั้งนี้ สำหรับกรณีชำระเบี้ยประกันภัยแบบรายเดือนต้องชำระเบี้ยประกันภัยอย่างน้อย 3 งวด
  • ผลประโยชน์เงินช่วยเหลือกรณีเสียชีวิต กรณีเสียชีวิตในขณะที่สัญญาเพิ่มเติม AIA H&S Extra ยังมีผลบังคับ
  • เบี้ยประกันใช้ลดหย่อนภาษีเงินได้ตามที่กฏหมายกำหนด**

เกร็ดความรู้

ผู้ป่วยใน (IPD) หมายถึงอะไร ผู้ที่จำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลติดต่อกันไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมง ซึ่งต้องลงทะเบียนเป็นผู้ป่วยในโดยได้รับการวินิจฉัย และคำแนะนำจากแพทย์ตามข้อบ่งชี้ ซึ่งเป็นมาตรฐานทางการแพทย์ และในระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการรักษาการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วยนั้นๆ และให้รวมถึงกรณีรับตัวให้เป็นผุ้ป่วยในแล้วต่อมาเสียชีวิตก่อนครบ 6 ชั่วโมง

ผู้ป่วยนอก (OPD) หมายถึงอะไร ผู้ที่รับบริการอันเนื่องจากการรักษาพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอก OPD ของโรงพยาบาล หรือในห้องรักษาฉุกเฉินของโรงพยาบาล ซึ่งไม่มีความจำเป็นตามข้อวินิจฉัยและข้อบ่งชี้ซึ่งเป็นมาตรฐานทางการแพทย์ในการเข้ารักษาเป็นผู้ป่วยใน