ในระบบฐานข้อมูลมีการแบ่งระดับของข้อมูลเป็นกี่ระดับ

�дѺ�ͧ������

�к��ҹ������ �繡�ùӢ������ͧ���÷���դ�������Ǣ�ͧ�ѹ�����������ҧ���к�㹷�����ǡѹ �·������ҹ�����Ũ��ͧ�����Ź��������������Ƿ��ᵡ��ҧ�ѹ仵���ش���ʧ��ͧ��û���ء����ҹ �¼���������繵�ͧʹ�����ѡɳС�èѴ�红����������ԧ���������� ���к��ҹ�����Ũзӡ�ë�͹��������´��� �¨Ѵ���дѺ�ͧ�������͡���дѺ���

�дѺ��鹢ͧ�����Ŷ١�Ѳ�Ң���� The Standards Planing and Requiremenst Committee (SPARC) �ͧ American National Standards institure (ANSI) �ж١���͡�� 4 �дѺ

1.1 �дѺ��¹͡ (external level) ���дѺ��������٧�ش�¼��������ö�ͧ��繧ҹ�ͧ��������Ф� �������ö���¡��ҹ����������дѺ���

1.2 �дѺ��ѡ��� (conceptual level) ���дѺ�������Ѵ��������� �дѺ�ͧ����ͧ��������Ţͧ�к��ҹ�����������駡�ࡳ���ҧ � ����ǡѺ��������м�������Է�Ԩ��� ��������дѺ���ж١�����������������ͼ����¹�����

1.3 �дѺ���� (internal level) ���дѺ�ͧ��èѴ��������ѹ�������ҧ��������Ţͧ�к��ҹ��������С��������§������������� ��������дѺ���ж١���¼��Ѵ��ðҹ��������м����¹������к� (system programmer)

ในระบบฐานข้อมูลมีการแบ่งระดับของข้อมูลเป็นกี่ระดับ

1.4 �дѺ�ç���ҧ���ԧ (physical organization level) ���дѺ����ӷ���ش�ѹ���� ������ͧ��������ŷ��Ѵ���������������Ũ�ԧ����ç���ҧ�ͧ���������

�Ҿ���1.2 �ʴ��дѺ��鹢ͧ������

����ª��ͧ������дѺ��鹹��������������������е�͡ѹ ����������Тͧ�����Ť�� ��÷����������ͧ�Ҥ���������������ҹ㹷ء � ���駷���Դ�������¹�ŧ��䢰ҹ������ �к��Ѵ��ðҹ�����Ũз�˹�ҷ��������§�����������ҧ�����дѺ

งานนำเสนอเรื่อง: "บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
1. ระดับภายนอกหรือวิว (External Level หรือ View) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลหรือวิว (View) ของตนเอง 2. ระดับแนวความคิด (Conceptual Level) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดลงมา เป็นการมองเอนทิตี้และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ รวมทั้งกฎเกณฑ์และข้อจำกัด ต่าง ๆ ของข้อมูลในระดับนี้ 3. ระดับภายใน (Internal Level หรือ Physical Level) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ล่างสุด เป็นระดับของการจัดเก็บข้อมูลจริง ๆ ว่ามีโครงการจัดเก็บอย่างไร วิธีการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลทำอย่างไร        

2 บทสรุป ความเป็นอิสระของข้อมูล
ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)         ความเป็นอิสระของข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงกายภาพ (Physical Data Independence) 2. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงตรรกะ (Logical Data Independence)        

3 บทสรุป เค้าร่างของฐานข้อมูล เค้าร่างของฐานข้อมูล (Database Schema)
1.เค้าร่างภายนอก (External Schema หรือ Subschema 2.เค้าร่างแนวความคิด ( Conceptual schema) 3.เค้าร่างภายใน (Internal Schema)        

4 บทสรุป ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล ภาษาดังกล่าว แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1.ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL) 2.ภาษาสำหรับดำเนินการกับข้อมูล (Data Manipulation Language : DML) 3.ภาษาสำหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language : DCL)        

5 บทสรุป ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) ระบบจัดการฐานข้อมูล คือ ซอฟต์แวร์ที่ทำหน้าที่จัดการฐานข้อมูล สามารถสรุปหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูล ได้ดังนี้ 1.กำหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล 2.รับและเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล 3.ดูแลรักษาข้อมูล 4.ติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูล        

6 บทสรุป ระบบจัดการฐานข้อมูล
5.ควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล (Integrity Control) 6.ควบคุมความปลอดภัย (Security Control) 7.การสร้างระบบสำรองและการกู้ (Backup and Recovery) 8.ควบคุมภาวการณ์ใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ (Concurrency Control)        

7 บทสรุป ผู้บริหารฐานข้อมูล
ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator : DBA)         ผู้บริหารฐานข้อมูลเป็นผู้ทำหน้าที่ควบคุมการบริหารงานของระบบฐานข้อมูลทั้งหมด เป็นผู้ที่จะต้องตัดสินใจว่า จะรวบรวมข้อมูลใดบ้างเข้าไว้ในระบบ        

บทสรุป

ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ

1 ระดับภายนอกหรือวิว (External Lever หรือ View) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลหรือวิว (View) ของตนเอง

2 ระดับแนวความคิด (ConceptualView) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดมา เป็นการมองเอนทิตี้และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ รวมทั้งกฎเกณฑ์และข้อจำกัดต่างๆ ข้อมูลในระดับนี้

3 ระดับภายใน (Internal Lever หรือ Physical View) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ล่างสุด เป็นระดับการจัดเก็บข้อมูลจริงๆว่ามีโครงสร้างการจัดเก็บอย่างไร วิธีการเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูลทำอย่างไร

ความเป็นอิสระของข้อมูล (Data Independence)

                   ความเป็นอิสระของข้อมูลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

1. ความเป็นอิสระของข้อมูลเชิงกายภาพ (Physical Data Independence)

2. ความเป็นอิสระของข้อมูลในเชิงตรรกะ (Logical Data Independence

เค้าร่างของฐานข้อมูล (Database Schema)

          เค้าร่างที่ได้จากการออกแบบฐานข้อมูล (Database Schema) ซึ่งเป็นการกำหนดว่าฐานข้อมูลจะประกอบด้วยเอนทิตี้ แอททริบิวต์อะไรบ้าง มีความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งได้ 3 ระดับ

1. เค้าร่างภายนอก (External Schema หรือ Subschema หรือ View

2. เค้าร่างแนวความคิด (Conceptual Schema

3. เค้าร่างภายใน (Internal Schema)

ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล ภาษาดังกล่าวแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ

1. ภาษาสำหรับนิยามข้อมูล (Data Definition Language : DDL)

2. ภาษาสำหรับดำเนินการกับข้อมูล (Data Manipulation Language: DML)

3. ภาษาสำหรับการควบคุมข้อมูล (Data Control Language: DCL)

ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System: DBMS)

1. กำหนดและเก็บโครงสร้างฐานข้อมูล                                                                                 

2. รับและเก็บข้อมูลในฐานข้อมูล                                                         

3. ดูแลรักษาข้อมูล                                                                                                              

4. ติดต่อกับตัวจัดการระบบแฟ้มข้อมูล                                                                                  

5.ควบคุมความบูรณะภาพของข้อมูล (Integrity Control)                                                                 

6. ควบคุมความปลอดภัย (Security Control)                                                                        

7. การสร้างระบบสำรองและการกู้ (Backup and Recovery)                                                           

8. ควบคุมภาวการณ์ใช้ข้อมูลพร้อมกันของผู้ใช้ (Concurrency Control)

ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator: DBA)

ผู้บริหารฐานข้อมูล เป็นผู้ที่ทำหน้าที่ควบคุมการบริหารของระบบฐานข้อมูลทั้งหมด เป็นผู้ที่จะต้องตัดสินใจว่าจะรวบรวมข้อมูลใดบ้างเข้าไว้ในระบบ

หน้าที่ 1     หน้าที่ 2     หน้าที่ 3   

ระบบฐานข้อมูลมีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลได้กี่ระดับ พร้อมอธิบายแต่ละระดับ (ตอบบรรยาย) *

สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูลแบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ระดับภายนอก ระดับแนวคิด และระดับภายใน สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลในแต่ละระดับจะมี DBMS ท าหน้าที่แปลง ข้อมูล (Mapping) จากระดับหนึ่งไปสู่ระดับหนึ่ง ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน เช่น ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงวิธีในการจัดเก็บข้อมูลในระดับกายภาพ ก็ไม่มีผลกระทบต่อการ ออกแบบฐานข้อมูลใน ...

ระดับของข้อมูล คืออะไร

1. ระดับภายนอกหรือวิว (External Level หรือ View) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่สูงที่สุด ประกอบด้วยภาพที่ผู้ใช้แต่ละคนจะมองข้อมูลหรือวิว (View) ของตนเอง 2. ระดับแนวความคิด (Conceptual Level) หมายถึง ระดับของข้อมูลที่อยู่ถัดลงมา เป็นการมองเอนทิตี้และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ รวมทั้งกฎเกณฑ์และข้อจำกัด ต่าง ๆ ของข้อมูลใน ...

ระดับใดของข้อมูลที่เป็นการจัดเก็บข้อมูลจริง

1.4 ระดับโครงสร้างแท้จริง (physical organization level) เป็นระดับที่ต่ำที่สุดอันได้แก่ กลุ่มของแฟ้มข้อมูลที่จัดเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลจริงและโครงสร้างของแฟ้มข้อมูล

ระดับชั้นใดที่เป็นระดับของการมองความสัมพันธ์

ระดับความคิด (Conceptual Level) เป็นระดับของการมองความสัมพันธ์ของข้อมูลในระบบฐานข้อมูลว่ามีการจัดเก็บข้อมูลอย่างไร มีความสัมพันธ์กับข้อมูลอื่นอย่างไรบ้าง รวมทั้งกฎเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูล เช่น กฎเกณฑ์ของตัวข้อมูล ความปลอดภัย (security) และความคงสภาพของข้อมูล (integrity)