เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

ความรู้

ประเภทและหลักการทำงานของเครื่องยนต์

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

สิ่งแวดล้อมในวันนี้ คือมรดกที่ดีของลูกหลาน ร่วมกันอนุรักษ์พลังงานเพื่อโลกและบ้านของเรา

วันนี้น้ำไหล พรุ่งนี้น้ำหมด วันนี้สว่างไสว พรุ่งนี้มืดมน ขาดพลังงานจลน์ ไม่น่ากลัวเท่าจนพลังงาน เรียนรู้เครื่องยนต์ จะได้รู้คุณค่าของพลังงาน ที่เราได้ใช้ไปให้คุ้มค่ามากที่สุด

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

ประเภทและหลักการทำงานของเครื่องยนต์

Petrol

  • อุณหภูมิการจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ 1,100 องศาเซลเซียส แรงดัน 5 เมกะปาสคาล
  • อุณหภูมิไอเสียจากการจุดระเบิดเชื้อเพลิง 400-900 องศาเซลเซียส


Diesel

  • อุณหภูมิการจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ 2,600 องศาเซลเซียส แรงดัน 10 เมกะปาสคาล
  • อุณหภูมิไอเสียจากการจุดระเบิดเชื้อเพลิง 200-700 องศาเซลเซียส

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ

  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะ หมายถึง เพลา ข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบ (1 กลวัตร) เครื่องยนต์ทำงานไป 2 จังหวะ
  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะ คือ เครื่องยนต์ที่ทำงาน 2 ช่วงชัก คือช่วงชักที่ 1 คือช่วงชักดูดกับอัด และ ช่วงชักที่ 2 คือช่วงชักระเบิดและคาย และเครื่องยนต์ 2 ช่วงชักจะไม่มีวาล์วเปิดปิดไอดีไอเสีย แต่จะใช้ลูกสูบเป็นตัวเปิดปิดไอดีไอเสียแทน ซึ่งเครื่องยนต์ 2 ช่วงชักจะทำงานรอบจัดกว่าเครื่องยนต์ 4 จังหวะ และการเผาไหม้ก็มีประสิทธิภาพด้อยกว่าเครื่องยนต์ 4จังหวะ
  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะทำงานเหมือนกับเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แต่ใช้เพียง 2 จังหวะเท่านั้น เมื่อใช้ชิ้นส่วนน้อยกว่า เครื่องยนต์ 2 จังหวะจึงมีขนาดเล็กกว่า น้ำหนักเบากว่า ยุ่งยากน้อยกว่า และราคาถูกกว่าเครื่องยนต์ 4จังหวะ
  • การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 2 จังหวะ เพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้นุ่มนวล คุณต้องใช้น้ำมันเครื่องสำหรับ 2 จังหวะคุณภาพสูง น้ำมันเครื่องที่ดีไม่เพียงช่วยทำความสะอาดเครื่องยนต์ ลดแรงเสียดทาน และระบายความร้อน ยังต้องมีประสิทธิภาพด้านความประหยัดด้วย

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

  • เครื่องยนต์ 4 จังหวะ หมายถึง เพลา ข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ เครื่องยนต์ทำงานไป 4 จังหวะ

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คือ

  1. intake (จังหวะดูด) ลูกสูบจะเคลื่อนที่ลง ในขณะที่วาล์วเปิดออก เมื่อไอดีถูกดูดเข้ากระบอกสูบ วาล์วจึงจะปิดลง
  2. compression (จังหวะอัด) ลูกสูบในจุดต่ำสุดจะวิ่งขึ้นไป ไอดีจะถูกอัดให้มีขนาดเล็กลง
  3. power (จังหวะระเบิด) เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดที่สูงที่สุด จะเกิดประกายไฟที่หัวเทียน ไอดีจะถูกเผาไหม้จนได้กำลังงานออกมา และจะถูกส่งผ่านไปยังเพลาข้อเหวี่ยง
  4. exhaust (จังหวะคลายไอเสีย) เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดที่ต่ำที่สุด จะเกิดการเคลื่อนที่ขึ้น ไอเสียก็จะถูกขับออกไป เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดสูงสุดก็จะเคลื่อนที่ลง วาล์วไอเสียก็จะปิด และวาล์วไอดีจะเปิดออก เพื่อเริ่มจังหวะดูดอีกครั้ง

ความคิดเห็น

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

กรุณาเข้าสู่ระบบเพื่อทำการคอมเม้นต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

ภาพเคลื่อนไหวแสดงการทำงานของเครื่องยนต์สี่จังหวะ
1 ‐ ดูดไอดี
2 ‐ อัดไอดี
3 ‐ จุดระเบิด
4 ‐ คายไอเสีย

เครื่องยนต์สี่จังหวะ (อังกฤษ: four-stroke engine) เป็นเครื่องยนต์สันดาปภายในประเภทหนึ่ง ซึ่งลูกสูบมีช่วงชักเต็มกระบอกสูบอยู่สี่ชัก ได้แก่:

  1. ดูด (Intake): ลูกสูบเลื่อนลง สูบไอดีเข้ามา ลิ้นไอดีเปิด เพื่อดูดไอดีเข้ามาในกระบอกสูบ ลิ้นไอเสียปิด
  2. อัด (Compression): ลูกสูบเลื่อนขึ้น จากศูนย์ตายล่าง ขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียปิดสนิท ไอดีถูกแรงดันอัดอย่างรวดเร็ว จนอุณหภูมิสูงถึง 700-900 องศาเซลเซียส
  3. ระเบิด (ignite): ลูกสูบเลื่อนขึ้นไปกระแทกหัวเทียน(ในเครื่องยนต์เบนซิน)จุดประกายไฟเผาไหม้ไอดี เกิดการระเบิดขึ้นในห้องเผาไหม้ แรงระเบิดทำให้ลูกสูบเลื่อนลง ทำให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการหมุน เครื่องยนต์ได้พลังงานในช่วงชักนี้เป็นการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล
  4. คาย (Exhaust): ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้น ลิ้นไอดีปิด ลิ้นไอเสียเปิด แก๊สไอเสียออกจากกระบอกสูบผ่านลิ้นไอเสีย, ท่อไอเสีย และออกสู่ชั้นบรรยากาศภายนอกเครื่องยนต์

ไอดีคือส่วนผสมของไอระเหยหรือละอองเชื้อเพลิงผสมกับอากาศ ไอดีจะถูกดูดเข้ากระบอกสูบหรือฉีดเข้ากระบอกสูบโดยหัวฉีดในช่วงชักดูด และไอดีจะถูกอัดให้มีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 700-900 องศาเซลเซียส แล้วไอดีถูกจุดระเบิดโดยประกายไฟแรงดันประมาณ 25,000 โวลต์จากเขี้ยวหัวเทียน เรียกช่วงชักนี้ว่าช่วงชักระเบิด หรือ "ช่วงชักงาน" แรงระเบิดทำให้ลูกสูบเลื่อนลง เครื่องยนต์ได้งานในช่วงชักนี้ ทำให้เพลาข้อเหวี่ยงเกิดการหมุน เป็นการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล ช่วงชักคายลูกสูบเลื่อนขึ้น ลิ้นไอดี "ปิด" ลิ้นไอเสีย "เปิด" ไอเสียออกจากกระบอกสูบทางลิ้นไอเสียผ่านท่อไอเสียออกสู่ภายนอก เครื่องยนต์ทำงานครบ 4 ช่วงชัก

อ้างอิง[แก้]

เครื่องยนต์ 2 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบจึงจะครบ 1 กลวัตร

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 2 จังหวะ หมายถึงเครื่องยนต์ที่มีการเคลื่อนที่ขึ้นของสูบ 1 ครั้ง และลง 1 ครั้งเพลาข้อเหวี่ยงหมุนไป 1 รอบ (360 องศา) เครื่องยนต์ทำงานครบ 1 กลวัตร (ดูด – อัด – ระเบิด – คาย) ได้กลังงาน 1 ครั้ง จะเห็นได้ว่าใน 1 กลวัตร มีการเคลื่อนที่ขึ้นของสูบ 1 ครั้ง และ ลง 1 ครั้ง รวมเป็น 2 ครั้ง จึงเรียกเครื่องยนต์ ...

1 กลวัตร” เพลาข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์ 4 จังหวะหมุนกี่องศา

เครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ หมายถึง หลักการท างานของเครื่องยนต์ โดยเพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน ครบ 2 รอบ หรือหมุนเป็นมุมรวม 720 องศา และได้ก าลังงาน 1 ครั้งซึ่งลูกสูบจะเลื่อน ต าแหน่งขึ้น 2 ครั้ง และเลื่อนต าแหน่งลง 2 ครั้ง ถือเป็นการท างานครบ 1 กลวัตร จะประกอบด้วย จังหวะการท างาน ดังนี้ สายพานไทม์มิ่ง ท่อร่วมไอดี

เครื่องยนต์ 2 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบ

สรุป การทางานของเครื่องยนต์2 จังหวะคือ ลูกสูบเลื่อนขึ้นลง 2 ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบจะ เกิดการระเบิด 1 ครั้ง คือได้กาลังงาน 1 ครั้ง เครื่อง ยนต์ดีเซล (Diesel Engine)

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงานครบ 1 กลวัฎ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

วัฎจักรการทางานของเครื่องยนต์เล็กดีเซลแบบ 4 จังหวะ คือ ดูด อัด ระเบิด คาย ลูกสูบ จะขึ้นลง 4 ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ คือ 720 องศา ดังรูปที่3.43.