คณะอักษรศาสตร์เอกจีนเรียนกี่ปี

เป็นการศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์ และใช้เครื่องมือที่เรียกว่าภาษาในการสื่อสารให้เข้าใจมนุษย์มากยิ่งขึ้น ซึ่งภาษาที่ศึกษาก็คือภาษาจีน โดยวิชาเรียน อาทิเช่น การอ่านภาษาจีน, การแปลจีน-ไทย, ประวัติวรรณคดีจีน, สนทนาภาษาจีนเบื้องต้น, ภาษาจีนด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ, ภาษาจีนสำหรับการท่องเที่ยว เป็นต้น

คุณสมบัติ

1. สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
2. ไม่เคยต้องโทษตามคำพิพากษาของศาล เว้นแต่ในกรณีที่โทษนั้นเกิดจากความผิดอันได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดอันเป็นลหุโทษ
3. ไม่เคยเป็นผู้มีความประพฤติเสียหาย
4. ไม่เป็นคนวิกลจริต และไม่เป็นโรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคอื่นซึ่งสังคมรังเกียจ
5. ไม่เคยถูกคัดชื่อออกจากสถานศึกษาเพราะมีความผิดทางวินัย
6. สนใจเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอน

#มหาวิทยาลัยคณะ/สาขาระดับชั้นที่เปิดรับปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอกปวช.ปวส.ป.ตรีป.โทป.เอก1มหาวิทยาลัยศรีปทุมคณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาจีนสื่อสารธุรกิจ 

คณะอักษรศาสตร์เอกจีนเรียนกี่ปี
      

แนวทางการประกอบอาชีพ

(1) นักแปล
(2) นักเขียน
(3) บรรณาธิการ
(4) อาชีพในวงการอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและการโรงแรม เช่น มัคคุเทศก์
(5) นักประชาสัมพันธ์ เลขานุการ
(6) อาจารย์สอนภาษาจีนในสถาบันของรัฐและเอกชน
(7) เจ้าหน้าที่สายการบิน
(8) นักข่าว

ที่มาข้อมูล

http://www.dek-d.com/admission/31855/
http://www.human.cmu.ac.th/index.php?activityid=538
http://www.human.nu.ac.th/academic/course/chinese56.pdf

SHARED

ติวเจาะ A-Level ครบทุกวิชา สายแพทย์

บูสต์คะแนน 70 UP กับเคล็ดลับเพิ่มคะแนน A-Level แบบฉุดไม่อยู่

สูตรสำเร็จสอบติดคณะดี ม.ดัง

ครบทุกวิชาในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทั้งเจาะเนื้อหาและเจาะข้อสอบ 7 ม.ดัง มหิดล จุฬาฯ มธ. มช. มข. มอ. มน.

E-Book เรียนอินเตอร์ที่ไหนดี? 2022

พร้อมเทคนิคสอบติดอินเตอร์ ราคา 100 บ. พิเศษ! ดาวน์โหลดฟรี!

U-Recommend แนะนำหลักสูตรแนะนำปี 2023

ชี้เป้า!! สาขา หลักสูตร น่าเรียน มีที่ไหนบ้าง? มาดูกันเลย!!

ใครอยากเป็นเด็กไทย-ญี่ปุ่น โอกาสมาแล้ว!! เปิดรับสมัครรอบ โควตา สอบตรง/ชิงทุน 2

เกรดเฉลี่ย 2.50 ขึ้นไป l สมัครวันนี้ รับส่วนลด 7,000.- ได้เรียนภาษาญี่ปุ่น มีโอกาสไปฝึกงาน ทำงานจริงที่ญี่ปุ่น

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางภาษาและวัฒนธรรมจีน มีกระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล สามารถแสวงหาความรู้เพิ่มเติมและประยุกต์ใช้ภาษาจีนในสาขาวิชาชีพของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของสถานประกอบการทั้งในระดับภูมิภาค และระดับชาติ อีกทั้งยังเป็นหลักสูตรที่มีแผนการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เลือกศึกษาในประเทศ หรือต่างประเทศ โดยจะเลือกเรียนในมหาวิทยาลัยของสาธารณรัฐประชาชนจีน นอกจากทักษะภาษาจีนเชิงวิชาการแล้ว หลักสูตรยังได้จัดรายวิชาเอกเลือกที่เพิ่มพูนทักษะทางวิชาชีพให้กับนักศึกษา อันได้แก่ กลุ่มวิชาการสอนหรือกลุ่มวิชาธุรกิจบริการ ตลอดจนส่งเสริมให้นักศึกษามีโอกาสในการฝึกงาน หรือปฏิบัติสหกิจศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ ฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพในสถานการณ์จริงเพื่อเป็นการสร้างโอกาสในการได้งานทำหลังจากสำเร็จการศึกษาต่อไป

 
คณะอักษรศาสตร์เอกจีนเรียนกี่ปี
 

 รูปแบบของหลักสูตร

หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี โดยจัดการเรียนการสอน จำนวน 2 แผน ดังนี้
      หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2554
      1. แผน 4+0 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 ปี
      2.
แผน 3+1 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3 ปี (ชั้นปีที่ 1, 2 และ 4)
         
และเรียนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน 1 ปี (ชั้นปีที่ 3)

       หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559
       1. แผน 4+0 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 ปี
       2. แผน 3+1 คือ นักศึกษาสามารถเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 3 ปี (ชั้นปีที่ 1, 3 และ 4)
           และเรียนที่สาธารณรัฐประชาชนจีน 1 ปี (ชั้นปีที่ 2)

ความร่วมมือกับสถาบันอื่น

หลักสูตรมีความร่วมมือกับ Fudan University  หรือมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาชนจีนที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิจากสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและมีความร่วมมือทางวิชาการกับคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วัตถุประสงค์

1. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะการใช้ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร
2. ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความเข้าใจ วัฒนธรรม ตลอดจนเศรษฐกิจและสังคมจีน ในการรองรับความต้องการของสังคม และประเทศชาติ
3. ผลิตบัณฑิตที่สามารถนำความรู้ ไปพัฒนาตนเอง และสังคมอย่างมีคุณธรรม

 

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย ทั้งในองค์กรของภาครัฐและเอกชนดังตัวอย่างต่อไปนี้

  1. ครู อาจารย์  หรือวิทยากรสอนภาษาจีน
  2. เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่ใช้ภาษาจีน เช่น กระทรวงการต่างประเทศ บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด(มหาชน) สำนักงานตำรวจตรวจคนเข้าเมือง ฯลฯ
  3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายต่างประเทศ หรือฝ่ายประสานงานต่างประเทศในองค์กรเอกชนของหน่วยงาน องค์กรและบริษัทต่างๆ
  4. งานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการท่องเที่ยวและบริการ เช่น งานโรงแรม  มัคคุเทศก์ สายการบิน บริษัทนำเที่ยว ฯลฯ