โลหะแผ่นแบ่งได้กี่ประเภทอะไรบ้าง

ผ้สู อน นางสาวบญุ ญิสา คาภรี ะมี (นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพคร)ู
วชิ า งานเชื่อมและโลหะแผ่นเบอ้ื งต้น สาขาวชิ าช่างเช่ือมโลหะ
วทิ ยาลยั เทคนคิ เดชอุดม จังหวัดอบุ ลราชธานี

หน่วยท่ี 8

เคร่ืองมือและเครือ่ งจกั ร
ในงานโลหะแผน่

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

หวั ขอ้ เรอื่ ง

8.1 เคร่ืองจกั รในงานโลหะแผน่
8.2 เคร่ืองมือวดั ในงานโลหะ
8.3 เคร่ืองมือร่างแบบในงานโลหะแผน่
8.4 เครื่องมอื การตดั ชนิ้ งานในงานโลหะแผน่
8.5 เคร่ืองมอื ชว่ ยงานในงานโลหะแผน่
8.6 วสั ดโุ ลหะแผน่

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

เครื่องจักรและเคร่ืองมือในการทางานโลหะแผ่นจะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานทางานได้อย่าง
สะดวก รวดเร็ว มีความแม่นยาเท่ียงตรง และมีมาตรฐาน การปฏิบัติงานโลหะแผ่นให้ได้
ผลงานหรือผลิตภัณฑ์ที่ดีนั้นต้อง ศึกษาคุณสมบัติหลักการทางานของเครื่องจักร เครื่องมือ
และอุปกรณ์ในการปฏบิ ัตงิ านใหถ้ กู ตอ้ ง

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.1 เคร่ืองจักรในงานโลหะแผ่น
เครอ่ื งจักรท่ีใช้ในงานโลหะแผ่นมีขนาดใหญ่น้าหนักมากและเคลื่อนย้ายลาบาก เครื่องจักร

บางชนิดต้องใช้กาลังคนหรือพลังงานไฟฟ้าในการเคลื่อนย้าย การทางานของเครื่องจักรเหล่านี้
ทางานตามลกั ษณะการใช้งาน
8.1.1 เครื่องตดั

1. เครื่องตดั ตรง (Squaring Shear) สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ชนดิ เช่น
- เครื่องตัดตรงชนิดใช้เท้าเหยียบ (Foot Squaring Shear) ต้องอาศัยแรงป้อนตัด

จากแรงคนเหยยี บทคี่ านเหยียบด้านล่าง
- เคร่ืองตัดตรงใช้พลังงานไฟฟ้า (Hydraulic Shearing Machine) เป็นเครื่องตัด

โลหะแผ่นตามขนาดของ กาลังของเคร่ืองตัดแต่ละรุ่น ทางานโดยระบบไฟฟ้าไปควบคุมระบบไฮ
ดรอลิกใหก้ ดใบมีดตดั

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

เครื่องตดั ตรงชนดิ ใช้เท้าเหยียบ เครอื่ งตัดตรงใช้พลงั งานไฟฟา้

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. เครื่องตัดมุม (Corner Notcher Machine) นามาใช้ตัดมุมของชิ้นงาน มีข้อจากัดคือ
สามารถใชต้ ัดไดเ้ ฉพาะมมุ ฉากเท่าน้นั เช่น การตัดเขา้ มุมฉากกล่องสเ่ี หลี่ยม เป็นตน้

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น
3. เครอ่ื งตัดชิน้ งานกลม (Circular Shear) เป็นเคร่ืองตัดแผ่นโลหะให้มีลักษณะรูปทรง วง
แหวนหรือวงกลม ซ่ึงการทางานจะใช้กาลังหมุนเฟืองในการตัด และจับชิ้นงานหมุนไปพร้อม
กนั

เคร่ืองตัดงานกลมในงานโลหะแผ่น เครือ่ งตดั งานกลมแบบมอเตอร์

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

4. เครื่องตัดแบบมือโยก (Sheet Metal Hand Shear) เคร่ืองตัดแบบมือโยกสามารถใช้
งานโลหะแผ่น และสามารถนาไปตัดเหล็กรูปพรรณอ่ืน ๆ ได้ เช่น เหล็กเส้นกลม เหล็กฉาก
เหลก็ สี่เหลีย่ มตนั เปน็ ต้น

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.1.2 เครอ่ื งพบั
1. เครื่องพบั ด้วยมอื แบบมาตรฐาน (Standard Hand Brake) ใช้สาหรับพับขอบของ

โลหะ หรือขึ้นรูปโลหะตามความยาวได้ดี เช่น รางน้า ท่อลม (Duct) เป็นการพับเข้าตะเข็บ
หรอื พับเขา้ ขอบลวด เปน็ ต้น

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. เครื่องพับกล่อง (Box and Pan Brake) ใช้สาหรับพับข้ึนรูปโลหะแผ่น ส่วนประกอบและ
การทางานคล้ายกับเคร่ืองพับด้วยมือแบบมาตรฐาน สิ่งท่ีแตกต่างกัน คือ แผ่นพับ (Top Nose
Bar) หรือใบ พับของเคร่ืองพับด้วยมือแบบมาตรฐานจะเป็นเหล็กแท่งยาวตลอดความยาวของ
ช่วงพับ ขณะท่ีใบพับ (Fingers) ของเคร่ืองพับกล่องมีขนาดความยาวต่างกัน คือ ขนาด 1-6 น้ิว
เรยี งกนั จนเต็มความยาวของชอ่ งพับ

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

3. เครอื่ งพับบาร์โฟลเดอร์ (Bar Folder) สามารถพับงานได้หลายมุม โดยมีเกจวัดตั้งมุมพับ
ท่ีตวั เครอื่ ง แต่มขี อ้ จากัด คือ ไม่สามารถพับขอบงานท่ีลึกได้ เพราะไม่สามารถสอดแผ่นโลหะ
เข้าไปดา้ นหลัง ได้ สว่ นมากนยิ มใช้พับเขา้ ขอบลวดและพบั ตะเขบ็ เปน็ ตน้

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

4. เครื่องพับคอร์นิส (Cornice Brake) สามารถพับโลหะแผ่นได้โดยไม่ จากัดความลึก ปาก
พับด้านบนประกอบดว้ ยช้ินส่วนท่มี ีขนาดความกว้างแตกตา่ งกัน แล้วนามาประกอบ ส่วนมาก
นิยมใช้พับ รางน้า พับกล่องขนาดใหญ่ เป็นต้น

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.1.3 เครือ่ งมว้ น
1. เคร่ืองม้วนข้ึนรูปด้วยมือ เครื่องม้วนแผ่นโลหะข้ึนรูปด้วยมือเป็นเคร่ืองที่ใช้สาหรับ

การ ดดั โลหะแผ่น เหล็กเส้นกลม ทาท่อใหเ้ ปน็ ส่วนโคง้ รัศมมี ้วนให้อยู่ในรูปทรงกระบอก หรือ
อาจมว้ นข้ึนรูปเปน็ ทอ่ เรียว (Taper)

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. เครื่องม้วนขึ้นรูปด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า เป็นเครื่องที่มีหลักการทางานเหมือนกับเครื่องม้วน
ขึ้นรูปด้วยมอื แตกตา่ งที่การควบคมุ และส่งกาลังดว้ ยระบบมอเตอรไ์ ฟฟา้ เทา่ น้ัน

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.1.4 เคร่ืองเจาะ
1. เครอ่ื งสวา่ นไฟฟา้ (Electric Dril) เปน็ เครอ่ื งมือใช้สาหรับเจาะรูโลหะแผ่นหรือโลหะ

ทั่วไปโดยใช้ดอกสว่าน ได้รับแรงขับมาจากมอเตอร์ (Motor) ซึ่งสามารถปรับความเร็วของ
ดอกสว่านให้ เหมาะสมกบั ขนาดของดอกสว่านและความแขง็ แรงของโลหะได้

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. เครื่องเจาะรูงานโลหะแผ่น (Rotary or Turret Punch) เป็นเคร่ืองมือที่ใช้เจาะรูกลม
โดยการเลือกขนาดความโตของรูตามความต้องการแล้วสอดแผ่นโลหะเข้าในตาแหน่งที่จะ
เจาะรู จากนน้ั ทาการโยกคานกดเข้าหาตัวออกแรงกดจนแผ่นโลหะขาดเป็นรู และให้นาแผ่น
โลหะออก

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.1.5 เครือ่ งมอื ข้นึ รปู
1. เคร่ืองหมุนทาร่อง (Turning Machine) เป็นเคร่ืองมือใช้สาหรับข้ึนรูปขอบของ

ชน้ิ งาน รูปทรงกระบอก โดยการพบั ให้ตั้งฉากระยะส้ัน ๆ เพ่ือเสริมความแข็งแรง หรือทาการ
พบั ขอบเพ่ือนาไปเข้า ตะเขบ็ หรอื เขา้ ขอบลวด และสามารถพับขึน้ ลอนเพ่อื เสริมความแข็งแรง
ของโลหะแผน่ ไดด้ ี

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. เครื่องขึ้นขอบ (Burring Machine) มีลกั ษณะคลา้ ยกับเครื่องหมุนทาร่อง แต่จะมีขอบท่ี
คมกว่าเท่านั้น เป็นเคร่ืองมือใช้สาหรับข้ึนรูปขอบช้ินงานให้ได้ฉากท่ีมีพ้ืนที่น้อย เช่น การทา
ตะเข็บขอบกัน กระป๋อง เป็นต้น

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

3. เคร่ืองทาสันและจีบปลายท่อ (Crimping and Beading Machine) เครื่องชนิดน้ีมี
ลูกกลิง้ จานวน 2 ชุด โดยชดุ แรกใชส้ าหรับทาสนั เพ่อื เพ่มิ ความแข็งแรงและความสวยงามและ
สามารถทาการ เปลี่ยนชุดของลูกกลิ้งได้ สาหรับลูกกลิ้งชุดที่สองที่อยู่ด้านในและเป็นลูกกลิ้ง
ยาว มีฟันรอบตัวไว้สาหรับข้ึนจีบ ปลายท่อ ซ่ึงทาให้ปลายท่อมีขนาดเล็กลงสามารถสวมใส่
ปลายทอ่ อกี ชิ้นหนึ่งไดส้ ะดวกข้นึ

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.2 เครอ่ื งมอื วดั ในงานโลหะแผน่
เครื่องมือวัดในงานโลหะแผ่นเป็นกลุ่มเคร่ืองมือท่ีใช้สาหรับวัดขนาดของวัสดุ เพื่อหา

ขนาดกอ่ นการ ร่างแบบลงบนแผน่ ชน้ิ งานโลหะแผ่น สามารถแบง่ ได้ ดงั ต่อไปน้ี

8.2.1 เกจวดั ความหนาโลหะแผ่น
เกจชนิดนี้ทาจากเหล็กกล้าคาร์บอนหรือเหล็กกล้าไร้สนิม มีลักษณะกลมบากเป็น

รอ่ งรอบตัว เพอ่ื ใช้วัดเทยี บความหนาโลหะแผ่นและความโตลวด โดยตัวเลขปรากฏบนเกจวัด
จะบอกความหนาของ แผ่นโลหะเป็นทศนิยม หรอื เศษสว่ นของนวิ้

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

เกจวัดความหนา

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.2.2 ฉากเหล็ก (Square)
เหลก็ ฉากเป็นเคร่อื งมือมีลกั ษณะเปน็ รูปตวั แอล (L) แขนทั้งสองข้างทามุม 90 องศา ใช้

ตรวจ วัดการตั้งฉากหรือมุมฉากของงานโลหะแผ่น และยังมีฉากผสมสาหรับวัดมุมเอียงตาม
ขนาดมมุ ท่ีตอ้ งการ

ฉากเหล็ก ฉากผสม

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.2.3 บรรทัดเหล็ก (Steel Ruler)
บรรทัดเหล็กเป็นเคร่ืองมือท่ีรู้จักโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ทาจากเหล็กกล้าไร้สนิม สามารถ

วัดได้ ท้ังระบบองั กฤษ (น้ิว) และระบบเมตริก (มิลลิเมตร) มีหลายขนาดตั้งแต่ 12 นิ้ว 24 น้ิว
18 นว้ิ และ 36 น้ิว

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.3 เครื่องมอื ร่างแบบในงานโลหะแผน่
เครื่องมอื รา่ งแบบในงานโลหะแผ่นเป็นกลมุ่ เครอ่ื งมอื ที่มีลักษณะปลายแหลมเพื่อใชใ้ นการ

ขดี เขียน เครอ่ื งมอื ร่างแบบน้ตี ้องใช้ร่วมกับเครื่องมืออ่ืน เช่น บรรทัดเหล็ก ฉากเหล็ก เป็นต้น
ซึ่งแบง่ ได้ดังตอ่ ไปน้ี

8.3.1 วงเวยี นเหล็ก (Divider)
วงเวียนเหล็กเป็นเคร่ืองมือร่างแบบท่ีใช้มากในงานโลหะแผ่น ใช้สาหรับเขียน

วงกลมหรือ ส่วนโค้ง หรือใช้ในการถ่ายขนาดวงเวียนแบ่งได้ 2 ชนิด คือวงเวียนชนิดขาปรับ
รัศมแี ละวงเวยี นชนิดขาสปริง

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.3.2 เหล็กขีด (Scriber)
เหล็กขีดทาหน้าที่ขีดเขียนเส้นลงบนแผ่นโลหะ เปรียบเสมือนดินสอหรือปากกาท่ีใช้ใน

งาน เขยี นแบบท่วั ไป เหลก็ ยึดน้ีต้องมคี วามแขง็ กว่าโลหะทท่ี าการรา่ งแบบซ่ึงทาจากเหล็กกล้า
คาร์บอน บรเิ วณ ปลายแหลมผา่ นการชบุ แขง็ เพือ่ ใหท้ นตอ่ การสึกหรอ

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.3.3 เหลก็ ถ่ายแบบ (Prick Punch)
เหล็กถา่ ยแบบเปน็ เครือ่ งมอื ทที่ ามาจากเหลก็ กล้า มีลกั ษณะปลายแหลมทามมุ เอยี ง 30

องศา โดยผ่านการชุบแข็งที่ปลายแหลม ใช้สาหรับตอกทาเคร่ืองหมายลงบนแผ่นโลหะหรือ
ตอกนากอ่ นใชว้ งเวียน

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.3.4 เหล็กตอกนาศนู ย์ (Center Punch)
เหล็กตอกนาศูนย์เปน็ เครอ่ื งมือท่ีทามาจากเหล็กกล้า มีลักษณะคล้ายกับเหล็กถ่ายแบบ

แต่มี ขนาดความโตของลาตัวมากกว่า ปลายของเหล็กตอกนาศูนย์ทามุมเอียง 60 องศา หรือ
90 องศา ท่ีปลายผ่าน การชุบแข็ง ใชส้ าหรบั ตอกเพอื่ นาศนู ยใ์ นการเจาะรู หรือทาเคร่ืองหมาย
ระบตุ าแหน่งบนแผ่นโลหะ

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.4 เครือ่ งมอื การตัดช้ินงานในงานโลหะแผน่
เครื่องมือการตัดชิ้นงานในงานโลหะแผ่นเป็นกลุ่มเคร่ืองมือที่ใช้สาหรับตัดโลหะแผ่นท่ี

ผ่านการร่างแบบ ตามขนาดท่ีต้องการ ในท่ีนี้จะกล่าวเฉพาะกรรไกรในงานโลหะแผ่นเท่านั้น
โดยแบ่งตามลักษณะการใช้งาน มีดงั ต่อไปน้ี

8.4.1 กรรไกรตัดโลหะแผ่นบาง
กรรไกรในกล่มุ งานนี้ใช้สาหรับตดั โลหะแผ่นบาง สามารถแบ่งออกได้ 4 ชนิด ไดแ้ ก่

กรรไกร(Straight Snip) กรรไกรตัดโค้งขวา (Right Hand Snip) กรรไกรตัดโค้งซ้าย (Left
Hand Snip) และ กรรไกรตัดผสม (Compound Snip) ทีส่ ามารถตดั ตรงและตัดโคง้ ได้

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.4.2 กรรไกรอะเวียชนั้ (Aviation Snips)
กรรไกรในกลุ่มนี้เป็นระบบสองจังหวะ มีจุดหมุน 2 จุด สามารถนาไปตัดแผ่นโลหะท่ีมี

ความหนาและตัดแผ่นโลหะท่ีมีความโค้งเล็ก ๆ ได้ดี กรรไกรกลุ่มน้ีแบ่งได้ 3 ชนิด ได้แก่
กรรไกรตัดตรง (ด้าม จับสีเหลือง) กรรไกรตัดโค้งซ้าย (ด้ามจับสีแดง) และกรรไกรตัดโค้งขวา
(ดา้ มจบั สเี ขียว)

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5 เครื่องมอื ชว่ ยงานในงานโลหะแผน่
เคร่ืองมือช่วยในงานโลหะแผ่นเป็นกลุ่มเคร่ืองมือที่ต้องใช้ควบคู่กับเคร่ืองจักรและ

เครื่องมือที่ได้ กล่าวมา เพ่ือให้ได้งานอย่างมีประสิทธิภาพควรรู้ชนิดของเคร่ืองมือช่วยงานใน
งานโลหะแผ่น มดี ังตอ่ ไปนี้

8.5.1 โตะ๊ ปฏิบัติงาน (Table Work)
ในงานโลหะแผ่นจะมีแท่นช่วยข้ึนรูปหลายชนิดตามลักษณะของช้ินงาน จาเป็นต้อง

ใช้โต๊ะ ปฏิบัติงานเพ่ือติดตั้งแท่นช่วยข้ึนรูป และยังปฏิบัติงานประกอบช้ินส่วนในงานโลหะ
แผน่ ไดอ้ ีก

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5.2 แทน่ ช่วยขนึ้ รปู (Stakes)
ในงานโลหะแผ่นเป็นงานโลหะแผ่นบางจาเป็นต้องใช้แท่นช่วยข้ึนรูปตามลักษณะของ

รูปทรง ทีต่ อ้ งการ สามารถแบง่ ออกได้ ดังต่อไปน้ี

1. Double Seaming Stake with Four Heads เป็นแท่นข้ึนรูปมีส่วนประกอบภายใน
ชุดจานวน 4 ชิ้น พร้อมท้ังมีแท่งส่ีเหลี่ยมเพื่อเสียบติดตั้งแท่นแต่ละช้ิน ใช้สาหรับเคาะข้ึนรูป
ตะเขบ็ สองชั้น ของช้ินงานที่มีขนาดใหญ่

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. Blow Horn Stake เป็นแท่นขึ้นรปู จะมีแขน (Horn) ยืน่ ออกมา 2 ดา้ น เรยี วยาวไม่
เท่ากนั ดา้ นหนง่ึ เปน็ เหลก็ แทง่ ตัน มีขนาดเล็ก เรยี ว ยาว แขนอกี ด้านหนึ่งมขี นาดใหญแ่ ละส้นั
เรียกวา่ โค้งรปู กรวย คร่งึ วงกลมเรียว (Apron) ใช้สาหรับขึ้นรูปกรวยและงานขึ้นรปู ท่มี ีขนาด
เล็กเรยี ว

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

3. Needle Case Stake เป็นแท่นขึ้นรูปมีลักษณะปลายด้านหนึ่งเล็ก กลม เรียว และยาว
ส่วนปลายอีกด้านหน่ึงจะเป็นรูปสี่เหล่ียม แท่นข้ึนรูปน้ีใช้สาหรับทาท่อโลหะแผ่นมีขนาดเล็ก
เรยี ว งานข้นึ รูป วงแหวน งานรูปสีเ่ หลีย่ ม และงานข้ึนรปู ท่ัวไป

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

4. Conductor Stake เปน็ แท่นขน้ึ รปู มลี กั ษณะแขนยนื่ 2 ข้าง เป็นรูปทรงกระบอกท้ังสอง
ด้านและมีขนาดความโตของแขนยื่นต่างกัน ใช้สาหรับการย้าหมุด เข้าตะเข็บ และการข้ึนรูป
ทรงกระบอกขนาดเลก็

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

5. Candle Mold Stake เป็นแท่นชว่ ยข้ึนรูปทม่ี ีลกั ษณะแขน 2 ขนาด มีความยาวและเรียว
ไมเ่ ทา่ กนั อย่ฝู ง่ั ละขนาด ด้านของแขนยืน่ ดา้ มใหญ่ใช้สาหรับงานทั่วไป ส่วนด้านเล็กใช้สาหรับ
ทาทอ่ ขนาดเล็กและเปน็ กรวยปลายแหลม

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

6. Round Head Stake เป็นแท่นช่วยขึ้นรูปท่ีมีลักษณะหัวรูปทรงกลมและรูปทรงโค้ง ใช้
สาหรบั งานเคาะข้ึนรูปผิวโคง้ ของงานโลหะแผ่นทว่ั ไป

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

7. Creasing Stake with Horn เป็นแท่นช่วยขึ้นรูปท่ีมีแขนอยู่ 2 ด้าน ด้านหนึ่งเป็นแท่ง
เหลี่ยมแบนปลายมน โดยด้านบนเป็นร่องที่มีขนาดต่างกัน สาหรับวางตะเข็บขอบลวดหรือ
รอยขน้ึ รปู และปลายอีกดา้ นหนง่ึ เรียวกลม มีขนาดเลก็ เหมาะสาหรบั การขน้ึ รปู งานท่ัวไป

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8. Hatchet Stake เป็นแท่นช่วยข้ึนรูปท่ีมีขอบของหัวบางเล็กตรง และบากมุมเพียง ด้าน
เดียวตามความยาว ใช้สาหรับพับขอบงานให้ตรง หรือตะเข็บที่มีความยาวนอ้ ยให้แนน่ ขนึ้

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

9. Common Square Stake เป็นแท่นช่วยข้ึนรูปมีลักษณะเป็นหัวส่ีเหล่ียม ผิวด้านบน
แบนเรยี บ เหมาะสาหรบั งานหมดุ และงานเคาะขน้ึ รปู ทว่ั ไป

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5.3 เหลก็ ยา้ ตะเข็บ (Hand Groove)
เหล็กตะเข็บทาด้วยเหล็กเครื่องมือ (Tool Steel) ใช้ส หรับตะเข็บเก่ียว (Groove

Seam) ให้แน่น ปลายข้างหนึ่งของเหล็กย้าตะเข็บมีลักษณะเป็นรูปส่ีเหล่ียมผืนผ้า และมีร่อง
ขนาดตา่ งกนั ตามความยาว เพอื่ ใชส้ าหรับตะเข็บท่ีมีขนาดความกว้างต่างกัน ส่วนตัวด้ามจะมี
ขนาดเลก็ และกลม

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5.4 เหลก็ ยา้ หัวหมุด (Rivet Set)
เหล็กย้าหัวหมดุ เปน็ แทง่ เหลก็ ท่ีมีปลายดา้ นหนง่ึ ใช้สาหรับตอก ปลายอีกด้านหนึ่งเรียบ

และตามความยาวของแท่งเหล็ก เพ่ือใช้กดแผ่นโลหะให้แนบแน่นติดกัน และบริเวณปลาย
ด้านเดยี วกนั จะทาเปน็ รอยแบบคร่งึ วงกลมไว้สาหรบั ย่าขนึ้ รูปปลายหมุดให้เป็นวงกลม เหล็ก
หมดมีหลายขนาด ซ่งึ ใช้ กับตวั หมดุ ยา้ ที่มีขนาดแตกต่างกัน

หน่วยท่ี 8 เครอ่ื งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5.5 ค้อน (Hammers)
ค้อนเป็นกลุ่มเครื่องมือท่ีต้องใช้เคาะและตีดัดขึ้นรูป เพื่อให้ได้รูปร่างของชิ้นงานตาม

ความต้องการท่ีใชง้ านในงานโลหะแผ่นแบง่ ได้ ดังต่อไปนี้

1. ค้อนเคาะตะเข็บ (Setting Hammer) มีรูปร่างผิวด้านหน้าเรียบ ส่วนด้านท้ายของค้อน
ตดั เฉยี งดา้ นเดียว เพ่อื ใชค้ ้อนเคาะขึ้นรปู ของตะเขบ็

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอ่ื งจกั รในงานโลหะแผ่น

2. ค้อนหัวกลม (Ball Peen Hammer) มีรูปร่างผิวด้านหน้าเรียบ ส่วนด้านตรงข้ามมี
ลักษณะ คร่ึงวงกลม ตัวหัวค้อนทามาจากเหล็กกล้าหรือเหล็กหล่อ ใช้สาหรับงานตอก งาน
เคาะ และงานทด่ี ดั ขึน้ รูป
3. ค้อนหมุด (Riveting Hammer) มีรูปร่างด้านหน้ามีผิวโค้งเพียงเล็กน้อย ส่วนลาตัว ของ
หัวค้อนเป็นรูปสี่เหล่ียมลบมุมรอบทุกด้าน ส่วนหางของหัวค้อนมีรูปทรงเรียวและโค้งมนและ
นาไปใช้ ตอกยา้ หมดุ

ค้อนหัวกลม ค้อนหมดุ

หน่วยท่ี 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

4. ค้อนพลาสติก (Plastic Hammer) มีรูปร่างเป็นแท่งทรงกระบอก หัวค้อนทั้งสองด้าน
ทาด้วยพลาสติกแขง็ โดยการหลอ่ ขนึ้ รูปภายในเป็นเกลียวเพ่ือขันติดกับโครงโลหะทั้งสองด้าน
ซง่ึ ประกอบ ด้ามทีเ่ ปน็ ไม้ นาไปใชเ้ คาะขึน้ รปู ในงานโลหะแผ่น

5. ค้อนหัวยาง (Rubber Hammer) มีรูปร่างเป็นแท่งทรงกระบอก หัวค้อนทาด้วย ยาง
สังเคราะห์ มคี วามเหนยี วและยืดหยุ่น ไม่แตกงา่ ย เหมาะสาหรับเคาะข้นึ รปู ชิ้นงานโลหะแผน่

ค้อนพลาสตกิ คอ้ นหวั ยาง

หน่วยที่ 8 เครอื่ งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

6. คอ้ นไม้ (Wood Hammer) มีรปู รา่ งเป็นเป็นแท่งทรงกระบอก หัวค้อนทามาจาก ไม้เน้ือ
แข็ง ทาใหม้ คี วามเหนยี ว ไมแ่ ตกง่าย ใชเ้ คาะขนึ้ รปู ในงานโลหะแผ่นและเคาะพับตะเขบ็

หน่วยที่ 8 เครอ่ื งมือและเครอื่ งจกั รในงานโลหะแผ่น

8.5.6 คีม (Pliers) คีมเป็นกลุ่มเครื่องมือใช้สาหรับจับยึดช้ินงานใช้ประกอบร่วมกับงานตัด
และงานดดั ซง่ึ คีมที่นา มาใช้ในงานโลหะแผน่ สามารถแบง่ ได้ดังตอ่ ไปนี้
1. คีมปากแบน (Flat Nose Pliers) ลักษณะปากของคีมชนิดน้ีมีลักษณะปากจับแบน และ
มีร่องฟนั เลก็ เหมาะสาหรบั การจบั ยดึ ชน้ิ งานและการขึ้นรูปโลหะแผน่


เครื่องจักรในงานโลหะแผ่นมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

5.1เครื่องตัดตรงชนิดป้อนแรงด้วยเท้า (Square Shear) 5.2 เครื่องตัดตรงขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (Power Squaring Shear) 5.3 เครื่องตัดมุม (Notcher Machine) 5.4 เครื่องพับโลหะแผ่น (Bending Shear Machine)

โลหะแผ่นชนิดใดคือโลหะแผ่นเคลือบ

2. โลหะแผ่นเคลือบ ( Coated Metal ) โลหะแผ่นเปลือย ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นโลหะที่ไม่ใช้เหล็ก ( Non Ferrous Metal ) หรือ โลหะผสม ที่ไม่ท าปฏิกิริยากับออกซิเจนในบรรยากาศ ไม่เกิดการผุกร่อน เช่น ทองเหลือง ( Bass ) ทองแดง ( Copper ) ดีบุก ( Tin ) สังกะสี ( Zinc ) อะลูมิเนียม ( Aluminium ) และเหล็กไร้สนิม (Stainless Steel) เป็น ...

งานโลหะแผ่น คืออะไร

โลหะแผ่น หรือ sheet metal เป็นโลหะที่ถูกนิยามขึ้นตามลักษณะขอพื้นที่ผิวต่อความหนา หากความหนามีมากกว่า 6 มิลลิเมตร จะถูกเรียกว่าเพลท (plate) ซึ่งโลหะแผ่นจะมีความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูง ชิ้นส่วนที่ผลิตขึ้นจากโลหะแผ่นจึงมีน้ำหนักที่เบา แต่มีความแข็งแรง สำหรับขั้นตอนการขึ้นโลหะแผ่นจะมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนรูป ( ...

เครื่องขึ้นรูปโลหะแผ่นมีอะไรบ้าง

โดยทั่วไปแล้วอุปกรณ์ที่จำเป็นของกระบวนการโลหะแผ่น ได้แก่ เครื่องเฉือน, เครื่องเจาะ CNC / เลเซอร์, พลาสม่า, เครื่องตัดวอเตอร์เจ็ท, เครื่องดัด, เครื่องเจาะและอุปกรณ์เสริมต่างๆเช่นเครื่องตกแต่ง, เครื่องปรับระดับ, เครื่องลบคม, เครื่องเชื่อมแบบจุด ฯลฯ .