องค์ประกอบของนาฏศิลป์มีความสําคัญอย่างไร

          การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์  เป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้การแสดงสวยงามและมีเอกลักษณ์ ซึ่งการแวดงในแต่ละชุดการแสดงจะมีการแต่งกกายที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของการแสดงนั้น เช่น การแสดงโขน มีการแต่งกายตามลักษณะของตัวละคร พระรามจะแต่งยืนเครื่องพระ ชุดสีเขียว ทศกัณฐ์จะแตงยืนเครื่อง ชุสีเขยวมรกต สวมศรีษะโขนหน้ายักษ์ 3 ชั้น ทำให้ผู้ชมการแสดงเข้าใจบุคลิกลักษณะของตัวละคร

 กลุ่ม คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลบอก เพลงนา วัฒนธรรมไทยมุสลิม ลักษณะการแสดงส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากศิลปะของมาเลเซีย เช่น รองเง็ง ซำเป็ง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู และ ซิละ นอกจากนี้ยังมีระบำที่ปรับปรุงมาจากกิจกรรมในวิถีชีวิตศิลปาชีพต่าง ๆ เช่น ระบำร่อนแร่ ระบำตารีกีปัส ระบำปาเต๊ะ ระบำกรีดยาง เป็นต้น มีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญคือ กลองโนรา กลองโพน กลองโทน ทับ โหม่ง ปี่กาหลอ ปี่ไหน รำมะนา ไวโอลิน แอคคอเดียน ฯลฯ

นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นศิลปะการแสดงอันเต็มไปด้วยความงดงาม , อ่อนช้อย อีกทั้งยังเป็นเอกลักษณ์ของประเทศไทย ซึ่งอยู่คู่กับประเทศไทยมาเนิ่นนาน นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะต้องมีองค์ประกอบที่ช่วยให้การแสดงเต็มไปด้วยความงดงามสมบูรณ์ ได้แก่

องค์ประกอบของนาฏศิลป์มีความสําคัญอย่างไร

ลีลาท่าทางร่ายรำ

การแสดงนาฏศิลป์ไทยมีเอกลักษณ์ คือ เป็นการแสดงที่มีท่าทางร่ายรำสวยงาม ด้วยการประดิษฐ์ท่ารำต่างๆ ให้เป็นระเบียบแบบแผน ใช้ในการถ่ายทอดเรื่องราว รวมทั้งสื่อความหมายในการแสดง เช่น ระบำพรหมาสตร์ คือ ท่าทางร่ายรำแบบนางฟ้า เป็นต้น

จังหวะใช้ในการแสดง

จังหวะคือการฝึกขั้นพื้นฐาน ที่ใช้แสดงนาฏศิลป์ โดยผู้แสดงนาฏศิลป์ จะต้องทำความเข้าใจกับจังหวะ , ดนตรี อย่างลึกซึ้ง เพื่อให้สามารถร่ายรำ ออกท่าทางได้ถูกต้องตามจังหวะ ถ้าคุณแสดงไม่ถูกต้องตามจังหวะ จะทำให้การแสดงไม่สวยงาม

ดนตรีใช้ประกอบการแสดง

ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะใช้วงปี่พาทย์บรรเลงเพลงเพื่อประกอบการแสดง โดยบทเพลงที่ใช้บรรเลงเพลง จะต้องนำมาประกอบกับกิริยาท่าทางของแต่ล่ะตัว โดยตัวละครสามารถแบ่งออกเป็น หน้าพาทย์ธรรมดากับหน้าพาทย์ชั้นสูง ส่วนใหญ่แล้วจะบรรเลงด้วยไม่มีเนื้อร้อง นอกจากนี้การบรรเลงเพลงหน้าพาทย์ จะต้องบรรเลงโดยดูจากความหมายและอารมณ์ของตัวละครในบริบทนั้นๆด้วย

คำร้องหรือเนื้อร้อง

ในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะประกอบด้วยชุดการแสดงที่มีทั้งบทร้องและไม่มีบทร้อง ซึ่งการแสดงแบบมีเนื้อร้องจะทำให้ผู้ชมเข้าใจการแสดงมากขึ้น โดยทางผู้ประดิษฐ์ท่ารำ ให้เหมาะสมกับคำร้องเพื่อให้ผู้ชมมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องประดิษฐ์ให้มีความเหมาะสมกับคำร้อง เพื่อให้ผู้แสดงถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างถูกต้องและมีความสวยงามอีกด้วย เช่น ระบำดาวดึงส์ ที่ต้องแสดงให้เห็นถึงความยินดีปรีดา เป็นต้น

แต่งกาย – แต่งหน้า

การแต่งกายในการแสดงนาฏศิลป์ไทย จะเป็นการแสดงที่มีความสวยงามและบ่งบอกถึงความเป็นไทย จึงทำให้การแสดงมีเอกลักษณ์ เช่น การแสดงโขนซึ่งมีการแต่งกายอันงดงาม มีโขนที่นำมาสวมศีรษะพร้อมตกแต่งลวดลายประดิษฐ์ขึ้นมาอย่างวิจิตร โดยโขนก็จะมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะของตัวละคร

อุปกรณ์ใช้ประกอบการแสดง

อุปกรณ์จัดเป็นองค์ประกอบนาฏศิลป์ที่มีความสำคัญอีกหนึ่งชนิดหนึ่ง ที่ทำให้การแสดงมีความสวยงามและมีเอกลักษณ์ แต่อย่างไรก็ตามการแสดงนาฏศิลป์ไทยในบางชุด อาจไม่มีอุปกรณ์ประกอบก็ได้ หากแต่บางชุดก็มีอุปกรณ์ประกอบการแสดงเข้ามา ทำให้การแสดงมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น เช่น รำฟ้อนเทียน มีอุปกรณ์สำคัญ คือ เทียน โดยจะนิยมแสดงในช่วงกลางคืน แสงเทียนที่สว่างไสวท่ามกลางความมืด จะทำให้การแสดงมีความงดงามมาก

                   7. อุปกรณ์การแสดงละคร การแสดงนาฏศิลป์ไทยบางชุดต้องมีอุปกรณ์ประกอบการแสดงละครด้วย เช่น ระบำพัด ระบำนกเขา ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนร่ม เป็นต้น อุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้ประกอบการแสดงจะต้องสมบูรณ์ สวยงามและสวมใส่ได้พอดี หากเป็นอุปกรณ์ ที่ต้องใช้ประกอบการแสดง เช่น ร่ม ผู้แสดงจะต้องมีทักษะในการใช้อุปกรณ์ได้อย่างคล่องแคล่ววางอยู่ในระดับที่ ถูกต้องสวยงาม