เทคโนโลยีการอาหาร ภาษาอังกฤษ

เทคโนโลยีการอาหาร ภาษาอังกฤษ

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย       : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ภาษาอังกฤษ  : Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ภาษาไทย ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ชื่อย่อ :  วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

ภาษาอังกฤษ   ชื่อเต็ม : Bachelor of Science (Food Science and Technology)
ชื่อย่อ : B.Sc. (Food Science and Technology)

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. เจ้าหน้าที่ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร (ฝ่ายผลิต วางแผนการผลิต วิจัยและพัฒนา
    ฝ่ายประกันคุณภาพ ควบคุมคุณภาพ ฝ่ายสุขาภิบาลและความปลอดภัยในโรงงาน)
  2. นักวิจัยด้านอาหารในหน่วยงานราชการและเอกชน นักวิจัยอิสระ นักวิชาการอิสระ
  3. นักวิเคราะห์ประจำห้องปฏิบัติการอาหาร
  4. นักโภชนาการ และเจ้าหน้าที่สุขาภิบาลในหน่วยงานราชการและเอกชน
  5. พนักงานขายเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ ทางด้านวิทยาศาสตร์หรือด้านอุตสาหกรรมอาหาร
  6. ประกอบธุรกิจส่วนตัวที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
  7. ผู้ประกอบการด้านอาหาร

คุณลักษณะของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา

  1. มีการสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิต เพื่อให้บัณฑิตประกอบอาชีพด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมตามจรรยาบรรณวิชาชีพ และผู้ประกอบการด้านอาหาร
  2. สามารถนำความรู้ทางทฤษฎี และปฏิบัติมาปรับใช้ในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาในการทำงาน การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม มีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านอาหาร
  3.   เพื่อให้บัณฑิตสามารถศึกษาค้นคว้าวิจัยงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารและนำความรู้ทีได้ไปใช้ประโยชน์ในการให้บริการวิชาการแก่ชุมชนอย่างเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ
  4. สามารถสื่อสารและปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่น พัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ช่วยปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานของอุตสาหกรรมอาหารทุกประเภท ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้านอาหารมืออาชีพ
  5. สามารถคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรู้เท่าทันและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับวิธีชีวิต สังคม และการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบันมีมนุษย์สัมพันธ์ และมีทักษะการสื่อสารที่ดี

เทคโนโลยีการอาหาร ภาษาอังกฤษ

จำนวนเข้าใช้ 566

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร

เทคโนโลยีการอาหาร ภาษาอังกฤษ

1. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Food Science and Technology

2. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Food Science and Technology)

ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
ชื่อย่อภาษาไทย : B.Sc. (Food Science and Technology

3. รูปแบบของหลักสูตร

  • หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี

4. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในลักษณะการประกอบอาชีพอิสระ หรือทำงานในองค์กร ทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน ดังนี้
(1) เจ้าหน้าที่วางแผนและควบคุมการผลิต
(2) เจ้าหน้าที่ควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ
(3) ผู้ควบคุมดูแลด้านความปลอดภัยอาหาร และจัดทำระบบความปลอดภัยอาหาร
(4) เจ้าหน้าที่พัฒนาผลิตภัณฑ์
(5) เจ้าหน้าที่เทคนิคด้านการขายวัตถุดิบ/สารเคมีสำหรับอุตสาหกรรมอาหาร
(6) นักวิจัย
(7) นักโภชนาการ
(8) ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัวด้านอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
(9) งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

5. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า

6. เครือข่ายการพัฒนาทักษะการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

การตรวจสอบ วิเคราะห์ และประกันคุณภาพ

  • กรมประมง
  • กรมปศุสัตว์
  • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
  • สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย
  • สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
  • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดชัยนาท
  • บริษัท เอสทีคิว อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

อุตสาหกรรมธัญชาติและขนมอบ

  • บริษัท เพรซิเดนท์ เบเกอรี่ จำกัด (มหาชน)
  • บริษัท แสงนลินฟู้ดส์ จำกัด
  • บริษัท ไพร์ม โพรดักส์ อินดัสตรี้ จำกัด

อุตสาหกรรมผักและผลไม้

  • บริษัท ไพร์ม โพรดักส์ อินดัสตรี้ จำกัด
  • วิสาหกิจชุมชนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ตาลโตนดบ้านห้วยกรด