หนังสือการบัญชีการเงิน pdf

รายละเอียดสินค้า การบัญชีการเงิน (Financial Accounting) ฉบับปรับปรุงใหม่ ISBN9786162820526

การบัญชีการเงิน (Financial Accounting)

อาจารย์ ณัฐวุฒิ ทรัพย์สมบัติ

หนังสือเล่มนี้ได้อธิบายเรื่องพื้นฐานของการบัญชีและธุรกิจ การบัญชีสำหรับธุรกิจจำหน่ายสินค้า และการบัญชีที่เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ โดยมุ่งเน้นให้ผู้อ่านได้ศึกษา เรียนรู้ ทำความเข้าใจเนื้อหาบัญชีการเงินด้วยภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย รวมถึงการได้นำตัวอย่างและแบบฝึกหัดในแต่ละเรื่องมาให้ฝึกทำ การบันทึกและวิเคราะห์ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

♦ ครอบคลุมเนื้อหาวิชา การบัญชีการเงิน ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา

♦ ใช้ภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย กระชับ พร้อมตัวอย่างประกอบที่ชัดเจน

♦ ลำดับเนื้อหาในแต่ละเรื่องจากง่ายไปหายาก

♦ มีโจทย์แบบฝึกหัด แสดงวิธีทำ รวมถึงการวิเคราะห์โจทย์พร้อมเฉลยในแต่ละบท

สารบัญ

บทที่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีและธุรกิจ

           ลักษณะและประเภทของธุรกิจ

           ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทางธุรกิจ

           บทบาทของการบัญชีต่อธุรกิจ

           จริยธรรมทางธุรกิจ

           ความหมายของการบัญชี

           กรอบแนวคิดสำหรับการรายงานทางการเงิน

           แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชี

           สินทรัพย์หนี้สินและส่วนของเจ้าของ

           งบการเงิน

              - งบแสดงฐานะการเงิน         - งบกำไรขาดทุน

              - งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ

              - งบกระแสเงินสด               - หมายเหตุประกอบงบการเงิน

บทที่ การวิเคราะห์และบันทึกรายการค้า

           การวิเคราะห์รายการค้า

           หลักบัญชีคู่

           ผังบัญชี

           ขั้นตอนในการบันทึกรายการค้า

           ตัวอย่างการวิเคราะห์รายการค้าของกิจการให้บริการปรึกษาทางธุรกิจ

              - การวิเคราะห์รายการค้า        - การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป

              - การผ่านรายการไปยังสมุดแยกประเภททั่วไป         

              - การจัดทำงบทดลอง                     - การจัดทำงบการเงิน

บทที่ รายการปรับปรุง

           ความหมายของรายการปรับปรุง

           ประเภทของรายการปรับปรุงและการบันทึกบัญชี

              - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย              - รายได้ค้างรับ

              - ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า         - รายได้รับล่วงหน้า

              - ค่าเสื่อมราคา                  - ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

           การแก้ไขข้อผิดพลาด

           สรุปรายการปรับปรุงณวันสิ้นงวด

บทที่ วงจรทางบัญชีที่สมบูรณ์

           ความหมายและความสำคัญของกระดาษทำการ

           การจัดทำกระดาษทำการ

           รายการปิดบัญชี

บทที่ การบัญชีสำหรับธุรกิจจำหน่ายสินค้า

           ลักษณะของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

           วงจรการปฏิบัติงานของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

           ระบบการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด

              - การบัญชีสำหรับการซื้อสินค้า  - การบัญชีสำหรับการขายสินค้า

              - สรุปการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด

              - การวัดผลการดำเนินงานของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

              - ตัวอย่างแสดงงบการเงินของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

              - รายการปิดบัญชีตามวิธีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด

           ระบบการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง

              - การบัญชีสำหรับการซื้อสินค้า  - การบัญชีสำหรับการขายสินค้า

              - สรุปการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง

              - การวัดผลการดำเนินงานของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

              - ตัวอย่างแสดงงบการเงินของธุรกิจจำหน่ายสินค้า

              - รายการปิดบัญชีตามวิธีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง

บทที่ สมุดรายวันเฉพาะ

           ความแตกต่างระหว่างบัญชีแยกประเภททั่วไปกับบัญชีแยกประเภทย่อย

           ความสำคัญของสมุดรายวันเฉพาะ

           ประเภทของสมุดรายวันเฉพาะ

              - สมุดรายวันซื้อ     - สมุดรายวันขาย      - สมุดรายวันรับเงิน   

              - สมุดรายวันจ่ายเงิน            - สมุดเงินสด

บทที่ การบัญชีและการควบคุมภายในสำหรับเงินสดและเงินฝากธนาคาร

           การควบคุมภายใน

              - วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน        - หลักในการควบคุมภายใน

              - ข้อจำกัดของการควบคุมภายใน

           กิจกรรมการควบคุมภายในที่เกี่ยวกับเงินสด

              - เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด        - วัตถุประสงค์ของการบริหารเงินสด

              - การควบคุมเกี่ยวกับการรับเงินสด                    - การควบคุมเกี่ยวกับการจ่ายเงินสด

           กิจกรรมการควบคุมภายในที่เกี่ยกับเงินฝากธนาคาร

              - การรับหรือจ่ายเงินด้วยวิธีการโอนเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

              - ประเภทของเงินฝากธนาคาร              - งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร

บทที่ การบัญชีสำหรับลูกหนี้และตั๋วเงินรับ

           ความหมายและประเภทของลูกหนี้

           การควบคุมภายในเกี่ยวกับลูกหนี้

           การบัญชีสำหรับลูกหนี้

             - การรับรู้บัญชีลูกหนี้                        - การตัดจำหน่ายบัญชีลูกหนี้

             - การวัดมูลค่าบัญชีลูกหนี้

                 การบันทึกบัญชีลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้

           ความหมายและประเภทของตั๋วเงินรับ

           การบัญชีสำหรับตั๋วเงินรับ

             - การบันทึกรับตั๋วเงิน                       - การปรับปรุงรายการณวันสิ้นงวดเกี่ยวกับตั๋วเงินรับ

  - การบันทึกตั๋วเงินรับเมื่อครบกำหนด       - การนำตั๋วเงินรับไปขายลด

  - กรณีที่ตั๋วเงินรับขาดความน่าเชื่อถือ

บทที่ 9 การบัญชีสำหรับสินค้าคงเหลือ

           ความหมายของสินค้าคงเหลือ

           การคำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ

             - วิธีเฉพาะเจาะจง               - วิธีเข้าก่อนออกก่อน

             - วิธีเข้าหลังออกก่อน                        - วิธีถัวเฉลี่ย

           การแสดงรายการสินค้าคงเหลือ

บทที่ 10 การบัญชีสำหรับสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

           ความหมายและประเภทของสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

           การบัญชีสำหรับที่ดินอาคารและอุปกรณ์

             - การรับรู้รายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์

             - การวัดมูลค่าเริ่มแรกของรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์

             - วิธีการจัดหาสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

             - ค่าเสื่อมราคา      - ต้นทุนที่เกิดขึ้นภายหลัง

             - การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการ

             - การตัดรายการที่ดินอาคารและอุปกรณ์ออกจากบัญชี

           การบัญชีสำหรับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

             - การรับรู้รายการสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

             - ประเภทของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

             - การวัดมูลค่าเริ่มแรกของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

             - การวัดมูลค่าภายหลังการรับรู้รายการ

             - สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่อายุการให้ประโยชน์ทราบได้แน่นอน

             - สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่อายุการให้ประโยชน์ไม่ทราบแน่นอน

บทที่ 11 การบัญชีสำหรับหนี้สิน

           ความหมายและประเภทของหนี้สิน

           หนี้สินหมุนเวียน

             - เงินเบิกเกินบัญชี               - เจ้าหนี้

             - ตั๋วเงินจ่าย                     - ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย

             - ภาษีเงินได้หักณที่จ่ายค้างจ่าย

             - เงินสมทบกองทุนประกันสังคมค้างจ่าย

             - รายได้รับล่วงหน้า             - โปรแกรมสิทธิพิเศษแก่ลูกค้า

             - เงินกู้ยืมระยะสั้น  - ส่วนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี

           หนี้สินไม่หมุนเวียน

             - เงินกู้ยืมระยะยาว              - หุ้นกู้

           หนี้สินที่กำหนดมูลค่าได้แน่นอน

           หนี้สินโดยประมาณ

           หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น

บทที่ 12    การบัญชีสำหรับส่วนของผู้ถือหุ้น

           ส่วนของเจ้าของสำหรับกิจการเจ้าของคนเดียว

           ความหมายและประเภทของบริษัท

           ลักษณะและประเภทของเงินทุนบริษัท

           การบัญชีสำหรับการจำหน่ายหุ้นทุน

           การบัญชีสำหรับการจัดสรรกำไรสะสม

           - การจัดสรรกำไรสะสมเพื่อจ่ายปันผล

           - การจัดสรรกำไรสะสะมเพื่อตั้งเป็นสำรองต่างๆ

แบบฝึกหัด

แผ่นซีดีท้ายเล่ม

           ภาคผนวก1 :แนวคิดการนำเสนองบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

           ภาคผนวก2 :ตัวอย่างงบการเงินฉบับสมบูรณ์

           เฉลยแบบฝึกหัด(1-3)