ไฟเบอร์ กลา ส คือ วัสดุ เสริม แรง ที่ พบ ใน วัสดุ ผสม composite ประเภท ใด

ฐติ ิ หมอรกั ษา
สาขาวชิ าวิศวกรรมอุตสาหการ
มทร.ตะวนั ออก วข.จนั ทบรุ ี

จดุ ประสงคก์ ารสอน

1. เขา้ ใจ และอธบิ ายความหมาย และววิ ัฒนาการของวัสดผุ สมได้
2. เข้าใจ และแจกแจงประเภทของวัสดุผสมที่ใช้ในงานทาง

วิศวกรรมได้
3. เขา้ ใจ และอธบิ ายสมบัติ และการเลอื กใชว้ ัสดุผสมได้
4. นาความร้ดู า้ นวัสดุผสมไปปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

วสั ดุผสมคืออะไร

ในปัจจุบันคานิยามของคาว่าวัสดุผสม (Composite
Materials) ท่ียอมรับกันอย่างกว้างขวางนั้นยังไม่มี แต่ถา้ หาดูจาก
พจนานุกรมซ่ึงได้คานิยามไว้ว่า วัสดุผสมเป็นสิ่งใดก็ได้ที่
ประกอบด้วยองค์ประกอบทางเคมีที่แตกต่างกันตั้งแต่ 2 ชนิด
ขนึ้ ไป ในระดบั ของอะตอมของวสั ดุ เชน่ โลหะผสมบางชนิด และ
วัสดุพอลิเมอร์ สามารถเรียกได้ว่าเป็นวัสดุผสม เพราะมัน
ประกอบด้วยกลุม่ อะตอมทีแ่ ตกตา่ งกนั

วสั ดุผสมคืออะไร

ถ้าพิจารณาจากโครงสร้างในระดับไมโคร (ประมาณ 10-4-10-2 ซม.)
ของโลหะผสม เช่น เหล็กกล้าธรรมดาจะประกอบด้วยเฟอร์ไรด์
(Ferrite) และเพียร์ไลด์ (Pearlite) สามารถเรียกได้ว่าเป็นวัสดุ
ผสม เพร าะเฟอร์ไรด์และเพียร์ไลด์มีองค์ประกอบที่ต่างกัน (เปน็
โครงสร้างที่เป็นยูเทคทอยด์ของเหล็กกล้า) ซึ่งสามารถดูได้จาก
กลอ้ งไมโครสโคปทร่ี ะดับแมคโคร (ประมาณ 10-2 ซม. หรือมากกวา่ )

วสั ดุผสมคืออะไร

พลาสติกท่ีเสริมแรงด้วยใยแก้วสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า
ว่ามีใยแก้วผสมกับพอลิเมอร์ จึงถือว่าวัสดุผสมในขณะนี้เราพอจะ
เห็นได้แล้วว่าความยากในการให้คานิยามของวัสดุผสมอยู่ที่ความ
จากัดของขนาดขององค์ประกอบในวัสดุนั้น ๆ ในงานออกแบบ
ทางวิศวกรรม โดยทั่วไปวัสดุผสมจะ หมายถึง วัสดุท่ี
ประกอบด้วยองค์ประกอบท่ีมีขนาดอยู่ในช่วงของไมโครถึงแมค
โคร แตช่ อบท่จี ะให้อยใู่ นชว่ งแมคโครมากกวา่

คานิยามของวสั ดผุ สม

วัสดุผสม (Composite Materials) เป็นระบบของวัสดุท่ี
ประกอบดว้ ยของผสมหรอื เป็นการรวมกันของสารต้ังแต่ 2 ชนิด
ขนึ้ ไปทง้ั ในขนาดไมโครหรือแมคโครกไ็ ด้ ที่องค์ประกอบทางเคมี
แตกต่างกันและจะต้องไม่ละลายเขา้ ดว้ ยกัน

ความสาคัญทางวิศวกรรมของวัสดุผสมอยู่ท่ีว่าวัสดุ 2
ชนิดมากกว่า 2 ชนิดที่นามาผสมกันให้ได้วัสดุผสมที่มีสมบัติ
พิเศษดีเป็นพิเศษหรือให้มีลักษณะท่ีสาคัญบางอย่างแตกต่างไป
จากสารเดิม

คานยิ ามของวสั ดผุ สม

บางตาราให้นิยามว่า วัสดุผสม คือ วัสดุผสมต้ังแต่ 2 กลุ่ม
วัสดุหลักข้ึนไป โดยท่ีวัสดุผสมจะต้องไม่ละลายซึ่งกันและกัน
โดยที่มีวัสดุชนิดหนึ่งเป็นหลัก (Matrix) และวัสดุอีกชนิดหนึ่ง
หรือหลายชนิดกระจาย แทรกตัวอยู่ในเน้ือวัสดุหลัก เรียกว่า
สารเสริมแรง (Reinforcement)

ส่วนประกอบของวสั ดผุ สม

1) ส่วนเมตริกซ์ (Matrix phase) สว่ นนี้จะเป็นองค์ประกอบหลัก
เปน็ สว่ นที่มีความตอ่ เนื่อง (Continuous phase) เมตริกซ์ท่ีนิยมใช้
คือ พอลเิ มอร์ โลหะ ฯลฯ
2) ส่วนเสริมแรง (Reinforcement phase) เปน็ ส่วนท่ีทาใหว้ ัสดุ
คอมโพสิตมีความแข็งแรงมักเป็นส่วนท่ีไม่ต่อเน่ือง (Discontinuous
phase) ซึ่งอาจมลี ักษณะเป็นแผ่นอนุภาคเล็ก ๆ หรือ เส้นใยก็ได้วัสดุ
เสริมแรงทนี่ ยิ มใชไ้ ดแ้ ก่ เส้นใยแกว้ หรอื เส้นใยธรรมชาติ เป็นต้น

การแบง่ ประเภทของวัสดุผสม

ถ้าแบ่งวัสดุผสมตามชนิดของวัสดุที่เป็นเมทริกซ์จะสามารถ
จาแนกออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1) วสั ดผุ สมพอลิเมอร์ (Polymer matrix composite, PMC)
2) วสั ดุผสมโลหะ (Metal matrix composite, MMC)
3) วสั ดุผสมเซรามกิ (Ceramic matrix composite, CMC)

การแบง่ ประเภทของวัสดุผสม

และสามารถจาแนกย่อย ต่อไปได้อีกตามลักษณะของสาร
เสริมแรง ได้แก่ อนุภาค (Particle) เส้นใย (Fiber) และวิสเกอร์
(Whisker) ดงั รูป

วัสดุผสม
Composite Materials

วัสดผุ สมพอลิเมอร์ วัสดผุ สมโลหะ วัสดผุ สมเซรามกิ
Polymer matrix composite Metal matrix Ceramic matrix composite
composite (MMC)
(PMC) (CMC)

เมทริกซเ์ ทอรโ์ มเซตติงเสริมแรง เสริมแรงดว้ ยเสน้ ใย เสรมิ แรงด้วยเส้นใย
ด้วยเส้นใย เสรมิ แรงด้วยอนุภาค เสริมแรงดว้ ยอนุภาค
เ ม ท ริ ก ซ์ เ ท อ ร์ โ ม พ ล า ส ติ ก เสรมิ แรงดว้ ยวิสเกอร์ เสริมแรงด้วยวสิ เกอร์
เสริมแรงด้วยเส้นใย

Classification of Composite

1. Particle-Reinforces Composite 2. Fibrous Composite

Matrix Matrix

Particles Fiber

วัสดุเสริมสามารถมไี ด้หลายรูปรา่ ง และหลายขนาด เชน่

3. Other Composite Structures

(a) Conventional Laminar Composite
Structure

(b) Sandwich Structure – Foam Core
(c) Sandwich structure using honeycomb core

สารเสรมิ แรง

สารเสริมแรงในวัสดุผสมอนุภาคเสริมแรงจะมีลักษณะเป็น
เมด็ หรือผง เชน่ ผงถ่านดา ซิลกิ อนคารไ์ บด์ เปน็ ตน้

สารเสรมิ แรง

และถา้ พิจารณาอัตราส่วนระหวา่ งความยาวต่อเส้นผ่านศูนย์กลาง
(Aspect ratio) ถ้าอัตราส่วนดังกล่าวมากกว่า 100 ข้ึนไปจะเรียกสาร
เสริมแรงนั้นเป็นเส้นใย ซ่ึงอาจจาแนกตามความยาวเป็นเส้นใยต่อเนื่อง
(Continuous fiber) และเส้นใยไม่ต่อเน่ือง (Discontinuous fiber)
และยังสามารถจาแนกเส้นใยไม่ต่อเนื่องตามอัตราส่วนระหว่างความยาว
ต่อเส้นผ่านศูนย์กลางได้เป็นเส้นใยยาว (Long fiber) ซึ่งมีอัตราส่วน
มากกว่า 1,000 ขึ้นไป และเส้นใยส้ัน (Short fiber) ซึ่งมีอัตราส่วนน้อย
กวา่ 1,000

สารเสริมแรง

เส้นใยมีทั้งท่ีเป็นเส้นใยอินทรีย์ และเส้นใยอนินทรีย์
ตัวอย่างเส้นใย อินทรีย์ เช่น เส้นใยอะรามีด เส้นใยเซลลูโลส เป็น
ต้น ส่วนเส้นใยอนินทรีย์อาจเป็นเส้นใยแก้ว เส้นใยคาร์บอน หรือ
เส้นใยโลหะ เช่น เส้นใยโบรอน เสน้ ใยทองแดง เป็นต้น

Fibrous Composite

เ ป็ น ก า ร เ ส ริ ม ด้ ว ย วั ส ดุ ที่ มี ค่ า สั ด ส่ ว น ค ว า ม ย า ว ต่ อ
เส้นผ่าศูนย์กลางสูง อาจจะเป็นเส้น หรือ แถบ ก็ได้
คุณสมบตั ิของวัสดรุ ่วมท่ีได้ จะขน้ึ กบั หลายปัจจัย ดังนี้
1. ปรมิ าณของใยเสรมิ
2. ตัวประสานระหวา่ งใยเสรมิ
3. ชนิดของ Matrix ที่ใช้
4. การกระจายตวั ของ วัสดเุ สริม

4. ทิศทางของการเสริม หากเป็นการเสริมด้วยเส้นใย ความเค้นจะ
สูงสุดในทิศทางขนานกับเส้นใย และต่าสุดในทิศตั้งฉาก ถ้า
ตอ้ งการใหแ้ ข็งแรงในทกุ ทิศทางก็จะเสรมิ ใยในทุกทิศทาง

max

min min Strength

max 0 90
มมุ ระหว่างทิศทางแรง และทิศทางไฟเบอร์

Carbon Fiber
Glass Fiber

Multilayered composite 3-D weave for fiber-reinforced
composite

Advantages

 lightweight
 The fiber/resin mix can be customized to meet stiffness,

strength and manufacturing requirements
 Part consolidation means a reduced number of assemblies

and a reduced fastener count
 Reduced machining
 Tapered sections and compound contours easily

accomplished
 Resistant to corrosion
 Resistant to fatigue damage with good damping characteristics
 Low coefficient of thermal expansion

Disadvantages

 Complex manufacturing process
 Some part are cost consumption
 No able to recycle
 Difficult to repair or replacement

ตารางความแข็งแรงของวัสดเุ สรมิ ใย

วัสดุ Young’s Modulus %Elongation UTS (N/mm2)
(kN/mm2)

ใยแกว้  10 73 2 1000
mm
3-4 2-4 40-70
UP 9-12 2 120-160

UP+30%ใยแก้ว

UP+65%ใยแกว้ 28 2 630

ผลติ ภณั ฑ์

สารเสรมิ แรง

ส่วนวิสเกอร์เป็นลักษณะของเส้นใยขนาดเล็กมากที่มีเส้น
ผ่านศูนย์กลางในหน่วยไมโครเมตร และมีความยาวเพียงไม่ก่ี
มิลลิเมตร ซ่ึงเกิดจากการก่อตัวทางยาว ของผลึกเดี่ยว
(Elongated single crystal) จึงมีแนวโน้มที่จะเป็นผลึกสมบูรณ์
ที่ปราศจากการเคลื่อน (Dislocation) ทาให้วิสเกอร์มีความ
แขง็ แรงสงู มาก เชน่ วิสเกอรซ์ ลิ ิกอนคารไ์ บด์

วสั ดุผสมพอลิเมอร์

ตัวอยา่ ง Fiberglass reinforced plastic

คือ พลาสติกเสริมใยแก้ว เป็นวัสดุผสม
ระหว่างพลาสติกท่ีเสริมแรงด้วยเส้นใยแก้วท่ีทอเป็นผืน
หรือตดั เปน็ ชน้ิ เล็กๆ

วตั ถุประสงค์ : เป็นการประสานคุณสมบัติ
ความแข็งของเส้นใยแก้วผสมความยืดหยุ่นของโพลิ
เมอร์

พลาสติกท่ีนิยมใช้เป็นวัสดุหลัก เช่น
โพลเี อสเตอร์เรซิน (UP) หรือ อีปอก
ซเี รซนิ (EP)

เส้นใยแกว้ ที่เสริมโดยทอเป็นผืน หรือตัด
เปน็ ชิน้ เลก็ ๆ

หลงั คากระบะทผี่ ลติ จากวสั ดุผสมพอลิเมอรท์ ่มี ีเมทรกิ ซ์
เทอร์โมเซตตงิ เสริมแรงด้วยเส้นใยแกว้

วสั ดผุ สมพอลิเมอรท์ ี่ถกู ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบในรถยนต์

วสั ดผุ สมท่ีเป็นพลาสตกิ เสรมิ แรงด้วยเสน้ ใย

เส้นใยสังเคราะห์ท่ีใช้เสริมแรงพลาสติกในสหรัฐอเมริกามี
ด้วยกัน 3 ประเภทหลัก คือ เส้นใยแก้ว อะรามีด เส้นใยอะรามีด
เป็นพลาสติกพวก อะโรมาติก พอลิอะไมค์ท่ีมีโครงสร้างของ
โมเลกุลแข็งมาก ๆ (Very rigid) และเสน้ ใยคาร์บอน เส้นใยแก้ว
คือพวกที่ใช้กันมากท่ีสุดและมีราคาต่าสุด เส้นใยอะรามีด และเส้น
ใยคาร์บอนมีความแข็งแรงสูง และมีความหนาแน่นต่า และนาไป
ประยุกต์ได้มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างยานอวกาศ
เน่อื งจากมีราคาแพง

วัสดุผสมที่เป็นพลาสติกเสรมิ แรงด้วยเสน้ ใย

ใยแก้วสาหรับเสริมแรงพลาสติกเรซนิ

ใยแก้วที่นามาใช้เสริมแรงพลาสติก เพื่อให้มีโครงสร้างแบบวัสดุผสม
และใชส้ าหรับทาแบบหรือแม่พิมพ์ (Molding Compounds) วัสดพุ วกนี้
จะมีลักษณะเฉพาะท่ีดีคือ มีความแข็งแรงสูง มีรูปทรงท่ีเสถียร เป็นฉนวน
ความร้อน-เย็น ท่ีดี ไม่ดดู ความชนื้ ทนทานต่อการผุกร่อน เป็นฉนวนไฟฟ้า
ทดี่ ี ขึ้นรูปงา่ ย และมีราคาค่อนข้างถกู

แก้วที่ใช้สาหรับทาใยแก้ว ที่นับว่าสาคัญท่ีสุดมีอยู่ 2 ประเภท คือ E
(Electrical) glasses และ S (Highstrength) glasses

วสั ดุผสมทเี่ ปน็ พลาสตกิ เสรมิ แรงดว้ ยเส้นใย

เส้นใยคาร์บอนสาหรับเสริมแรงพลาสติก (Carbon Fibers for
Reinforced Plastics)

วัสดุผสมท่ีผลิตจากการใช้ใยคาร์บอนไปเสริมแรงให้กับ
พลาสติกเรซนิ (Plastic resin) เช่น อีพอกซี (Epoxy) เพอ่ื ให้วัสดุ
ผสมนั้นมีคุณลักษณะเฉพาะในหลาย ๆ ส่วนร่วมกัน คือ ทาให้มี
นา้ หนกั เบา มีความแขง็ แรงสงู มคี วามแขง็ ตวั ไม่โคง้ งอง่าย

วสั ดุผสมท่เี ปน็ พลาสติกเสริมแรงดว้ ยเส้นใย

เส้นใยคาร์บอนสาหรับเสริมแรงพลาสติก (Carbon Fibers for
Reinforced Plastics)

สมบัติเหล่านี้ก่อให้เกิดความสนใจที่จะนาไปประยุกต์
ทางดา้ นยานอวกาศ (Aerospace) เช่น สร้างเคร่อื งบิน โดยใช้วัสดุ
ผสมที่ทาด้วยใยคาร์บอนเสริมแรงพลาสติก แต่เน่ืองจากราคาของ
เส้นใยคาร์บอนค่อนข้างสูง จึงทาให้การนาไปใช้งานทางด้านอุตสา
กรรมต่าง ๆ เช่น อตุ สาหกรรมรถยนต์ตอ้ งกาจดั ตวั ลง

วสั ดุผสมท่เี ป็นพลาสตกิ เสรมิ แรงด้วยเส้นใย

เส้นใยคาร์บอนสาหรับเสริมแรงพลาสติก (Carbon Fibers for
Reinforced Plastics) (ตอ่ )

เส้นใยคาร์บอนท่ีใช้วัสดุผสมนี้ ทามาจากแหล่งท่ีสาคัญ 2
แหล่งคือ พอลอิ ะครีโลไนไทรล์ (Polyacrylonitrile,PAN) กับยาง
มะตอย (Pitch) ซ่ึงเป็นตัวที่เกิดขึ้นมาก่อนท่ีจะเป็นเส้นใยคาร์บอน
เรียกว่า พรีเคอเซอร์ (Precursor)

วสั ดุผสมทเ่ี ปน็ พลาสติกเสริมแรงดว้ ยเส้นใย

เส้นใยคาร์บอนสาหรับเสริมแรงพลาสติก (Carbon Fibers for
Reinforced Plastics) (ตอ่ )

โดยทั่วไปเส้นใยคาร์บอนผลิตมาจาก PAN-precursor ด้วย
กระบวนการ 3 ข้ันตอนด้วยกนั คือ

1. กระบวนการทาใหเ้ สถียร (stabilization)

2. กระบวนการทาใหเ้ กดิ คาร์บอน (Carbonization)

3. กระบวนการทาใหเ้ ปน็ แกรไฟต์ (graphitization)

วสั ดุผสมพลาสตกิ เสรมิ แรงด้วยเส้นใย

เรซินพอลิเอสเทอร์เสริมแรงด้วยเส้นใยแก้ว (Fiberglass-
reinforced polyester resins) ความแข็งแรงของพลาสติก
เสริมแรงดว้ ยเสน้ ใยแก้วน้ัน ส่วนใหญ่จะขน้ึ อยู่กับปริมาณของแก้ว
และการจัดตัวของใยแก้ว โดยทั่วไปถ้าเปอร์เซ็นต์โดยน้าหนักของ
แก้วในวัสดุผสมมีค่าสูงกว่า ความแข้งแรงของพลาสติกเสริมแรงก็
จะแข็งแรงกว่าด้วย เมื่อมีเส้นใยแก้วที่พันกันเป็นเกลียวขนานกัน
อาจทาให้ปริมาณของใยแก้วมีในวัสดุผสมได้ถึง 80% โดยน้าหนัก
ซึง่ เปน็ สว่ นท่ที าให้วสั ดนุ ม้ี ีความแขง็ แรงสูง

วัสดุผสมโลหะ
วสั ดุผสมโลหะได้พัฒนาข้ึนเพ่ือปรับปรุงความสามารถในการทนทาน
ต่อความล้าของโลหะให้ดมี ากขึน้ โดยเฉพาะอะลมู ิเนยี ม และไทเทเนียม ทเี่ ป็น
เมทริกซ์โลหะท่ีต้องการให้มีสมบัติพิเศษในการใช้งานในอุตสาหกรรมอากาศ
ยาน สารเสริมแรงอาจอยู่ในลักษณะของอนุภาค เส้นใย หรือวิสเกอร์ก็ได้
นอกจากนี้สารเสริมแรงสาหรับโลหะต้องมีความแข็งแรงสูง และทนความร้อน
สูงด้วย เน่ืองจากโลหะต้องใช้อุณหภูมิสูงมาก ในการข้ึนรูป และสารเสริมแรง
ท่ีใช้ต้องไม่เกิดการกัดกร่อนกับเมทริกซ์โลหะ จากข้อจากัดเหล่านี้ ทาให้สาร
เสริมแรงอนินทรีย์ และเส้นใยแก้วไม่สามารถใช้เสริมแรงให้กับเมทริกซ์โลหะ
ได้ สารเสริมแรงที่ใช้จึงต้องเป็นสารเสริมแรงเซรามิก หรือสารเสริมแรงโลหะ
เชน่ ซิลิกอนคาร์ไบด์ อะลมู นิ า เส้นใยโบรอน เปน็ ตน้

วสั ดุผสมโลหะท่ถี ูกใชเ้ ป็นสว่ นประกอบในเครื่องยนต์

วสั ดผุ สมเซรามกิ

วสั ดผุ สมเซรามกิ ที่นามาใช้ในเครื่องยนต์กงั หันแกส๊

คอนกรีต (Concrete)

เป็นวัสดุวิศวกรรมหลักที่ใช้ในการก่อสร้าง วิศวกรโยธาใช้
คอนกรีตในการออกแบบก่อสร้าง เช่น สร้างสะพาน อาคาร เข่ือน
กาแพงสาหรับกักเก็บและกั้นน้า และใช้สร้างถนน ในปี 1993
สหรัฐอเมริกาผลิตคอนกรีตใช้ประมาณ 60×107 เมตริกตัน ซ่ึง
มากกว่าเหล็กกล้าถึง 8.7×107 เมตริกตันในปีเดียวกัน เม่ือกล่าวถึง
วัสดุก่อสร้างแล้วคอนกรีตมีข้อได้เปรียบกว่าวัสดุอื่น ๆ มากมาย เช่น
ง่ายต่อการออกแบบและเปล่ียนแปลงได้ง่าย สามารถหล่อได้ประหยัด
ราคาถูก มีความทนทาน ป้องกันไฟได้ สามารถนาไปประกอบหรือ
สรา้ งทบ่ี ริเวณงานได้ และยังสามารถออกแบบหรือสรา้ งใหส้ วยงามได้

คอนกรีต (Concrete)

สิ่งท่ีเป็นข้อเสียของคอนกรีต โดยพิจารณาจากทัศนะของ
วิศวกร คือ คอนกรีตมี Tensile strength ตา่ ความอ่อนตวั หรือ
ความเหนียวตา่ และมกี ารหดตัวบา้ ง

คอนกรีต (Concrete)

คอนกรีตเป็นวัสดุผสมประเภทเซรามิกชนิดหน่ึง ซ่ึง
ประกอบด้วยอนุภาคท่ีหยาบของวัสดุฝังตัวอยู่ในเมทริกซ์แข็งของ
เน้ือซีเมนต์ (ตัวเชื่อม) ซึ่งตามปกติจะเป็นปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์
กับน้า คอนกรีตอาจมีองค์ประกอบที่แตกต่างกันบ้าง แต่ตามปกติ
แล้วจะประกอบด้วยปูนซีเมนต์พอร์ตแลนด์ 7-15% น้า 14-21%
อากาศ 21 -8% สว่ นผสมท่ลี ะเอียดเปน็ ผง 24-30% และส่วนผสม
ทีเ่ ป็นอนภุ าคหยาบ 31-51% โดยปริมาตร

ยางมะตอยหรอื แอสฟัลท์ (Asphalt)

เป็นวัสดุประสานชนิดหนึ่ง มีลักษณะยืดหยุ่น ทนทางและ
ปอ้ งกนั นา้ ซมึ ซ่ึงมนุษย์รู้จักและนามาใช้ประโยชน์ในหลาย ๆ ดา้ น
รวมทั้งนามาใช้เปน็ วัสดุในการก่อสร้างอาคารบา้ นเรือนหรือถังเก็บ
น้าตั้งแต่สมัยโบราณ แอสฟัลท์เกิดขึ้นตามธรรมชาติในหลาย ๆ
แห่งของโลก และที่นามาใช้อย่างแพร่หลายในปัจจุบันเกือบ
ท้ังหมดท้ังในวงการวิศวกรรมและอุตสาหกรรมจะเป็นแอสฟลั ท์ซึ่ง
เป็นผลท่ไี ดจ้ ากการกลั่นนา้ มันดบิ

ยางมะตอยหรอื แอสฟัลท์ (Asphalt)

คุณสมบัติที่สาคัญของแอสฟัลท์ในเชิงการนามาใช้เป็นวัสดุ
ก่อสร้างสามารถสรุปได้ดังนี้

• คุณสมบัตใิ นการยืดและประสาน (Cementing)

• คุณสมบตั ิในการปอ้ งกันนา้ ซมึ (Water Proofing)

• คุณสมบัติที่เปลี่ยนเป็นของเหลว หรืออ่อนตัวเม่ือได้รับ
ความร้อน และแข็งตัวเมอ่ื เย็นลง (Thermoplastic)

ยางมะตอยหรอื แอสฟัลท์ (Asphalt)

คุณสมบัติท้ัง 3 ดังกล่าว ทาให้แอสฟัลท์ได้ถูกนามาใช้ในงาน
ต่าง ๆ ท้ังงานทางด้านวิศวกรรม และในอุตสาหกรรมหลายอย่าง
เช่น

• ใช้เป็นตวั ประสานเพื่อเกาะยึดวัสดุตา่ ง ๆ เช่น หินย่อย และ
กรวด เป็นต้น เข้าด้วยกันเพ่ือให้ได้ส่วนผสมสาหรับใช้ในการทาผิว
ทางจราจร

• ใช้สาหรับดาดคลองชลประทาน อ่างเก็บน้า สระน้า ผิวหน้า
ของเข่ือนดนิ เพื่อปอ้ งกันนา้ ซมึ และป้องกนั การกดั กรอ่ นของผิวดนิ

ยางมะตอยหรือแอสฟลั ท์ (Asphalt)

• ใช้เป็นวัสดุในวงการอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ เช่น ทาสีกันสนิท
ทากระดาษป้องกันความชื้น ผสมกับทรายทาอิฐสาหรับงาน
ก่อสร้าง ทากระเบ้ืองลูกฟูกสาหรับมุงหลงั คา ตลอดจนใช้เป็นวัสดุ
สว่ นผสมในการผลติ ยางรถยนต์เป็นต้น