เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมีอะไรบ้าง

เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมีอะไรบ้าง

โรงเรียนบ้านคูเมือง (อ่อนอนุเคราะห์)

กิจกรรมขับเคลื่อนโครงการ

เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมีอะไรบ้าง

กิจกรรมส่งเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ความเป็นมา วัตถุประสงค์

กิจกรรมส่งเสริมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนำหลักคุณธรรมนำความรู้มาใช้ในการดำเนินกิจกรรม

นโยบายการเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษาไทย

เร่งรัดการปฏิรูปการศึกษาโดยยึด “คุณธรรมนำความรู้” ขยายโอกาสทางการศึกษาของประชาชนให้กว้างขวาง ทั่วถึง เสริมสร้างความตระหนักสำนึกในคุณค่าของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมานฉันท์ สันติวิธี วิถีประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือของสถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา และสถาบันการศึกษา เพื่อให้เกิดกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นมา


ทำเนียบผู้เข้าร่วมกิจกรรม

สรุปผลกิจกรรม/บันทึกการทำงาน

ทางโรงเรียนได้มีกิจกรรมสำหรับส่งเสริมปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้

การนำไปประยุกต์ใช้สู่สถานศึกษา
การออมทรัพย์

  • สหกรณ์ร้านค้า
  • หนึ่งคนหนึ่งอาชีพ
  • กลุ่มสนใจ
  • การจัดทำบัญชีรับ
  • จ่ายรายบุคคล 
  • ปลูกพืชผักสวนครัว
  • การนำทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาบริหารจัดการ

ด้านสังคม

  • โรงเรียนสวยด้วยมือเรา
  • กลุ่มงานในโรงเรียน
  • การเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญ
  • การเผยแพร่ความรู้สู่ครัวเรือน – ครอบครัวสู่โรงเรียน
  • แม่ – พ่อปลูกลูกรักษา ๕ อย่างต่อครัวเรือน

ด้านสิ่งแวดล้อม

  • ชมรมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสถานที่
  • การบำเพ็ญประโยชน์ในที่สาธารณะ
  • ครอบครัวสะอาดปลอดภัยไร้สารพิษ
  • โรงเรียนปลอดถุงพลาสติก
  • ธนาคารต้นไม้
  • การสกัดสารต้านแมลงจากพืชในท้องถิ่น
  • การส่งเสริมประดิษฐ์นวัตกรรมการประหยัดพลังงาน

  ด้านศิลปวัฒนธรรม

  • กิจกรรมร่วมงานประเพณีต่างๆของชุมชน
  • การอนุรักษ์ภาษาอีสาน ( ผญา )
  • กิจกรรมสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • การบูรณะโบราณสถานโนนแก

ด้านศาสนา

  • กิจกรรมจูงมือเข้าวัด
  • การเข้าร่วมกิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา
  • การเข้าค่ายคุณธรรม
  • ธนาคารความดี

"ขออภัย"

ยังไม่มีเนื้อหาข้อมูลในส่วนนี้

เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมีอะไรบ้าง
 &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="577" valign="top"&gt;&lt;table width="564" align="center"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="556"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/head_Menu3.png" width="560" height="50" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt; &lt;p align="center"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/title_03.png" width="322" height="37" alt=""&gt;&lt;/p&gt; &lt;table width="540" align="center"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td colspan="2"&gt;&lt;table width="520"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="211"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/r_menu3_01.jpg" width="211" height="171" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="297" valign="middle"&gt;&lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&lt;strong&gt;นโยบายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสถานศึกษาพอเพียงต้นแบบโรงเรียนตากพิทยาคม สู่ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา&lt;/strong&gt;&lt;/font&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td width="344" valign="top"&gt;&lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; โรงเรียนตากพิทยาคม ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนวทาง ในการดำรงชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทย “อยู่อย่างพอเพียง” ซึ่งเป็นแนวคิดอันทรงคุณค่า เป็นมหัศจรรย์ในชีวิตแด่พสกนิกร หาที่ใดเปรียบมิได้ โรงเรียนตากพิทยาคม เป็นโรงเรียนหนึ่ง ที่นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการบริหารการจัดการศึกษาภายในโรงเรียน โดยการนำของ นายธวัช ธิวงศ์คำ ผู้อำนวยการโรงเรียนตากพิทยาคม ในการสนองนโยบายกระทรวงศึกษาการขับเคลื่อนสถานศึกษา จึงได้กำหนดขอบข่ายด้วยการบริหารงานการศึกษาโดยเน้นการขับเคลื่อน การปฏิบัติใน 4 ด้าน บนทางสายกลางคือ &lt;/font&gt;&lt;br&gt; &lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; 1. ด้านการบริหารจัดการ&lt;br&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; 2. ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน&lt;br&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; 3. ด้านการจัดการพัฒนาผู้เรียน&lt;br&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; 4. ด้านพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา&lt;/font&gt; &lt;/td&gt; &lt;td width="190" valign="top"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/r_menu3_02.jpg" width="180" height="252" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/r_menu3_03.jpg" width="331" height="219" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;td&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/r_menu3_04.jpg" width="180" height="128" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td colspan="2"&gt;&lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; ด้วยการขับเคลื่อนในการบริหารการจัดการศึกษา ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ให้ผู้เรียนพึ่งพาตนเองอยู่ในวิถีงามความพอเพียง โรงเรียนตากพิทยาคม จึงได้รับการยกย่องโดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้เป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประจำปี 2554 “สถานศึกษาพอเพียง 2554” และได้รับการยกย่องให้เป็น “สถานศึกษาพอเพียงต้นแบบ”&lt;/font&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td colspan="2"&gt;&lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; &amp;nbsp; “ความรู้สู่การแบ่งปัน” โรงเรียนตากพิทยาคม มุ่งมั่นประสานสัมพันธ์ สร้างสรรค์นโยบาย เพื่อผลประโยชน์สู่ชุมชนในวิถีที่ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนตากพิทยาคม จึงได้ขยายผลปรัชญาพระราชการอันทรงคุณค่า ไปสู่ชุมชน สังคม และสถานศึกษาอื่นๆ จึงได้จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อบริการแก่นักเรียน ชุมชน และสังคม โดยมีศูนย์การเรียนรู้ที่หลากหลายอาทิ เช่น ประเพณีลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวง ,ปุ๋ยหมักเงินแสน ,สมุนไพร ,วัดสระเกศ ,The Geometer's Sketchpad (GSP) ,IS การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ,การเพาะเห็ด ,เรื่องกล้วยๆ ,ห้องเรียนสีเขียว ,อาเซียนศึกษา ,ธนาคารโรงเรียนตากพิทยาคม ,ไม้ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ,อาหารพื้นบ้านชาวตาก ซึ่งการบริหารการจัดการศึกษา เช่นนี้ จะนำพา โรงเรียนตากพิทยาคมก้าวสู้ “ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา”&lt;/font&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;table width="540" align="center"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_00.gif" alt="" width="487" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/s_00.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_07.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_07.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_06.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/s_06.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพเพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_03.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_03.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_05.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_05.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_08.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_08.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_01.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_01.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_02.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_02.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td align="center"&gt;&lt;a target="_blank" href="http://tps.comsci.info/suf/r_menu3.html#javascript:void(0);"&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/s_04.gif" alt="" width="480" height="517" onclick="MM_openBrWindow('images/b_04.gif','','scrollbars=yes,width=1097,height=1181')"&gt;&lt;br&gt; คลิกที่รูปภาพ เพื่อดูรูปภาพขนาดใหญ่ &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;/a&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;p&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;a href="http://tps.comsci.info/suf/index.html" target="_blank"&gt;&lt;font size="2px" face="Verdana"&gt;&lt;strong&gt;&amp;lt;-- กลับไปยังเว็บไซด์หลัก ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา &lt;br&gt; &amp;lt;-- โรงเรียนตากพิทยาคม &lt;br&gt; &lt;/strong&gt;&lt;/font&gt;&lt;/a&gt;&lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;br&gt; &lt;/p&gt; &lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;td width="220" valign="top"&gt;&lt;table width="220"&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt;&lt;img src="http://tps.comsci.info/suf/images/head_Menu2.png" width="210" height="50" alt=""&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td&gt; &lt;script type="text/javascript"&gt; &lt;!-- stm_bm(["menu295c",900,"","images/blank.gif",0,"","",0,0,250,0,1000,1,0,0,"","",0,0,1,2,"default","hand","",1,25],this); stm_bp("p0",[1,4,0,0,4,2,8,0,100,"",-2,"",-2,50,0,0,"#999999","transparent","",3,0,0,"#000000"]); stm_ai("p0i0",[0,"โครงสร้างบุคลากร","","",-1,-1,0,"r_menu1.html","_self","","","images/icon_01.gif","images/icon_02.gif",8,8,0,"","",0,0,0,0,1,"#E6EFF9",1,"#FFD602",1,"","",3,3,0,0,"#E6EFF9","#000000","#666666","#000000","bold 8pt Verdana","bold 8pt Verdana",0,0,"","","","",0,0,0]); stm_ai("p0i1",[6,1,"#999999","",-1,-1,0]); stm_aix("p0i2","p0i0",[0,"วิสัยทัศน์โรงเรียน","","",-1,-1,0,"r_menu2.html"]); stm_aix("p0i3","p0i1",[]); stm_aix("p0i4","p0i0",[0,"นโยบายเศรษฐกิจ","","",-1,-1,0,"r_menu3.html"]); stm_aix("p0i5","p0i1",[]); stm_aix("p0i6","p0i0",[0,"พระราชดำรัสของในหลวง","","",-1,-1,0,"r_menu4.html"]); stm_ep(); stm_em(); //--&gt; &nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;tr&gt; &lt;td colspan="3" height="65" background="images/grass.png" bgcolor="#7eb22c"&gt;&amp;nbsp;&lt;/td&gt; &lt;/tr&gt; &lt;/table&gt; &lt;script type="text/javascript"&gt; swfobject.registerObject("FlashID"); </td></tr></table></td></tr></table></body> </html>

เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนคืออะไร

เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียน เป็นแนวทางให้ผู้บริหาร ครูผู้สอน สามารถประยุกต์ใช้กับการเรียน การ สอน เป็นแนวการท ากิจกรรมเสริมในโรงเรียน กิจกรรมชุมชนแบบมีส่วนร่วม การพึ่งตนเองเป็นหลัก ที่เน้น ความสมดุลทั้ง 3 คุณลักษณะ คือ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน เป็นกระบวนการสร้างคนให้กับ สังคม ที่เป็นคนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ...

เศรษฐกิจพอเพียงมีอะไรบ้าง เช่น

เศรษฐกิจพอเพียงเริ่มที่ตัวเอง.
- ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้.
- ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือยในการดำรงชีพ.
- ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต.
- ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย.
- มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง.
- ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย.

นักเรียนสามารถนำหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการเรียนได้อย่างไรบ้าง

ระบบการศึกษาบนพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงจะต้องสอนให้นักเรียนนักศึกษาคำนึงถึง ความพอประมาณในการดำเนินชีวิต ไม่โลภ ไม่ฟุ้งเฟ้อ มีการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ ฝึกให้มีการมองไปข้างหน้า และเตรียมตัวให้พร้อมกับความผันผวนของเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างรู้เท่าทัน รวมถึงการหมั่นแสวงหาความรู้ เพื่อให้เกิดความรอบรู้ในด้าน ...

ประโยชน์ที่ได้รับจากโรงเรียนพอเพียงมีอะไรบ้าง

ประโยชน์ที่ได้รับ.
๑. รู้และเข้าใจ เรื่อง เกษตรพอเพียง ตามแนวพระราชดำรัส.
๒. ได้ออกเผยแพร่ให้ความรู้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และชาวบ้านหมู่บ้านใกล้เคียง.
๓. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการจัดทำโครงงานนำไป ปฏิบัติจริงที่บ้าน และที่โรงเรียน.
๔. ได้รู้จักการทำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ.