ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ

แบบทดสอบวันภาษาไทย
แบบทดสอบวันภาษาไทยแห่งชาติ
 ID: 2174829
Language: Thai
School subject: กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
Grade/level: 4
Age: 10-12
Main content: กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
Other contents: กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ

ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Add to my workbooks (0)
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Download file pdf
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Embed in my website or blog
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Add to Google Classroom
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Add to Microsoft Teams
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ

nunnht


ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ

What do you want to do?

ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

 

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

สวัสดีครับ วันนี้เว็บไซต์ ปันสื่อฟรีขอนำเสนอ แบบทดสอบออนไลน์ วันภาษาไทยแห่งชาติ ผ่านเกณฑ์รับเกียรติบัตรทาง E-mail หากทำแบบทดสอบผ่านร้อยละ 70 % ขึ้นไป โดย โรงเรียนหนองพอกวิทยาลัย

คำชี้แจง

1. แบบทดสอบออนไลน์ฉบับนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมต้องตอบแบบทดสอบให้ถูกต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 จึงจะได้รับเกียรติบัตรทางอีเมล
(E-mail) ที่แจ้งไว้

ตัวอย่างเกียรติบัตรวันภาษาไทยแห่งชาติ

ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่างเกียรติบัตรวันภาษาไทยแห่งชาติ

ความเป็นมาของวันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทยแห่งชาติ ประวัติความเป็นมาสืบเนื่องจากคณะกรรมการรณรงค์เพื่อภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญของภาษาไทย และมีความห่วงใยในปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นต่อภาษาไทย รวมถึงเพื่อกระตุ้นและปลุกจิตสำนึกให้คนไทยทั้งชาติได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของภาษาไทย ตลอดจนร่วมมือกันทำนุบำรุง ส่งเสริม และอนุรักษ์ภาษาไทยให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป จึงได้เสนอขอให้รัฐบาลประกาศให้วันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี เป็น วันภาษาไทยแห่งชาติ เช่นเดียวกับวันสำคัญอื่นๆ ที่รัฐบาลได้จัดให้มีมาก่อนแล้ว เช่น วันวิทยาศาสตร์, วันสื่อสารแห่งชาติ เป็นต้น และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 เห็นชอบให้วันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ

ทำแบบทดสอบ

หมายเหตุ
1. แบบทดสอบออนไลน์ฉบับนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ 10 คะแนน
2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมต้องตอบแบบทดสอบให้ถูกต้องอย่างน้อยร้อยละ 70 จึงจะได้รับเกียรติบัตรทางอีเมล
(E-mail) ที่แจ้งไว้

เหตุผลที่เลือกวันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ

ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
ตัวอย่าง ข้อสอบ วันภาษาไทยแห่งชาติ
เหตุผลที่เลือกวันที่ 29 กรกฎาคม เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ

วันภาษาไทยแห่งชาติ ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคมของทุกปี ซึ่งวันดังกล่าวตรงกับวันที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้เสด็จพระราช ดำเนินไปเป็นประธาน และทรงร่วมอภิปรายในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ ห้องประชุมคณะอักษรศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ทรงเปิดอภิปรายในหัวข้อ “ปัญหาการใช้คำไทย” โดยพระองค์ทรงดำเนินการอภิปรายและทรงสรุปการอภิปราย ที่แสดงถึงพระปรีชาสามารถและความสนพระราชหฤทัยรวมถึงความห่วงใยในภาษาไทย ซึ่งเป็นที่ประทับใจกับผู้ร่วมเข้าประชุมในครั้งนั้นเป็นอย่างยิ่ง และเนื่องใน วันภาษาไทยแห่งชาติ เรา มีพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรในครั้งนั้น มีใจความตอนหนึ่งว่า “เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษาก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่าวิธีใช้คำมาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สามคือความร่ำรวยในคำของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ำรวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้… สำหรับคำใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจำเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคำที่ง่ายๆ ก็ควรจะมี ควรจะใช้คำเก่าๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก…” นับ เป็นครั้งแรกและครั้งเดียวในประวัติศาสตร์ของวงการภาษาไทย ที่ได้รับพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณดังกล่าว ซึ่งในโอกาสต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังได้ทรงแสดงความสนพระราชหฤทัย และความห่วงใยในภาษาไทยอีกหลายโอกาส อย่างในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2512 ที่ได้ทรงมีพระบรมราโชวาทตอนหนึ่งว่า