หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

From Wikipedia, the free encyclopedia

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้สถาปนาเป็นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศไทยที่ผลิตบุคลากรเพื่อสนองความต้องการของธุรกิจของประเทศซึ่งมีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้ามากขึ้น คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับหนึ่งของไทยในสาขา การเงินและการบัญชี (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก และเป็นแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดับ) และ การบริหารธุรกิจและการจัดการ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject

Quick facts: ชื่อย่อ, สถาปนา, คณบดี, ที่อยู่, วารสาร... คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Chulalongkorn Business School

ชื่อย่อCBSสถาปนา22 ตุลาคม พ.ศ. 2481คณบดีรองศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชรที่อยู่

254 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร 10330

วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์
Chulalongkorn Business Reviewเพลงพาณิชย์บัญชีสี███ สีฟ้า

มาสคอต

เรือสำเภาเว็บไซต์www.cbs.chula.ac.thClose

HomeAbout usFAQPressSite mapTerms of servicePrivacy policy

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคมพ.ศ. 2481 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มเปิด "แผนกวิชาการบัญชี" และ "แผนกวิชาพาณิชยศาสตร์" สังกัดคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ จนกระทั่งวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้สถาปนาเป็นคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี เป็นสถาบันการศึกษาแห่งแรกของประเทศไทยที่ผลิตบุคลากรเพื่อสนองความต้องการของธุรกิจของประเทศซึ่งมีการพัฒนาและเจริญก้าวหน้ามากขึ้น คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับหนึ่งของไทยในสาขา การเงินและการบัญชี (อันดับที่ 101 - 150 ของโลก และเป็นแห่งเดียวในประเทศที่ติดอันดับ) และ การบริหารธุรกิจและการจัดการ (อันดับที่ 151 - 200 ของโลก) จากการจัดอันดับของ QS world university ranking by Subject

Quick facts: ชื่อย่อ, สถาปนา, คณบดี, ที่อยู่, วารสาร... คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Chulalongkorn Business School

ชื่อย่อCBSสถาปนา22 ตุลาคม พ.ศ. 2481คณบดีรองศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชรที่อยู่

254 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน
กรุงเทพมหานคร 10330

วารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์
Chulalongkorn Business Reviewเพลงพาณิชย์บัญชีสี███ สีฟ้า

มาสคอต

เรือสำเภาเว็บไซต์www.cbs.chula.ac.thClose

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf
ปริญญาตรี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย views 345,812

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รีวิวพาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2481 ปัจจุบันได้เปิดสอนหลักสูตรมากมาย เพ่ือให้ครอบคลุมในทุกระดับการศึกษา รับรองการขยายตัวทางศึกษาของไทยในอนาคต หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มุ่งเน้นให้่น้องๆ มีความรู้ความสามารถทางด้านบริหารธุรกิจไปพร้อมๆ กับความพัฒนาของประเทศอย่างยั่งยืน และสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ เข้ากับการวางแผน การวิเคราะห์ การตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป 

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต มี 5 สาขาวิชา ได้แก่

1. สาขาวิชาการจัดการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ เป็นสาขาวิชาล่าสุดของหลักสูตรนี้ เน้นสร้างบัณฑิตให้สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ในอนาคต ด้วยกระบวนการทางความคิดแบบผู้ประกอบการ แสวงหาผลกำไร เล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจ โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง อีกทั้งยังสามารถนำศาสตร์การจัดการควบคู่ไปกับศาสตร์การบริหารธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการตลาด บัญชี การเงิน การผลิต และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากการผู้ประกอบการ จะต้องสามารถเชื่อมโยงศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน และประยุกต์ใช้ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไปได้

2. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ เป็นสาขาวิชาที่เน้นถึงการนำเอาแนวคิดด้านการจัดการมาคิดมุมกลับปรับมุมมองใหม่ ให้เข้ากับระบบโซ่อุปทาน เริ่มตั้งแต่การจัดซื้อ, การขนส่งและเก็บรักษาสินค้า, รวมไปถึงขั้นตอนการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ Product โดยใช้ต้นทุนให้ต่ำที่สุด เนื้อหาจะเน้นเรื่องของการกระจายสินค้าในระบบโซ่อุปทาน การจัดการขนส่งและเก็บรักษาสินค้า ตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำ รวมทั้งการจัดการความสัมพันธ์กับคู่ค้าในระบบโซ่อุปทาน เพื่อให้น้องๆ มีความรู้และเข้าใจในกระบวนการจัดการกระจายสินค้าของระบบโซ่อุปทานโลกได้อย่างเป็นระบบ

3. สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการจัดการ เป็นการศึกษาเรื่องของการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมารวมเข้ากับกระบวนการทำงานขององค์กรต่างๆ เพื่อตอบสนองการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ การเรียนจะเน้นไปที่ความรู้ในศาสตร์สารสนเทศควบคู่กับการบริหารธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการตลาด บัญชี การเงิน การผลิต ฯลฯ 

4. สาขาวิชาการธนาคารและการเงิน เน้นการผลิตบัณฑิตทางด้านสาขาการธนาคารและการเงินให้เพียงพอกับความต้องการของตลาดงานด้านการเงินในปัจจุบัน รวมไปถึงการบริการสังคมทางด้านวิชาการให้แก่หน่วยงานรัฐและเอกชนในการพัฒนาความรู้ที่มีอยู่ให้ทันกับก้าวหน้าทางด้านตลาด การเงิน และการลงทุน

5. สาขาวิชาการตลาด จะสอนน้องๆ ให้มีความรู้ด้านการตลาดอย่างครบถ้วน น้องๆ สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริง ดังนั้นนอกเหนือจากการเรียนการสอนในห้องเรียนแล้ว ยังได้สนับสนุนนิสิตในการไปทัศนศึกษาเยี่ยมชมธุรกิจจริงๆ ยังไม่หมดเพียงเท่านี้เพราะในหลายวิชาก็ได้มีการเชิญอาจารย์พิเศษหรือวิทยากรผู้ที่มีความเชี่ยวชาญและประสบความสำเร็จในแวดวงการตลาด มาบรรยายให้กับน้องๆ อีกด้วย ตลอดจนยังได้มีการส่งนิสิตเข้าฝึกงานในแผนกการตลาดขององค์กรต่างๆ นอกจากนั้นทางคณะๆ ยังกระตุ้นให้นิสิตทุกคนเประกวดแข่งขันทางการตลาด ซึ่งนิสิตของภาควิชาการตลาดได้รับรางวัลจากการแข่งขันเหล่านี้มาโดยตลอด
 

ในการเรียนการสอนสำหรับหลักสูตรนี้ ในปี 1 น้องๆ จะได้เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป, สังคมศาสตร์ และพื้นฐานทางธุรกิจ ซึ่งก็จะมีบางวิชาทีต่อยอดจากช่วงเรียนม.ปลาย แต่บางวิชาที่เป็นเนื้อหาใหม่
วิชาเรียนในปี 1 ของหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จะมีวิชาที่น้องๆ สามารถนำไปตัดสินใจในการเลือกสาขาวิชาเอกของตัวเองได้ อาทิ
     - Calculus for Business ซึ่งเป็นการต่อยอดพื้นฐานจาก ซึ่งเป็นพื้นฐานที่จะต้องนำไปประยุกต์กับทางธุรกิจ วิชานี้เป็นวิชาที่หนักที่สุดที่น้องๆ จะได้เจอตอนปี 1
     - Experience English 1 - 2 วิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน เป็นการเรียนปรับพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษในระดับมหาวิทยาลัย โดยจะเน้นใน 4 ทักษะ (ฟัง พูด อ่าน เขียน)
     - Financial Accounting / Intermediate Accounting พื้นฐานบัญชี และหลักการทางบัญชีทั้งหมด เจาะลึกการบัญชีการเงินฝั่งสินทรัพย์
     - Economics 1 - 2  เรียนตั้งแต่ Micro จนถึง Macro ของ Business Economics (เน้นการธนาคารและการเงิน และการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ)
     - Management and Organization เป็นวิชาฟังก์ชั่นธุรกิจหลักตัวแรกที่น้องๆ จะได้เรียน ส่วนฟังก์ชั่นธุรกิจหลักตัวอื่น เช่น Marketing, Finance และ Operations จะได้เรียนในปีต่อๆ ไป
     - General Education เป็นวิชาทั่วไปของทางมหาวิทยาลัยที่น้องๆ จะได้เรียนรวมกับเพื่อนต่างคณะ ซึ่งเป็นวิชาเลือกกึ่งบังคับคือน้องๆ สามารถเลือกเรียนวิชาอะไรก็ได้ภายใน 4 หมวดนี้ เก็บให้ครบภายใน 4 ปี (หมวดวิทยาศาสตร์, หมวดสังคมศาสตร์, หมวดมนุษยศาสตร์ และหมวดสหศาสตร์)

จุดเด่นของที่นี่ คืออะไร

- เป็นหลักสูตรที่เปิดมานานแล้วกว่า 70 ปี

จบมาทำงานอะไร

สาขาวิชาการจัดการเพื่อเป็นผู้ประกอบการธุรกิจ : ผู้ประกอบการใหม่/ผู้ประกอบการในอนาคต, ผู้ประกอบการเพื่อสังคม, ผู้ประกอบการในองค์กร เช่น นักพัฒนาธุรกิจ, นักวิเคราะห์และวางแผน, ที่ปรึกษาด้านกลยุทธ์ ฯลฯ

สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ : เจ้าของกิจการ: ผู้รับจัดการขนส่งสินค้า, ตัวแทนออกของ, ผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ , ผู้จัดการขนส่งสินค้าหลายรูปแบบ, ผู้จัดการในบริษัทสายการเดินเรือ บริษัทขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ, ผู้จัดการด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน , ผู้จัดการคลังสินค้า ผู้จัดการงานขนส่งและการกระจายสินค้า, หน่วยงานภาครัฐ เช่น การท่าเรือ การท่าอากาศยาน และ การรถไฟ เป็นต้น ฯลฯ

สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางการจัดการ : นักวิเคราะห์ระบบ, นักวิเคราะห์ข้อมูล, ที่ปรึกษาด้านระบบสารสนเทศ, ผู้ตรวจสอบระบบสารสนเทศ, ที่ปรึกษาระบบจัดการทรัพยากรองค์กร, นักพัฒนาระบบ ฯลฯ

สาขาวิชาการธนาคารและการเงิน : งานBancassurance, งานบริการลูกค้าองค์กร, งานที่ปรึกษาการเงินลูกค้าองค์กร, งานวิเคราะห์สินเชื่อ งานอนุมัติสินเชื่อ, งานเร่งรัดหนี้สิน, งานเงินทุนหลักทรัพย์, งานบริการด้านการเงิน, งานบริหารกองทุน, งานลงทุน, งานสินเชื่อ, งานรับจำนอง, งาน Private Banking, งาน Retail Banking, งาน Treasury, งานธนาคารอื่นๆ ฯลฯ

สาขาวิชาการตลาด : ผู้ช่วยแบรนด์ธุรกิจอุตสาหกรรม, ผู้จัดการแบรนด์, ผู้ช่วยทางด้านการขายนธุรกิจทางด้านการตลาดและการกระจายสินค้า, ผู้จัดการฝ่ายขาย หรือผู้จัดการทางด้านการตลาด, ผู้ช่วยฝ่ายพัฒนาในสถานประกอบการทางด้านการค้าปลีก ห้างสรรพสินค้า, ผู้จัดการเขตหรือผู้จัดการฝ่าย ฯลฯ

สมัครเรียนทำอย่างไร

ระบบรับตรง (มีนาคม)
- กำลังศึกษาชั้น ม.6 แผนการเรียนวิทย์-คณิต, ศิลป์-คำนวณ
- ผลการเรียนรวมเฉลี่ย (GPAX) ม.ปลาย รวม 5 เทอม ไม่ต่ำกว่า 3.00
- เฉพาะสาขาบัญชี มีผลคะแนนสอบ GAT และ PAT1 (เกณฑ์ขั้นต่ำคะแนนรวมทุกวิชา 50%)
- สมัครทางอินเทอร์เนตที่เว็บไซต์ www.atc.chula.ac.th

แอดมิชชัน
- GPAX 20%
- O-NET 30% (คะแนนวิชาภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ, สังคมศึกษา, คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ำกว่า 30%)
- GAT 30%
- PAT1 (คณิตศาสตร์) 20%

  • หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf
  • หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf
  • หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf
  • หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf
  • หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร

136, 000 บาท

รายละเอียดค่าใช้จ่าย

17, 000 บาท/เทอม

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิเคราะห์ข้อมูลและประเมินคะแนน U-Review Score โดยฝ่ายวิชาการ upbean.comหลักเกณฑ์การให้คะแนน

ชื่อคณะ

 

2 รีวิว คะแนนความน่าสนใจจากผู้ใช้งาน 10.0 ดีเยี่ยม 

2

0

0

0

0

 

พาณิชยศาสตร์และการบัญชี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดีไหม?

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

GOOGLE MAP

ข้อมูลติดต่อ

หมายเลขติดต่อ

0-2218-5758

เว็บไซต์

http://www.chula.ac.th/

Facebook

Chulalongkorn University

หลักสูตร บริหารธุรกิจ จุฬา pdf

345K VIEWS

ให้คะแนนความน่าสนใจ