การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

ยินดีต้อนรับนักเดิมพันจากทั่วทุกมุมโลก เข้าสู่ W69 มิติใหม่แห่งการเดิมพันออนไลน์ ด้วยเกมส์พนันออนไลน์มาตรฐานที่เราพร้อมมอบประสบการณ์เล่นใหม่ๆ ให้แก่ทุกท่าน

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

มาตรฐานสากล

จากผู้ให้บริการชั้นนำ

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

ฝาก-ถอน ออโต้

รวดเร็ว ทันใจ

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

Online 24hrs

พร้อมทีมงานมืออาชีพ

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

W69 เดิมพันออนไลน์ทุกชนิด พร้อมเกมส์มาตรฐานทุกรูปแบบ

ยินดีต้อนรับนักเดิมพันจากทั่วทุกมุมโลก เข้าสู่ W69 มิติใหม่แห่งการเดิมพันออนไลน์ ด้วยเกมส์พนันออนไลน์มาตรฐานที่เราพร้อมมอบประสบการณ์เล่นใหม่ๆ ให้แก่ทุกท่าน โดยเราเป็นพันธมิตรชั้นนำ กับเว็บพนันทั้งระดับเอเชีย และระดับโลกมากมาย เช่น Sbobet, Pragmaticplay, Allbet, Playtech และอื่นๆ อีกมากมาย โดยเราได้คัดสรรค่ยเกมส์ชั้นนำที่มีระบบการเล่นที่มีความปลอดภัย และน่าเชื่อถือ พร้อมระบบการเล่นที่เป็นมิตรกับทุกคน

สมัครสมาชิก W69 วันนี้เราพร้อมดูแลทุกท่านด้วยบริการจากทีมงานมืออาชีพ ที่ได้รับการเทรนด์งานมาเป็นอย่างดี พร้อมดูแลแบบ VIP ด้วยช่องทางติดต่อหลากหลายช่องทางทั้ง การโทร, ไลน์, อีเมล, ไลฟ์แชท ทำรายการทุกขั้นตอนง่ายด้วยบริการด้านการเงินผ่านระบบออโต้ ทำรายการเพียงไม่กี่วินาทีก็พร้อมเริ่มได้ทันที

สมัครสมาชิก

  • การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

    คาสิโน
  • การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

    กีฬา
  • การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

    สล็อต & ยิงปลา
  • การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

    ล็อตเตอรี่

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

คาสิโน

พบกับบริการเกมส์คาสิโนชั้นนำมาตรฐานระดับเอเชีย และยุโรป ทั้ง AG gaming, Pragmatic play, Allbet และอื่นๆ อีกมากมาย ให้บริการคาสิโนออนไลน์ทุกชนิด บาคาร่า รูเล็ต ไฮโล เสือมังกร กำถั่ว

สมัครสมาชิก

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

กีฬา

แทงฟุตบอล หรือเล่นบอลออนไลน์ พร้อมกีฬาชั้นนำจากทั่วทุกมุมโลก สนุกไปกับเกมส์การเล่นได้ตลอด 24 ชั่วโมง สดทั้งเกมส์ พร้อมกีฬายอดฮิตอย่างอีสปอร์ต(E-sport) ก็เล่นได้ทันที

สมัครสมาชิก

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

สล็อต & ยิงปลา

เลือกเล่น และสนุกครบรสไปกับเกมสล็อต และเกมยิงปลายอดฮิต มีให้เลือกมากกว่า 20 ค่ายเกมส์ พร้อมส่งมอบความมันส์มากกว่า 200+ เกมส์ พร้อมอัปเดตเกมส์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง

สมัครสมาชิก

การตรวจ สอบ ความชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย

ล็อตเตอรี่

เอาใจคอหวย และนักเสี่ยงโชคจากตัวเลข ด้วยล็อตเตอรี่ออนไลน์ และเกมส์ออนไลน์จาก QQkeno, Game play, Funky game, Kingmaker

ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๒ ประกาศสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่าโดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานทางจริยธรรมจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่รัฐสภา โดยพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังกล่าว มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒ เป็นต้นไป

ที่มา
๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
     มาตรา ๗๖ กำหนดให้รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นและงานของรัฐ อย่างอื่นให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยหน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันในการปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดทําบริการสาธารณะและการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน รวมตลอดทั้งพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ
      วรรคสอง รัฐพึงดําเนินการให้มีกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามระบบคุณธรรม โดยกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องมีมาตรการป้องกันมิให้ผู้ใดใช้อํานาจหรือกระทําการโดยมิชอบที่เป็นการก้าวก่ายหรือแทรกแซงการปฏิบัติหน้าที่หรือกระบวนการแต่งตั้งหรือการพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
      วรรคสาม รัฐพึงจัดให้มีมาตรฐานทางจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงานของรัฐใช้เป็นหลักในการกําหนดประมวลจริยธรรมสําหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐในหน่วยงานนั้น ๆ ซึ่งต้องไม่ต่ำกว่ามาตรฐานทางจริยธรรมดังกล่าว

     มาตรา ๒๕๘ ข. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (๔) ให้มีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงานบุคคลภาครัฐเพื่อจูงใจให้ผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาทำงานในหน่วยงานของรัฐ และสามารถเจริญก้าวหน้าได้ตามความสามารถ และผลสัมฤทธิ์ของงานของแต่ละบุคคล มีความซื่อสัตย์สุจริต กล้าตัดสินใจและกระทำในสิ่งที่ถูกต้อง โดยคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตัว มีความคิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆเพื่อให้การปฏิบัติราชการและการบริหารราชการแผ่นดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีมาตรการคุ้มครองป้องกันบุคลากรภาครัฐจากการใช้อำนาจโดยไม่เป็นธรรมของผู้บังคับบัญชา

๒. คณะรัฐมนตรีในการประชุมเมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๙ ได้มีมติมอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) กำกับดูแลหน่วยงานผู้รับผิดชอบการดำเนินการเตรียมการให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ โดยการจัดทำมาตรฐานทางคุณธรรมจริยธรรมบุคคลของหน่วยงานของรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๖ วรรคสาม และมาตรา ๒๕๘ ข.(๔) ให้คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ร่วมกับองค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ รับผิดชอบดำเนินการ

๓. สำนักงาน ก.พ. ได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุมผู้แทนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรม จำนวน ๔ ครั้ง (ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๓
เมื่อวันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๐ และครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๖๐ โดยที่ประชุมมีมติเห็นชอบข้อเสนอแนวทางการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. .... และให้แจ้งเวียนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ พิจารณา

๔. ก.พ. ในการประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๐ มีมติรับทราบข้อเสนอแนวทางการจัดทำมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. .... ที่สำนักงาน ก.พ. ร่วมกับผู้แทนองค์กรกลางบริหารงานบุคคลประเภทต่าง ๆ เป็นผู้จัดทำขึ้น และให้นำเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป

๕. สำนักงาน ก.พ. จัดทำเอกสารตามหลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ พร้อมจัดประชุมชี้แจงหน่วยงานที่มีข้อสังเกตต่อร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. .... เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ และจัดส่งเอกสารพร้อมข้อยุติหน่วยงานที่มีข้อสังเกตให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

๖. คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ มีมติอนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. .... มีสาระสำคัญเป็นการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรม และกำหนดให้มีคณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ให้คำปรึกษาแก่องค์กรกลางบริหารงานบุคคลในการจัดทำและปรับปรุงประมวลจริยธรรม กำหนดหลักเกณฑ์การนำจริยธรรมไปใช้ในกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมถึงวินิจฉัย ตีความ หรือให้ความเห็นในเรื่องที่ขัดแย้งกับมาตรฐานทางจริยธรรม ตลอดจนกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินการตามมาตรฐานทางจริยธรรม ตามที่สำนักงาน ก.พ. เสนอ และให้ส่งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อไป

๗. คณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๒) ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ  เครืองาม) เป็นประธานได้พิจารณาตรวจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. ....  จำนวน ๔ ครั้ง (ครั้งที่ ๑ เมื่อวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๓ เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ และครั้งที่ ๔ เมื่อวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๑) และเมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา มีหนังสือ ที่ นร ๐๙๐๔/๔๙๖ แจ้งผลการตรวจพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจริยธรรมเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. .... ดังนี้
    (๑) แก้ไขชื่อร่างพระราชบัญญัติ เป็น “ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ....” เพื่อให้สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๗๖ วรรคสาม
    (๒) กำหนดบทนิยามคำว่า “หน่วยงานของรัฐ” ให้เกิดความชัดเจนว่าไม่หมายความรวมถึงหน่วยงานธุรการของรัฐสภา องค์กรอิสระ ศาล และองค์กรอัยการ
    (๓) กำหนดกระบวนการรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ รวมถึงกำหนดกลไกและมาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างให้มีการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม พร้อมให้สำนักงาน ก.พ. แจ้งยืนยันความเห็นเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติฯ ไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีโดยตรงต่อไป

๘. สำนักงาน ก.พ. จัดทำเอกสารตามหลักเกณฑ์การร่างกฎหมายและการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายของหน่วยงานของรัฐตามมาตรา ๗๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ .... และรับฟังความคิดเห็นสาธารณะผ่านทางเว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ. (www.ocsc.go.th) และเว็บไซต์การรับฟังความคิดเห็นกฎหมายไทย (www.lawamendment.go.th) ตั้งแต่วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ถึงวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑ โดยสรุปผลการรับฟังความเห็นพร้อมแผนการจัดทำกฎหมายลำดับรอง และแจ้งยืนยันร่างพระราชบัญญัติฯ ไปยังสำนักเลขาธิกาคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑

๙. คณะรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. ....ต่อที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๘๙/๒๕๖๑ เป็นพิเศษ วันพุธที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๖๑ ซึ่งที่ประชุมฯ มีมติรับหลักการและตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณา โดยมีกำหนดการแปรญัตติภายใน ๑๕ วัน และกำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานภายใน ๔๕ วัน

๑๐. คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. .... ได้จัดให้มีการประชุมเพื่อพิจารณาแก้ไขปรับปรุงร่างพระราชบัญญัติฯ เป็นรายมาตรา จำนวน ๗ ครั้ง พร้อมจัดทำรายงานและนำเสนอต่อที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ครั้งที่ ๗/๒๕๖๒ เป็นพิเศษ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๒ โดยที่ประชุมฯ เห็นสมควรประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. .... เป็นกฎหมาย ด้วยคะแนนเสียง เห็นด้วย ๑๗๐ เสียง ไม่เห็นด้วย ไม่มี งดออกเสียง ๓ เสียง ไม่ลงคะแนน ๒ เสียง และเห็นด้วยกับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------