การแสดงชุดใดที่นางลมุล ยมะคุปต์ เป็นผู้ประดิษฐ์ท่ารำ

๑. เพลงงามแสงเดือน งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า
เราเล่นกันเพื่อนสนุก
ขอให้เล่นฟ้อนรำ งามใบหน้ามามาอยู่วงรำ
เปลื้องทุกไม่วายระกำ
เพื่อสามัคคีเอย ๒. เพลงชาวไทย ชาวไทยเจ้าเอ๋ย
การที่เราได้เล่นสนุก
เพราะชาติเราได้เสรี
เราจึงควรช่วยชูชาติ
เพื่อความสุขเพิ่มพูน ขออย่าละเลยในการทำหน้าที่
เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้
มีเอกราชสมบูรณ์
ให้เก่งกาจเจิดจำรูญ
ของชาวไทยเอย ๓. รำมาซิมารำ รำมาซิมารำ
ยามงานเราทำงานจริงๆ
ถึงยามว่างเราจึงรำเล่น
ตามเยี่ยงอย่างตามยุค
เล่นอะไรให้มีระเบียบ
มาซิมาเจ้าเอ๋ย มาฟ้องรำ เริงระบำกันให้สนุก
ไม่ละไม่ทิ้งจะเกิดเข็ญขุก
ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์
เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม
ให้งามให้เรียบจึงจะคมขำ
มาเล่นระบำของไทยเราเอย ๔. เพลงคืนเดือนหงาย ยามกลางคืนเดือนหงาย
เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต
เย็นร่มธงไทย ปกไทยทั่วหล้า เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา
เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา
เย็นยิ่งน้ำฟ้ามาประพรมเอย ๕. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ดวงจันทร์วันเพ็ญ
ทรงกลดสดสี
แสงจันทร์อร่าม
ไม่งามเท่าหน้า
งามวงพักตร์ยิ่งด้วยจันทรา
วาจากังวาน
รูปทรงสมส่วน
สมเป็นดอกไม้ ลอยเด่นอยู่ในนภา
รัศมีทอแสงงามตา
ฉายงามส่องฟ้า
นวลน้องยองใย
จริตกิริยานิ่งนวลละไม
อ่อนหวานจับใจ
ยั่วยวนหทัย
ขวัญใจชาติเอย ๖. เพลงดอกไม้ของชาติ ขวัญใจดอกไม้ของชาติ
๑. เอวองค์อ่อนงาม
ชี้ชาติไทยเนาถิ่น
๒. งานสุกสิ่งสามารถ
ดำเนินตามนโยบาย งามวิลาศนวยนาฏร่ายรำ (๒ เที่ยว)
ตามแบบนาฏศิลป์
เจริญวัฒนธรรม
สร้างชาติช่วยชาย
สู่ทนเหนื่อยยากตรากตรำ ๗. เพลงหญิงไทยใจงาม เดือนพราว ดาวแวววาวระยำ
ดวงหน้าหน้าโสภาเพียงเดือนเพ็ญ
ขวัญใจหญิงไทยส่งศรีชาติ
เกียรติยศก้องปรากฏทั่วคาม แสงดาวประดับ ส่องให้เดือนงามเด่น
คุณความดีที่เห็นเสริมให้เด่นเลิศงาม
รูปงามพิลาศใจกล้ากาจเริงนาม
หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว ๘. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ดวงจันทร์ขวัญฟ้า
จันทร์ประจำราตรี
ที่เทิดทูนคือชาติ
ถนอมแบบสนิทใน ชื่นชีวาขวัญพี่
แต่ขวัญพี่ประจำใจ
เอกราชอธิปไตย
คือขวัญใจพี่เอย ๙. เพลงยอดชายใจหาญ โอ้ยอดชายใจหาญ
น้องขอร่วมชีวี
แม้สุดยากลำเค็ญ
น้องจักสู้พยายาม ขอสมานไมตรี
กอบกรณีย์กิจชาติ
ไม่ขอเว้นเดินตาม
ทำเต็มความสามารถ ๑๐. เพลงบูชานักรบ น้องรัก รักบูชาพี่
เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ
น้องรัก รักบูชาพี่
หนักแสนหนัก พี่ผจญ
น้องรัก รักบูชาพี่
บากบั่นสร้างหลักฐาน
น้องรัก รักบูชาพี่
เลือดเนื้อพี่ พลีอุทิศ ที่มั่งคงกล้าหาญ
สมศักดิ์ชาตินักรบ
ที่มานะอดทน
เกียรติพี่ขจรจบ
ที่ขยันกิจการ
ทำทุกด้าน ทำทุกด้านครันครบ
ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวี
ชาติยงอยู่ ยงอยู่คู่พิภพ
Authorวัชนี เมษะมาน, 2495- Titleประวัติและผลงานนาฎยประดิษฐ์ของครูลมุล ยมะคุปต์ : กรณีศึกษาระบำพม่า-มอญ / วัชนี เมษะมาน = Biography and choreography of Lamul Yamakup : a case study of Pama-Mon dance / Watchanee MeasamarnImprint 2543Connect tohttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/5921Descript ก-ฐ, 281 แผ่น : ภาพประกอบ
     สมัยที่ ฯพณฯ หลวงวิจิตรวาทการ ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศิลปากร ท่านประพันธ์บทละครปลุกใจไว้หลายเรื่อง เช่น เลือดสุพรรณ เจ้าหญิงแสนหวี อานุภาพพ่อขุนรามคำแหง อานุภาพแห่งความรัก อานุภาพความเสียสละ ซึ่งมีระบำประกอบเพลงสลับฉากหลายชุดได้มีส่วนร่วมในการคิดประดิษฐ์ท่ารำทุกชุด ดังเช่น ชุดระบำเชิญพระขวัญ, ระบำชุมนุมเผ่าไทย, ระบำบายศรี, ระบำใต้ร่มธงไทย, ระบำนกสามหมู่,ระบำชุดในน้ำมีปลาในนามีข้าว, ระบำเสียงระฆัง ฯลฯ นอกจากนี้ยังเป็นผู้ให้ท่ารำของตัวเอกตัวประกอบ โดยร่วมกับหม่อมต่วน ภัทรนาวิกและนางมัลลี (หมัน) คงประภัศร์

                 นอกจากนี้ ท่านยังเป็นผู้ร่างหลักสูตรให้แก่วิทยาลัยนาฏศิลป ซึ่งนับว่าท่านเป็นครูนาฏศิลป์  คนแรกในการวางหลักสูตรการเรียนการสอนนาฏศิลป์ไทย ทำให้การเรียนนาฏศิลป์มีระบบ มีขั้นตอนใน  การฝึกหัด นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันล้ำค่าที่ท่านฝากไว้แก่แผ่นดิน

#รหัสโครงการภาควิชาชื่อโครงการ ไทย / อังกฤษบทคัดย่อ ไทย / อังกฤษอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษา1AE22-01วิศวกรรมเกษตรการศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของหุ่นยนต์สับเหง้ามันสำปะหลัง
AEรศ.ขวัญตรี แสงประชาธนารักษ์
นายวชิรวิทย์ ศรีเทพย์
นายศิวกร ศิรินิกร
2AE22-03วิศวกรรมเกษตรการประเมินคุณความแตกต่างค่าการดูดกลืนแสงของอ้อยด้วยเครื่อง FT-NIR
AEอ.อาทิตย์ ภูผาผุด
นายณัฐนนท์ โชติมานนท์
นายพงศธร อินนอก
3AE22-05วิศวกรรมเกษตรการศึกษาการลดความชื้นใบและลำต้นมันสำปะหลังโดยเครื่องอบลดความชื้นแบบถังหมุนเพื่อเป็นอาหารสัตว์
AEรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นางสาวยศวดี อาจหาญ
นางสาวเอมวรินทร์ แสงวิเศษ
4AE22-06วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและพัฒนากล่องเลี้ยงจิ้งหรีดต้นแบบสำหรับครัวเรือน
AEรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นางสาวปภาวรินทร์ สมไชย
นายไชยภัทร มอญขาม
5AE22-08วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยการอบแห้งเมล็ดพันธุ์ข้าวด้วยเครื่องอบแห้งแบบกระบอกหมุนวนหลายชั้น
AEผศ.คำนึง วาทโยธา
นายวงศกร สิริอมตธรรม
นายสุวัชรินทร์ แก้วบุญเรือง
6AE22-09วิศวกรรมเกษตรการศึกษาการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ทางเกษตร
AEรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นางสาวภัทรสุดา ใจจิตร
นายภูวริศ ภควณิชย์
นางสาวปุณมัทนา แสงบำรุง
7AE22-11วิศวกรรมเกษตรการจัดการน้ำใต้ดินเพื่อความยั่งยืนของการผลิตอ้อยในพื้นดิน อำเภอภูเวียงและอำเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น
AEผศ.โพยม สราภิรมย์
นางสาวโชติกา โพธิกุล
นางสาวศศิวิมล รวมสุข
8AE22-13วิศวกรรมเกษตรการศึกษาการแปรสภาพชีวมวลเหลือทิ้งจากการผลิตเป้นเชื้อเพลิงแข็ง
AEผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายบรรยวัสถ์ สุขุนา
นายเอกเปรม แก้วคำแสน
9AE2021-01วิศวกรรมเกษตรการปรับปรุงและพัฒนาเครื่องวัดแป้งในหัวมันสำปะหลังสดด้วยวิธีความถ่วงจำเพาะแบบพกพา
Improvement and Evaluation of Machine for Starch Content Measurement in Fresh Cassava Tubertest
testรศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาวกานติศา ภูมิวารินทร์
นายปราชญ์ วงศ์แหวน
10AE2021-02วิศวกรรมเกษตรเครื่องอบที่หลบซ่อนจิ้งหรีดด้วยพลังงานความร้อนจากอินฟาเรดร่วมแสงอาทิตย์
Solar assisted infrared heatr dryer for criket\\\'s egg crateในการดำเนินโครงการโครงงานทางคณะผู้จัดทำใคร่ขอขอบพระคุณท่าน รศ.ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการที่คอยให้ความช่วยเหลือ สนับสนุนและให้คำแนะนำตลอดจนให้ความ ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ แก่ผู้ทําโครงการ รวมถึงการตรวจสอบ ให้คำแนะนําและแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ของงานทุกอย่างรวมทั้งรายงานโครงการฉบับนี้ด้วย ขอขอบคุณศูนย์วิจัยวิศวกรรมเกษตร ที่ให้ความเอื้อเฟื้อสถานที่ในการทำโครงการ และให้การสนับสนุนโครงการและคอยให้การดูแลเป็นอย่างดีสุดท้ายนี้ ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้คำปรึกษา รวมถึงทุกท่านที่เกี่ยวข้องที่ได้ให้ความรู้คำแนะนำ และค่อยช่วยเหลือจนโครงการนำเนินจนแล้วเสร็จตลอดจนการให้ใช้สถานที่ นอกจากนี้ผู้จัดทำโครงการขอขอบคุณเพื่อนนักศึกษาร่วมรุ่นระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเกษตรทุกท่านที่ค่อยให้คำปรึกษาและค่อยให้กำลังใจมาโดยตลอดในการจัดทำโครงการให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี ผู้จัดทำโครงการขึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วย
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างเครื่องอบที่หลบซ่อนจิ้งหรีดและทดสอบปัจจัยที่เหมาะสมในการทำงาน เพื่อนำมาช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงจิ้งหรีด โดยตัวเครื่องประกอบด้วย 2 ส่วน คือตัวเครื่องอบที่ใช้ความร้อนจากเตาอินฟราเรดและส่วนของความร้อนร่วมจากแสงอาทิตย์ การทดสอบมีการกำหนดอุณหภูมิในการอบ 3 ช่วง ได้แก่ 70, 80 และ 90 องศาเซลเซียส การทดสอบแบบไม่มีภาระและแบบมีภาระใช้ที่หลบซ่อนจิ้งหรีดจำนวน 300 และ 400 แผง และมีการวัดค่าความสิ้นเปลืองแก๊สจากการใช้งานโดยการวัดน้ำหนักแก๊สก่อนและหลังการอบโดยวัดเป็นกิโลกรัม ผลการศึกษาพบว่า เครื่องอบที่หลบซ่อนจิ้งหรีดด้วยพลังงานความร้อนจากอินฟราเรดร่วมแสงอาทิตย์ โดยการนำความร้อนจากแสงอาทิตย์มาร่วมใช้กับเตาแก๊สอินฟราเรดมีการใช้แก๊สสอยู่ที่ 0.2 กิโลกรัม/ชั่วโมง ช่วยลดการใช้ปริมาณแก๊สลดจากการที่ใช้เต้าแก๊สอินฟราเรดเพียงอย่างเดียว ที่มีการใช้แก๊สอยู่ที่ 0.25 กิโลกรัม/ชั่วโมง และได้มีการนำเครื่องต้นแบบไปให้กลุ่มเกษตรกรกลุ่มผู้เลี้ยงจิ้งหรีดได้นำไปใช้จริงรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นางสาวพลอยไพริน ทองเหลือง
นางสาวสุนิสา กำขุนทด
นายกษิดิน สุภารัตน์
11AE2021-03วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแตาเผาถ่าน 3 รูปแบบ
The study and comparison of the efficiency of 3 different incineratorsโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหาประสิทธิภาพของการเผาถ่านจากเตาเผาทั้ง 3 รูปแบบ โดยศึกษา เตาเผา Carbonization เตาเผา Gasifier และเตาเผา Pyrolysis มีการวัดค่าดังนี้ อุณหภูมิสูงสุดขณะเผา ผลผลิตถ่านที่ได้จากการเผา ปริมาณเชื้อเพลิงที่ใช้ในการเผา ระยะเวลาในการเผา โดยทดสอบด้วยไม้ 2 ชนิดคือ ไม้ยูคาลิปตัส เศษไม้จากไม้พาเลท และค่าชี้วัดถ่าน จากผลการทดสอบพบว่า 1. ผลการทดสอบเศษไม้พาเลทจากเตาทั้ง 3 รูปแบบ เตาเผา Carbonization น้ำหนักถ่านที่ได้สูงที่สุด คือ 7.35 กิโลกรัม เปอร์เซ็นต์สูญเสียน้อยที่สุด คือ 71.63 เปอร์เซ็นต์ เตาเผา Gasifier ใช้ระยะเวลาในการเผาน้อยที่สุด คือ 3 ชั่วโมง 38 นาที อุณหภูมิสูงที่สุด คือ 1116.3 องศาเซลเซียส และเตาPyrolysis มีประสิทธิภาพจากการใช้งานจริงสูงที่สุด คือ 18.39 เปอร์เซ็นต์ 2. ผลการทดสอบไม้ยูคาจากเตาทั้ง 3 รูปแบบ เตาเผา Carbonization มีประสิทธิภาพจากการใช้งานจริงสูงที่สุด คือ 20.14 เปอร์เซ็นต์ เตาเผา Gasifier ระยะเวลาในการเผาน้อยที่สุด คือ 4 ชั่วโมง 8 นาที มีอุณหภูมิสูงสุด คือ 1035.8 องศาเซลเซียส และเตาเผา Pyrolysis น้ำหนักถ่านที่ได้สูงที่สุด คือ 10.18 กิโลกรัม เปอร์เซ็นต์สูญเสียน้อยที่สุด คือ 78.36 เปอร์เซ็นต์
The objective of project was to study and find the efficiency of charcoal burning from 3 types of kilns, which are the carbonization furnace, the gasifier furnace, and the pyrolysis furnace. The measurements that were used to compare the differences included: 1) the maximum temperature during firing, 2) the charcoal production from burning, and 3) the amount of fuel used for a burning incineration period. In this study, there were 2 types of wood that were tested, which were scrap wood from pallets and eucalyptus wood. The results from scrap wood pallets with all 3 types of charcoal furnace indicated that: 1) the carbonization furnace could burn charcoal at a maximum weight of 7.35 kg and caused the least mass loss, which was 71.63%, 2) the gasifier furnace took 3 hours and 38 minutes, the least time consuming, to burn at a maximum temperature of 1116.3 °C, and 3) the maximum practical efficiency of the pyrolysis furnace was 18.39%. The results from eucalyptus wood with all 3 types of furnaces indicated that 1) the maximum practical efficiency of the carbonization furnace efficiency was 20.14%, 2) the gasifier furnace took 4 hours and 8 minutes, the least time consuming, to burn at the maximum temperature of 1035.8 °C, and 3) the pyrolysis furnaces burned the maximum charcoal weight at 10.18 kg with the lowest mass loss at 78.36%.ผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายธีมะ เยาวพินิจ
นายรัชนัย ทวีคูณ
12AE2021-04วิศวกรรมเกษตรการประเมินค่า Normalized Difference Vegetation index (NDVI)
NDVI Valuation with ArcGIS Information Projgramการสำรวจโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อใช้ในการหาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมดิน วัตถุประสงค์หลักของโครงการนี้จึง เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยใช้วิธี Normalized Difference Vegetation Index (NDVI) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น จากข้อมูลดาวเทียม Landsat 8 เพื่อให้รัฐบาลหรือเอกชนได้นำไปใช้ประโยชน์หรือพิจารณาหาแนวทางนำมาแก้ไขหรือยับยั้งปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ผลการหาค่า NDVI จากภาพถ่ายดาวเทียมมาจำแนกเป็นข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ด้วยการกำหนดช่วงค่า NDVI ในแต่ละลักษณะพื้นที่โดยใช้ข้อมูลแผนที่ NDVI ในปี 2014 - 2018 เทียบกับข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน และเก็บค่า NDVI ตามลักษณะของพื้นที่นั้น ๆ เพื่อนำมาสร้างข้อมูลการใช้ที่ดินด้วยวิธี NDVI โดยช่วงค่า NDVI ที่แตกต่างกันนั้นสามารถแบ่งลักษณะการใช้ที่ดินได้ชัดเจน 4 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ (forest) แหล่งน้ำ (Water) พื้นที่ชุมชน/ที่รกร้าง (Urban/Fallow) และพื้นที่การเกษตร(AG) จากการประเมินค่า NDVI จากภาพข้อมูลถ่ายดาวเทียม LandSat8 นำมาคำนวณด้วยโปรแกรม ArcGIS ได้ค่าข้อมูล NDVI เชิงพื้นที่ในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าค่า NDVI ปี 2014 ถึง 2018 ในฤดูหนาว มีความชัดเจนของการตรวจจับสีที่ดี ซึ่งทำให้สังเกตได้ว่าข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมที่นำมาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Survey using satellite images to be used to find changes in land use and land cover. Therefore, the main objective of this thesis is to study land use conversion in KhonKaen University area by using NDVI method in KhonKaen University area. KhonKaen Province from Landsat 8 satellite data for the government or the private sector to take advantage or consider ways to solve or stop problems that may arise in the future The NDVI results from satellite imagery were classified as land use data. By determining the NDVI value ranges for each area feature using NDVI map data in 2014-2018 compared to land use data, and collecting NDVI values according to the area characteristics to generate land use data using NDVI method. The different NDVI values can be clearly categorized into four types of land use: forest, water, urban/fallow, and agricultural (AG) Based on the NDVI value evaluation from LandSat8 satellite image data calculated by ArcGIS program, the spatial NDVI data were obtained in the Khon Kaen University area. It was found that the NDVI values from 2014 to 2018 in winter had good color detection clarity. which made it noticeable that the satellite image data used for analysis.รศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
นายวราวุธ คงเลิศกิตติ
นายณัฐธัญ ทัฬหวณิช
13AE2021-05วิศวกรรมเกษตรการประเมินปริมาณน้ำฝนส่วนเกินด้วยวิธี NRCS-Curve ด้วยภาพถ่ายดาวเทียม ในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
The extimated excess rainfall with NRCS-Curve by satellite imagery. In the area of Khon Kaen Universityรศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
นายธนพล กรธนกิจ
นายศิวกานต์ วรเถกิงกุล
14AE2021-06วิศวกรรมเกษตรการศึกษาการเติมนั้ำใต้ดินในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงในการแพร่กระจายของน้ำเค็มเพื่อการจัดการน้ำใต้ดิน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (กรณีศึกษาลุ่มแม่น้ำห้วยสายบาตร จังหวัดขอนแก่น)
The study of manage aquifer in the salt affected risk for Support managed Aquifer recharge implementation in the Northeastern region, a Case study of Huai Saibat river basin, Khon Kaen Provinceผศ.โพยม สราภิรมย์
นายณัฐิวุฒิ ผ่านเมือง
15AE22-07วิศวกรรมเกษตรโรงเพาะเห็ดนางฟ้าและเห็ดนางรมควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ด้วยเทคดนโลยีอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
AEรศ.เจษฎา โพธิ์สม
รศ.เจษฎา โพธิ์สม
รศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาวลดาวัลย์ สิงห์เงิน
นางสาวลดาวัลย์ สิงห์เงิน
นางสาวลดาวัลย์ สิงห์เงิน
นายเพิ่มสุข รุ่งโรจน์โชติช่วง
นายเพิ่มสุข รุ่งโรจน์โชติช่วง
นายเพิ่มสุข รุ่งโรจน์โชติช่วง
16AE22-10วิศวกรรมเกษตรการประเมินความต้องการน้ำของอ้อยที่เหมาะสมสำหรับดัชนีพืชรรณ
AEรศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
รศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
รศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
นายจิรทีปต์ ศรีวงษ์
นายจิรทีปต์ ศรีวงษ์
นายจิรทีปต์ ศรีวงษ์
นางสาวสุภาณี คำฉลาด
นางสาวสุภาณี คำฉลาด
นางสาวสุภาณี คำฉลาด
17CE2021-01วิศวกรรมโยธาการศึกษาแบบจำลองแผ่นพื้นและผลของการจำลองต่อการประเมินความสามารถของโครงสร้างภายใต้แผ่นดินไหว
Study of floor slab models and their effects on structural evaluation under earthquake.รศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายปภินวิช นามบุตร
นายอัษฎา อินสาคร
นายพุฒิพงศ์ หมุยเฮบัว
18CE2021-02วิศวกรรมโยธาการศึกษากำลังรับแรงตามแนวแกนของเสาคอนกรีตกำลังต่ำที่โอบรัดด้วยแผ่นพอลิเมอร์เสริมเส้นใย
Study on axial strength of low-strength concrete columns wrapped with fiber-reinforced polymer sheetsรศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายวิชญ์พล นามม่วง
นายอานนท์ พลพิทักษ์
นายภาณุพงษ์ หนูทัศน์
19CE2021-03วิศวกรรมโยธาการศึกษาเปรียบเทียบความสามารถรับโมเมนต์ดัดของชื้นส่วน โดยแท่งวัสดุเสริมแรงเส้นใยและเหล็กเสริมปกติ
Comparative study of flexural improvement of Members reinforced by FRP and Steel rodsรศ.เมธี บุญพิเชฐวงศ์
นายรัฐธรรมนูญ เทียนขาว
นายอภิวิชญ์ หิรัญกิตติวงศ์
นายพีรภัทร์ สุขสบาย
20CE2021-04วิศวกรรมโยธาการศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นของการใช้งานระบบแผ่นพื้นไร้คานร่วมเสาเหล็กในลักษณะอาคารพานิชย์
The study of problem for using Flat slab connected with steel column for commercial buildingรศ.ณัฐพงษ์ อารีมิตร
นายอิทธิวัจน์ บุญญะปาตัง
นายศุภสิน แน่นอุดร
นายหริรักษ์ อ่อนพุทธา
21CE2021-05วิศวกรรมโยธากำลังรับแรงเฉือนของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตจากเถ้าลอย
Shear strength of Fly ash based geopolymer concreteผศ.ปิยะวัชร ฝอยทอง
นางสาวโชติภา วรหาญ
นายนวทรัพย์ ไพศาลยุทธ
นายวุทธิภูมิ ศิริชัย
22CE2021-06วิศวกรรมโยธากำลังยึดเหนี่ยวของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตจากเถ้าลอย
Bond strength of fly ash-based geopolymer concreteผศ.ปิยะวัชร ฝอยทอง
นางสาวชลธิชา จันทนา
นายชินบัญชร ชิณช้าง
นายปริญญา ป่าม่วงหวาน
23CE2021-07วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมของคานคอนกรีตเสริมกำลังด้วยแท่งพอลิเมอร์เสริมเส้นใยแก้วโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์
The study on behavior of concrete beam reinforced with glass fiber reinforced polymer (GFRP) bars by using finite element methodอ.ศุภกร ติระพัฒน์
นายนที สมบุญมี
นายธนวัฒน์ เอกศิริ
นางสาวอัญชลี โฆษิตธรรมกุล
24CE2021-08วิศวกรรมโยธาการศึกษาคุณสมบัติกากยางเหนียวของน้ำมันยางนา เพื่อใช้ในงานผิวทาง
A study of hard-resin of Yang (Dipterocarpus alatus) for pavement engineeringอ.ศุภกร ติระพัฒน์
นายปิวลันธน์ สระแก้ว
นายภูชัสส์ แจ่มสุวรรณ์
นายจิรัชย์ สานุสันต์
25CE2021-09วิศวกรรมโยธาฤติกรรมของคานคอนกรีตเสริมเหล็กออกแบบรับน้ำหนักบรรทุกโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานภายใต้สภาวะวิบัติ
Behavior of RC beam designed for gravity loads based on working stress design under ultimate conditionsรศ.จารึก ถีระวงษ์
นายธีรวิศว์ ลีโคตร
นายสมเกียรติ ธันยดุล
นายธีรวัฒน์ ชัยอินทร์
26CE2021-10วิศวกรรมโยธาอิทธิพลของหน่วยการยืดตัวที่มีผลต่อค่าตัวคูณลดกำลังของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
Influence of tensile strain on reduction factor of reinforced concrete columnรศ.จารึก ถีระวงษ์
นายกิตติภูมิ ดอนวิชัย
นายสหัศวรรษ ฉวีรักษ์
นายสิรวิชญ์ เบญจมานนท์
27CE2021-11วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์โครงสร้างอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กต้านทานแรงลมและแรงเนื่องจากแผ่นดินไหว: กรณีศึกษา อาคารพาณิชย์ 4 ชั้น 10 คูหา
Analysis of reinforced concrete building structure resistance to wind and earthquake load: A case study of commercial building 4 story, 10 boothsศ.วีระ หอสกุลไท
นายธวัชชัย ทองภู
นายศรุต ออมอด
นายศุภณัฐ วิวิธสุรการ
28CE2021-12วิศวกรรมโยธาการใช้เศษพลาสติกในคอนกรีตบล็อก
Use plastic in concrete blockศ.วันชัย สะตะ
นายตรัยคุณ สิงห์ยะบุศย์
นายวิษณุ บัวจันทร์
นายนครินทร์ ศรีศิริ
29CE2021-13วิศวกรรมโยธาการใช้เศษเหล็กในซีเมนต์เพสต์
Use Of Mill Scale In Cement Pasteศ.วันชัย สะตะ
นายณธภัท ภูษินันตกุล
นายภาณุพงศ์ เลิศศึกษากุล
นายสุทติพงษ์ ศรีอำนาจ
30CE2021-14วิศวกรรมโยธาเถ้าลอยจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีผงกระจกรถยนต์เป็นส่วนผสม
Fly ash geopolymer mortar containingผศ.อำพล วงศ์ษา
นายระพีพัฒน์ ไมตรีแพน
นายฤทธิชัย ไพรอุบล
นางสาวจุฑาทิพย์ ลิ้มภักดี
31CE2021-15วิศวกรรมโยธาซีเมนต์มอร์ต้าร์ที่มีผงกระจกรถยนต์เป็นส่วนผสม
Cement motar containing waste car glass powderผศ.อำพล วงศ์ษา
นายศิวพันธุ์ ศรีพันธ์
นายเฉลิมชัย ตฤณวิวัฒน์
นายวิรุฬห์ กังวลทรัพย์
32CE2021-16วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์ความปลอดภัยทางถนนของการจัดการจราจรบนถนนด้านหน้าศูนย์อาหารและบริการ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Road safety analysis of the traffic management scheme in front of the Complex Building, Khon Kaen Universityศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นายเจษฎากร ไตรดำรง
นายฐนกร ขจัดพาล
นายบวรศักดิ์ ลาธุลี
33CE2021-17วิศวกรรมโยธาการประเมินประสิทธิผลของการติดตั้งระบบสัญญาณไฟจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนนบริเวณสี่แยกหนองไผ่ จังหวัดขอนแก่น
Evaluation of the road safety effectiveness of traffic signal installation at the Nongphai intersection, Khon Kaenศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นายเขษมศักดิ์ ฉายวิไชย
นายวรากร ธรรมชาติ
นายนภัสกร นามโส
34CE2021-18วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์การจัดการสัญญาไฟจราจรบริเวณทางแยกหอพักนานาชาติ (หอพักอินเตอร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Analysis traffic signal management at intersection of international dormitories.(Inter Dormitory), Khon Kaen Universityรศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล
นายพลวัฒน์ หนูตอ
นายภาคภูมิ รัตนเมือง
35CE2021-19วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงรูปแบบบันทึกข้อมูลอุบัติเหตุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Analysis of accident report form improvement, Khon Kaen Universityรศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล
นายณฐพล ปริปุณณะ
นางสาวปัญธิมา บัวแสง
นายภัทรพล แก้วดวงศรี
36CE2021-20วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะก่อนและหลังการติดตั้งป้ายเตือนเลี้ยวซ้ายรอสัญญาณไฟและป้ายเตือนลูกเนินชะลอความเร็ว
A study of Driving Behavior before and after Installation of No Left Turn on Red Signs and Speed Hump Signsศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายราชินทร์ เทศารินทร์
นายพิชชากร ตันนารัตน์
นายทักษิณ ฉายเนตร
37CE2021-21วิศวกรรมโยธาการศึกษาปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 และ PM10 จากกิจกรรมข้างถนน
A study of the amount of dust, PM2.5 and PM10 from roadside activities.ศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายธนาธร ลาภเวที
นายนนทเศรษฐ์ ศรีบุญ
นายสุรเชษฐ์ มูลสาร
38CE2021-22วิศวกรรมโยธาการศึกษาความขัดแย้งขณะออกตัวบริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจรที่มีพื้นที่จอดเฉพาะรถจักรยานยนต์
An evaluation study of traffic conflicts while vehicle launch at signalized intersection with having bike boxศ.วิชุดา เสถียรนาม
นางสาวกนกวรรณ อมรโรจน์วรวุฒิ
นายกัมปนาท ดาดวง
นางสาวพรจรัส แพงดวงแก้ว
39CE2021-23วิศวกรรมโยธาการศึกษาอิทธิพลของพื้นที่เฉพาะสำหรับรถจักรยานยนต์ต่อพฤติกรรมการขัดแย้งก่อนเข้าสี่แยกสัญญาณไฟจราจร กรณีศึกษาสี่แยกบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
A study of the motorcycle rider’s behavior in a Bike Box that ahead of traffic light intersections, Ban Phai, Khon Kaen Province.ศ.วิชุดา เสถียรนาม
นายฉัตรระวี ศรีเตชะ
นายปกรณ์ โพธิ์ศรี
นายพุทธภูมิ ณอุบล
40CE2021-24วิศวกรรมโยธาปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อค่าเสถียรภาพของลาดดิน (2)
Factors influencing the stability of Soil Slope (2)รศ.พงศกร พรรณรัตนศิลป์
นางสาวรติกานต์ เนาว์สุข
นายวิศวะ บุญอนันต์
นายอัครศิษฐ์ สินธุวงษานนท์
41CE2021-25วิศวกรรมโยธาปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อค่าเสถียรภาพของลาดดิน (1)
Factors Influencing the stability of Soil Slope (1)รศ.พงศกร พรรณรัตนศิลป์
นางสาวนะทิยา เจ้าแก่นแก้ว
นางสาวอิชยา ปุยฝ้าย
นายฌานปกรณ์ เดชอุดมพร
42CE2021-26วิศวกรรมโยธาการศึกษาแรงดันดินด้านข้างของดินลมหอบขอนแก่นบดอัดแน่นที่กระทำต่อกำแพงกันดิน
Lateral earth pressure of compacted Khon Kaen loess on retaining wallรศ.รัตมณี นันทสาร
นายพงศธร บุตรนนท์
นางสาวสุทธินันท์ คำปรีดา
นายกษิดิศ ชวนะภูธร
43CE2021-27วิศวกรรมโยธาการศึกษาการเคลื่อนตัวของกำแพงกันดินด้านข้างบนดินลมหอบขอนแก่นบดอัดแน่น
Displacement of Compacted Khon Kaen Loess as backfill on retaining wallรศ.รัตมณี นันทสาร
นางสาวกมลวรรณ ชุมกาแสง
นายวิริยะ ถาวะโร
นางสาวณัฐวิภา จันทร์เก
44CE2021-28วิศวกรรมโยธาวิเคราะห์และเปรียบเทียบระหว่างการเสริมกำลังด้วย Two tiered MSE Wall และ One tiered MSE Wall โดยที่มีค่า F.S. เท่ากัน ด้วยโปรแกรม Geostudio
Analysis and comparison between two tiered MSE Wall reinforcement and one tiered MSE Wall with the same F.S. value by Geostudio.ผศ.ดลฤดี หอมดี
นายพีรพงศ์ พรมแพน
นายพีรพัฒน์ เพียรหัตถ์
นายคุณากร กองเพชร
45CE2021-29วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์เสถียรภาพของเชิงลาดก่อนและหลังจากปรับปรุงด้วยกำแพงกันดินโดยโปรแกรม Slope/w และ KUSlope
Stability analysis of slopes before and after improvement with retaining walls by Slope/w and KUSlope programผศ.ดลฤดี หอมดี
นายสุจินดา ลีชมรัตน์
นายปริญญ์ ศรีทุมมา
นายเรียวอิจิ อิชิวาตาริ
46CE2021-30วิศวกรรมโยธาการพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนรายเดือนของสถานีอุตุนิยมวิทยาในจังหวัดขอนแก่น
Monthly Rainfall Amount Forecasting of Meteorological Stations in Khon Kaen Provinceรศ.เฉลิมชัย พาวัฒนา
นายธฤตภณ กุลดา
นายนันทวัฒน์ เย็นวัฒนา
47CE2021-31วิศวกรรมโยธาการคาดการณ์ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อการขาดแคลนน้ำในลุ่มน้ำพรม-เชิญ
Projected Impacts of Land Use Change on Water Deficit in the Prom-Choen River Basinรศ.กิตติเวช ขันติยวิชัย
นายปาณชัย วรภาพ
นางสาวศิริพรรณ นาคศรี
48CE2021-32วิศวกรรมโยธาการประเมินความแม่นยำของข้อมูลฝนจากแบบจำลองพยากรณ์อากาศ ในพื้นที่ลุ่มน้ำลำปาวตอนบน
Accuracy assessment of rainfall data from weather forecasting models in the Upper Part of Lam Pao Basinผศ.วรพงษ์ โล่ห์ไพศาลกฤช
นายธิติโชติ มิคะมา
นายจักรบัณฑิต ช่างอ่อง
นายปรมัตถ์ สารวงษ์
49CE2021-33วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความเรียบของผนังโดยใช้เทคโนโลยีพอยต์คลาวด์
WAll Smoothness inspection using point cloud technologyรศ.กอปร ศรีนาวิน
นายแก้วกาย จันทรรวงทอง
นายพัชรดนัย ปินะเก
นายพัชรพล พิลาชัย
50CE2021-34วิศวกรรมโยธาการเผื่อปริมาณคอนกรีตที่เหมาะสมในการประมาณราคางานก่อสร้าง
Proper Amount of Concrete Allowance for construction Estimatesรศ.กอปร ศรีนาวิน
นายอังคฤทธิ์ บุญเคน
นายภีรดล ปานทรัพย์
นายพสุภัทร ชุมจันทร์
51CE2021-35วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความก้าวหน้าของงานก่อสร้างอาคารสูงด้วยระบบจำลองสารสนเทศอาคาร
Building Information Modeling: BIMผศ.พีร์นิธิ อักษร
นายบดินทร์ จังโกฏิ
นางสาวจีรวรรณ ศาสนะสมบัติ
นายสหัสวรรษ พาคำ
52CE2021-36วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความก้าวหน้าของงานก่อสร้างด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์โปรเจคต์
Monitoring Construction Progress with Microsoft Project .ผศ.พีร์นิธิ อักษร
นางสาวนภัสวรรณ ชัยสงค์
นางสาวปรียฉัตร โสภารัตน์
นางสาวศศิธร โพธิ์ชัย
53CE2021-37วิศวกรรมโยธาการส่งเสริมการศึกษาด้านการสำรวจผ่านการเรียนรู้ระบบอิเล็กทรอนิกส์
Enhancing Surveying Education through e-Learningรศ.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
นายสุพีรพัฒน์ กุหลาบมอญ
นายอาทิพย์ คำขจร
นายธวัชชัย ยางสุข
54CE2021-38วิศวกรรมโยธาการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการจัดการความรู้ในพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ทางวิศวกรรมสำรวจในสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด-19
Application of Knowledge Management Theory to Develop Leaning Pattern of Surveying Engineering under the Situation of Covid19 Pandemicรศ.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
นายจิรัฐ ทับทิม
นายณัฐชกาญจน์ คำภาตัน
นายธนกรณ์ นุชศรี
55ChE2021-01วิศวกรรมเคมีเรื่องปุ๋ยไฮโดรเจลละลายช้าจากผลิตภีณฑ์ผลพลอยได้ของอุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาล
(Hydrogel slow release fertilizer from by product of sugar industry)ผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นายชานน แสงทิพย์
นายวสุ จันทะภา
นางสาวธนาวรรณ จี๋ใจหล้า
56ChE2021-02วิศวกรรมเคมีการศึกษาการปรับปรุงพื้นผิวผ้าด้วยไทเทเนียมไดออกไซด์โดยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล
Modified surface cotton fabric with TiO2by hydrothermal reactionรศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวชลดา เดชสิมมา
นางสาวนรกมล เล้าสุวรรณ
57ChE2021-03วิศวกรรมเคมีการเตรียมฟิล์มป้องกันยูวีจากพอลิไวนิลแอลกอฮอล์เซลลูโลสนาโนคริสตัส และไทเทเนียมไดออกไซด์
UV prevention of PVA/CNC/TiO2 filmรศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวนาถตยา ไชยป่ายาง
นางสาววนัสพร แคว้นน้อย
58ChE2021-05วิศวกรรมเคมีการหาสัดส่วนที่เหมาะสมของไฮโดรเจนนำไฟฟ้าอัจฉริยะสำหรับเป็นเซนเซอร์วัดการเคลื่อนไหวด้วยวิธีทากูชิ
Optimizing mix proportion of smart conductive hydrogel for strain sensor by Taguchi’s methodรศ.พรนภา เกษมศิริ
นางสาวศิริลักษณ์ หงษ์ชุม
นางสาวสุวนันท์ สาริกา
59ChE2021-06วิศวกรรมเคมีประสิทธิภาพของแบตเตอรี่อะลูมิเนียมอากาศโดยใช้คาร์บอนทีสังเคราะห์จากกระบวนการเผาไหม้เป็นขั้นแคโท
performance of Aluminum-air battery using carbon cathode from frame combustion synthesisรศ.ชัยภัทร เครือหงส์
นางสาวปิยฉัตร จินดาศิริ
นางสาวอานันท์ปภา จันทรมะณี
60ChE2021-07วิศวกรรมเคมีการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมและจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันในการเปลี่ยนน้ำตาลดี-กลูโคสไปเป็นน้ำตราลซอร์บิทอลบนตัวเร่งปฏิกิริยา Ru/ZSM-5
Optimization and Kinetic study of d-glucose hydrogenation to sorbitol over Ru-ZAM-5 catalystรศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นางสาวจุฑาทิพย์ เสน่หา
นายกฤตภาส ใจธรรม
61ChE2021-08วิศวกรรมเคมีตัวดูดซับจากผลิตภัณฑ์พลอยได้อุตสาหกรรมผลิตเอทานอลและการศึกษาการดูดซับยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
Adsorbent from by-product of ethanol industry and adsorption study of non-steroidal anti-inflammatory drugรศ.ยุวรัตน์ เงินเย็น
นางสาวนิรชา วงษ์ดี
นายรวิชญ์ จิตธรรม
62ChE2021-09วิศวกรรมเคมีการศึกษาการดูดซับแก๊สไนโตรเจนด้วยซีโอไลต์ 13X เพื่อใช้ในเครื่องผลิตแก๊สออกซิเจน
A study of nitrogen gas adsorption with zeolite 13x for use in oxygen concentratorอ.ทินกร คำแสน
นางสาวกวินทรา ทะแยง
นางสาวธิติมา แสงใส
นางสาวปัณฑ์ชนิต มิเชล ลาสปีน่า
63ChE2021-10วิศวกรรมเคมีการพัฒนาเทคนิคทางรามานสเปกโทรสโกปีสำหรับตรวจคัดกรองและแยกความแตกต่างของโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหารอย่างรวดเร็วจากซีรัม
Development of a raman spectroscopy technique for rapid differential screening of gastrointestinal cancer types from blood serumอ.อรณัฐ ชูชื่น
นางสาวธัญญารัตน์ คณานิตย์
นางสาวอภิญญา อินทร์ตา
64ChE2021-11วิศวกรรมเคมีการเพิ่มคุณค่าของกากวัสดุธรรมชาติจากอุตสาหกรรมอาหารด้วยกระบวนการทางความร้อน
Ebriching the value of natural waste from the food industry by thermal processอ.อธิป เหลืองไพโรจน์
ผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นางสาวนวลพรรณ ชื่นเพชร
นายวิศรุต ศิวเลิศพร
65ChE2021-12วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์และวิเคราะห์ลักษณะของ LaxSr1-xFe0.01Ti0.99O3(0น้อยกว่าหรือเท่ากับ xน้อยกว่าหรือเท่ากับ 0.3) โดยวิธีไฮโรเทอร์มอล ในผลของความเข้มจ้นของด่าง และประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงภายใต้แสงวิสิเปิล
Synthesis and characterization of LaxSr1-xFe0.01Ti0.99O3 (0 ≤ x ≤ 0.3) perovskite obtained by hydrothermal method in the effect of alkaline concentration and its photocatalytic performance under visible lightรศ.กิติโรจน์ หวันตาหลา
นายอรรคพล ปรัชญานุวัตร
นายพุฒิโชติ สินธุจริวัตร
66ChE2021-13วิศวกรรมเคมีสเปรย์ออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่ประกอบไปด้วยอนุภาคนาโนเงิน โดยสังเคราะห์จากกระบวนการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Bioactive spray based on green synthesis silver nanoparticlesรศ.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์
นางสาวโสภิตา จันทร์มี
นางสาวเกวลินรัตน์ ธานี
67ChE2021-14วิศวกรรมเคมีการออกแบบและพัฒนาเอนไซม์ไบโอเซนเซอร์แบบกระดาษเพื่อ ตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ในเหงื่อแบบต่อเนื่อง
Design and development of an enzymatic paper-based biosensor for continuous sweat alcohol measurementรศ.กันยรัตน์ โหละสุต
อ.อรณัฐ ชูชื่น
นายชนินทร์ แสนอามาตย์
นายจักรพงศ์ ดอนกลาง
68ChE2021-15วิศวกรรมเคมีการศึกษาประสิทธิภาพของตัวดูดซับเสียงที่ทำมาจากขนแกะ
Sound absorption and Thermal insulation characteristics of cement place and waste sheep woolผศ.อภิชาติ อาจนาเสียว
นายพงศ์พณิช กองเกิด
นายพุฒิพงศ์ ศิริพรรณ
69ChE2021-16วิศวกรรมเคมีประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดสีย้อมไวแสงโดยใช้สีย้อม ธรรมชาติที่สกัดจากใบย่านางใช้ขั้วแอโนดเป็นวัสดุประกอบ เฮมาไทต์ซิงค์ออกไซด์
Performance of Dye-Sensitized Solar Cell from Ya-Nang Extract using Hematite-Zinc Oxide as photoanodeผศ.วรินรำไพ เศรษฐ์ธณบุตร
นางสาวสุภาวิณี เวทไธสง
นางสาวสุกัญญา ผุดผ่อง
70ChE2021-17วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์ไบโอชาร์จากแกลบกาแฟ เพื่อเป็นปุ๋ยชะลอการปลดปล่อย
Synthesis of bio-char from coffee husk for slow released fertilizerผศ.ดวงกนก ธนังธีรพงษ์
นางสาวอาริยา บุญชาติ
นายวรกันต์ คุ้มบัณฑิตย
นางสาวกุลธิดา ศิริจริยวัตร
71ChE2021-18วิศวกรรมเคมีการเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการแยกกลีเซอรอลออกจากไบโอ ดีเซลด้วยระบบสองขั้วไฟฟ้า
Optimization of the separation Glycerol from biodiesel using 2-electrode systemsรศ.ชัยภัทร เครือหงส์
นางสาวมนทกานต์ คำพิมาน
นางสาวสลิตา คะบุตร
72COE2021-01วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันเกมเรียนคําศัพท์ด้วยการรู้จําภาพ
Mobile vocabulary learning application with Image recognitionผศ.กรชวัล ชายผา
รศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นายธนวรรธน์ ลีลาวัชรมาศ
นายธนาดล ม่วงมนตรี
73COE2021-02วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบเก็บข้อมูลสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือนกระบองเพชร เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยการออกดอกของกระบองเพชร
Cactus greenhouse environmental data collection system to analyze cactus flowering factorsผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.ดารณี หอมดี
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
นายพัชรพล พันธุ์ศักดานนท์
นายภานุพงศ์ ฉิมใหม่
74COE2021-03วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แอนดรอยด์แอปเพื่อการติดตามการทํางานของเครื่องจักรทางการเกษตร
Android Application for Agricultural Machinery Trackingรศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
นายกันตพงศ์ เหลืองอุดม
นายธนวัฒน์ สร้างสีทา
75COE2021-04วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แอปพลิเคชันอ่านค่าจากเครื่องวัดออกซิเจนปลายนิ้ว สําหรับผู้ป่วยโควิด-19 ในระบบโฮมไอโซเลชั่น
Reading values from Pulse Oximeter Application for COVID-19 patients in Home Isolation systemอ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
รศ.ชัชชัย คุณบัว
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
นายอภิสิทธิ์ อภิภัทรธนโภคิน
นายจิรายุ พวกขุนทด
76COE2021-05วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลผ่านโพรโทคอล CoAP ภายในเครือข่าย IoT
CoAP Protocol in low-power IoT Networkรศ.ชัชชัย คุณบัว
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
นายศุภวิชญ์ สิปปะสุชน
นายปัณณรุจน์ วัฒนะโกมลรุจน์
77COE2021-06วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาเครือข่ายเสมือนผ่าน OPNFV
VIRTUAL NETWORK DEVELOPMENT BASE ON OPEN SOURCE NETWORK FUNCTION VIRTUALIZATIONรศ.ชัชชัย คุณบัว
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นางสาวภาริดา สีหามาตย์
นายวิศรุต ศรีนัครินทร์
78COE2021-07วิศวกรรมคอมพิวเตอร์High-speed Low power Massive Single Input Multiple Outputs Long-range IoT
High-speed Low power Massive Single Input Multiple Outputs Long-range IoTผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
ผศ.กรชวัล ชายผา
รศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
นายชัชชนม์ จันทร์เพ็ชร์
79COE2021-08วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ของเครื่องสำหรับการตรวจจับอุปกรณ์ทางการแพทย์ในหุ่นยนต์ผู้ช่วยการผ่าตัด
Applying machine learning for surgical instrument detection in robot-assisted surgeryผศ.ดารณี หอมดี
ผศ.กรชวัล ชายผา
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
นายนครินทร์ อรุณยะเดช
นายพันธกานต์ แพรประเสริฐ
80COE2021-09วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบประเมินบุคลากรสํานักบริหารและพัฒนาวิชาการของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
REG - PMSผศ.ดารณี หอมดี
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายปวริศ บุตรอำคา
นางสาวอักษราภัค บุญเเสนเเก้ว
81COE2021-10วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบการคัดแยกและนับเม็ดข้าว
Rice grain grading and counting systemรศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
ผศ.ดารณี หอมดี
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายโปรดเกล้า เข็มประสิทธิ์
นายกฤษณ์ เนียรมงคล
82COE2021-11วิศวกรรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมตรวจสอบและวัดจํานวนใบของต้นกัญชงเพื่อศึกษาผลกระทบต่อการเจริญเติบโต
Cannabis Sativa leaf counting software for plant development researchรศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นายชัชนันท์ พิมพานนท์
83COE2021-12วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาโปรแกรมวิเคราะห์ขนาดของอาหารจากการบดเคี้ยว
Food size analysis softwareอ.นวภัค เอื้ออนันต์
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายไชยวัฒน์ อ่อนอภัย
นายณภัทร บุญสว่าง
84COE2021-13วิศวกรรมคอมพิวเตอร์สไปโรมิเตอร์
Spirometerอ.นวภัค เอื้ออนันต์
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นายธิณภัทร โสดานาจ
นายธีรพุทธิ์ แสงขาว
85COE2021-14วิศวกรรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมสาธิตแบบจำลองการตรวจหาสำหรับการส่งแบบฐานสอง
-รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
ผศ.กรชวัล ชายผา
รศ.ชัชชัย คุณบัว
นายธัชพล เดชพินิจ
นายปรมินทร์ สอนเวียง
86COE2021-15วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การแตกหักอาร์เอสเอด้วยการใช้วิธีเศษส่วนต่อเนื่อง
Breaking RSA using continued fractional methodsรศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นายอภิสิทธิ์พงศ์ ศิริวงษ์
นายอรรถพล วรรณศรี
87COE2021-16วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบติดตามผู้รับทุนศึกษาต่อ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Scholarship recipient tracking system Khon Kaen Universityผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
ผศ.กรชวัล ชายผา
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
นายสืบพงศ์ มณีจักร
นายธนากร เปรมทรัพย์ทวี
88COE2021-18วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แพลตฟอร์มออกกําลังกายนิ้วด้วยดนตรีบําบัด
Finger Fitness via Music Therapy Platformศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.กรชวัล ชายผา
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
นายจตุรวิทย์ อุทัยแสง
นายสหัสวรรษ มะหะหมัด
89COE2021-19วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบประเมินข้อกำหนดด้านความปลอดภัย COVID-19 ในงานก่อสร้าง
COVID-19 SAFETY COMPLIANCE IN CONSTRUCTION (CCC)ศ.วนิดา แก่นอากาศ
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นางสาวรุจินันท์ ทิมา
นางสาวชญานิศ วงศ์บุญมี
90COE2021-20วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แอปบอกภัย แอปพลิเคชันสําหรับเตือนภัยรอบตัวใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และพื้นที่ใกล้เคียง
KKU all alert applicationอ.วสุ เชาว์พานนท์
รศ.ชัชชัย คุณบัว
ผศ.ดารณี หอมดี
นางสาวชุติกาญจน์ พานคำ
นางสาวรัชนีกร ศรีจันอ่อน
91COE2021-21วิศวกรรมคอมพิวเตอร์การทำหน้า Dashboard แสดงประสิทธิภาพในการผลิตของโรงลูกหีบอ้อย
-อ.วสุ เชาว์พานนท์
รศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
นายนิติศักดิ์ กู่ชัยภูมิ
นายเสฏฐนันท์ ยอดมานะพงศ์
92COE2021-22วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แพลตฟอร์มตรวจวัดความชื้นในดินเพื่อการเกษตร
soil moisture measurement platform for agricultureอ.วาธิส ลีลาภัทร
รศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
รศ.ชัชชัย คุณบัว
นายกฤษดากร โฮมแพน
นายสหสเดชะ แจ่มจำรัส
93COE2021-23วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แพลตฟอร์มเซนเซอร์เพื่อการเกษตร
-อ.วาธิส ลีลาภัทร
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
นายปรเมศวร์ สอนเวียง
นายธนชิต ลาวัดพรม
94COE2021-24วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เครื่องวัดปริมาณออกซิเจนในเลือดสำหรับผู้ที่กักตัว
PGG MONITOR FOR PERSONAL(HOME ISOLATION)ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.ดารณี หอมดี
รศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
นายกนกพล วุฒิเสน
นางสาววีระวรรณ วุฒิเกตุ
95COE2021-25วิศวกรรมคอมพิวเตอร์3/64
3/64รศ.กานดา สายแก้ว
นางสาวอัฐภิญญา มิทราวงศ์
96COE2021-26วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบตรวจหาปริมาณแอนติบอดีต่อเชื้อโควิด-19 ด้วยโปรแกรมไลน์
(Covid19 Antibody Level Test by Line App)รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นางสาวณัฏฐณิชา ศรีผุย
นางสาวสุธิมา วิเชียรทวี
97COE2021-27วิศวกรรมคอมพิวเตอร์แอปพลิเคชันการเรียนรู้ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยขอนแก่น
KKU Library Learning Applicationผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
รศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายวิทวัส ธรรมวงษ์
นายธนพงษ์ อังคะ
98DME2021-01วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
VR simulation for surgical practice part 1ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายณัฐพงศ์ ตั้งเสถียรภาพ
99DME2021-02วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
VR simulation for surgical practice part 2ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
นายพงษ์พิสิทธิ์ ดีสาระพันธ์
100DME22021-03วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Roongpetch Kunthakuldusadeeรศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายรุ่งเพชร คันธกุลดุษฎี
101DME22021-04วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
AI and Web/Application Full Stack Development part 2รศ.กานดา สายแก้ว
รศ.ธัชพงศ์ กตัญญูกุล
นายชนมภูมิ บุญปัญญาวัฏ
102DME22021-05วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
learn Japanese by training monster gameผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
นายศุภณัฐ เอการัมย์
103DME22021-06วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
2D animation for giving knowledge of COVID-19 part 1อ.วาธิส ลีลาภัทร
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายณัฐธนนท์ กุลเจริญวิรัตน์
104DME22021-07วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
2D animation for giving knowledge of COVID-19 part 2อ.วาธิส ลีลาภัทร
ผศ.นิยม พินิจการ
นายจักรกฤษณ์ พงษ์พาณิชย์
105DME22021-08วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Short Film story interactive part 1ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นางสาวธีรนาฏ กาญจโนภาส
106DME22021-09วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Short Film story part 2ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายชาคริต จิตโสภาพันธุ์
107EE2021-01วิศวกรรมไฟฟ้าการตรวจจับต้นไม้ไฟฟ้าโดยการประมวลผลภาพ
Electrical Tree Detection by Image Processingรศ.อำนาจ สุขศรี
นายธนชาติ ธาตุวิสัย
108EE2021-02วิศวกรรมไฟฟ้าการพัฒนาสปาร์คแกปแบบโรตารี่
Development of Rotary Spark Gap for Tesla coilรศ.อำนาจ สุขศรี
นายศราวุฒิ แสนอุบล
นายภูมิทัศต์ เจริญดี
109EE2021-03วิศวกรรมไฟฟ้าเสาไฟอัจฉริยะ
Smart Street Lightรศ.อำนาจ สุขศรี
นางสาวมิถุนา ฝอยทอง
นางสาวศิรภัสสร พลเยี่ยม
110EE2021-04วิศวกรรมไฟฟ้าการหาตำแหน่งติดตั้งและขนาดพิดัดที่เหมาะสมของสถานีอัดประจุไฟฟ้าสำหรับระบบรถบัสไฟฟ้าโดยสารสาธารณะภายในมหาวิยาลัยขอนแก่น
Determining optimal location and capacity of charging station for public electric bus system in khon kaen Universityผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นางสาวจิรัชญา พันธุ์พาณิชย์
นางสาวปิ่นสุดา บุบผาหอม
111EE2021-05วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาการจำลองผลการทำงานของอุปกรณ์จำกัด
A study of simulating voltage limiting device operation in electric railwaysผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นายธนพล คนไว
นายธรรมรัตน์ พอกเพิ่มดี
112EE2021-06วิศวกรรมไฟฟ้าอินเวอร์เตอร์ 3 เพต สำหรับขับมอเตอร์ในรถไฟฟ้า
3 Phase Inverter for Motor Drives in Electric Vehicleผศ.จงกฤษฏิ์ จงอุดมการณ์
นายจิณณวัตร พลน้ำเที่ยง
นายพัสกร อำไพชา
113EE2021-07วิศวกรรมไฟฟ้าเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการจำแนกภาพเอกซเรย์กระดูกสะโพกหัก
Web Application for Spotting Broken Hip Bones on X-Ray Imageผศ.ภูริพงศ์ สุทธิโสภาพันธ์
นายนภัสกร เพียรชนะ
นางสาวอาริศรา พินิจจิตร
114EE2021-08วิศวกรรมไฟฟ้าการพัฒนาแอพพลิเคชั่นสำหรับการติดตามการใช้ไฟฟ้าภายในอาคารภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Application for Power Meter of Department of Electrical Engineering Building in Khon Kaen Universityผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายศิวกร พ่อค้า
นายวิศรุต เรืองเศรษฐี
115EE2021-09วิศวกรรมไฟฟ้าการออกแบบและติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา
Design and Installation of Rooftop Solar Photovoltaic Systemผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายธนายุทธ อุ่นศรี
นายธนัฐกรย์ มิตรเจริญรัตน์
116ENV2021-01วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกำจัดสารอินทรียล์ะลายน้ำเพื่อผลิตน้ำบริสุทธิ์สำหรับโรงไฟฟ้าโดยใชเรซินแลกเปลี่ยนประจุลบคุณสมบัติแม่เหล็ก
Removals of dissolved organic matter in water purification for power plant by magnetic anion exchange resinบทคัดย่อ น้ำถือว่าปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โดยส่วนมากน้ำ ที่นำมาใช้ในการปั่นไฟฟ้านั้นมักจะมาจากแหล่งน้ำตามธรรมชาติ และจะมีสารต่างๆสิ่งเจือปนหลากหลายชนิด เช่น ความขุ่น (turbidity), สารอินทรีย์ที่ละลายน้ำ สารอนินทรีย์ที่ละลายน้ำ รวมถึงโลหะหนักที่เจือปนอยู่ โดยน้ำที่จะ นำมาเข้าระบบของโรงไฟฟ้าจำเป็นจะต้องมีคุณภาพและความบริสุทธิ์ ผ่านกระบวนการผลิตน้ำบริสุทธิ์ โดยจะมี ระบบบำบัดน้ำขั้นพื้นฐาน และระบบบำบัดน้ำขั้นสูง เช่น Reverse Osmosis (RO) หรือการใช้เรซินแลกเปลี่ยน ประจุหลายชนิด โดยสามารถกำจัดของแข็งและสารอนินทรีย์ต่างๆได้ดี แต่ในน้ำนั้นยังมีการหลงเหลืออยู่ของ สารอินทรีย์ละลายน้ำ (dissolved organic matter : DOM) ซึ่งหากไม่มีการกำจัดก่อนที่จะเข้าสู่ขั้นตอน RO นั้น DOM จะก่อให้เกิดการอุดตันที่ RO membrane หากมีการอุดตันเป็นเวลานาน สามารถทำให้เกิดจุลชีพขึ้น (Biofouling) ทำให้เมมเบรนเสียหายและอายุการใช้งานที่สั้นกว่าปกติ ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องมีการกำจัด DOM ก่อนที่จะเข้าสู่ RO เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งานของ RO membrane งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำจัด สารอินทรีย์ละลายในน้ำที่ใช้ในการผลิตน้ำบริสุทธิ์สำหรับโรงไฟฟ้าโดยใช้เรซินที่มีคุณสมบัติแม่เหล็ก (MIEX® ) ใน การแลกเปลี่ยนประจุลบกับสารอินทรีย์ที่ละลายในน้ำ และเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกำจัด DOC โดยใช้ สารส้ม, MIEX® และ MIEX® ก่อนการตกตะกอนโดยสารส้ม งานวิจัยนี้ได้มีการนำ Magnetic ion exchange resin (MIEX® ) มาใช้ในการบำบัดน้ำเพื่อการผลิตน้ำประปา เพื่อกำจัด DOM ด้วยการแลกเปลี่ยนไออนลบ เพื่อ เลือกกำจัดเฉพาะ DOM ก่อนกระบวนการตกตะกอน งานวิจัยนี้มีการทดลองแบ่งออกเป็น 3 การทดลองได้แก่ (1) การทดลองเพื่อหาปริมาณ MIEX® ที่เหมาะสมในการกำจัดสารอินทรีย์ (effective resin dose, ERD) (2) การ ทดลองจลนศาสตร์การดูดซับ (Kinetics) เพื่อหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการกำจัดสารอินทรีย์โดย MIEX® GOLD (3) การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกำจัด DOC โดยใช้ Alum, MIEX® และ MIEX® +Alum จากผลการทดลอง พบว่าปริมาณ MIEX® ที่เหมาะสมต่อการกำจัด DOC อยู่ที่ 5 mL/L โดยสามารถอธิบายได้ว่าเรซิน MIEX® GOLD มีกลไกการดูดซับเป็นไปตามแบบจำลองของฟรุนดลิชไอโซเทอม และบริเวณพื้นผิวของ MIEX® เป็นการดูดซับแบบ หลายชั้น (Multilayer) และมีระยะเวลาในการกวนที่ 30 นาที โดยเรซิน MIEX® GOLD มีกลไกการดูดซับเป็นไป ตามแบบจำลองของ pseudo-second-order ซึ่งเป็นการดูดซับทางเคมีที่มีการแลกเปลี่ยนอิเล็กตรอนร่วมกัน ระหว่างเรซิน MIEX® GOLD และ DOC และการใช้เรซิน MIEX® GOLD กำจัด DOC ยังช่วยลดต้นทุนการใช้สารส้ม ในการผลิตน้ำบริสุทธิ์ได้ถึง 0.21 บาท/ลบ.ม
Abstract Water is one of the key factors in electricity generation at power plants and most of the water used to generate electricity comes from natural sources, which typically contains a variety of substances such as turbidity, dissolved organic matter (DOM), and dissolved inorganic substances. High quality water is needed in the power and to produce high quality water requires purification processes consisting of conventional treatments followed by advanced water treatments such as reverse osmosis (RO) or multiple cation exchange resins. However, some of DOM remains after the treatments. DOM could foul the RO membrane, which eventually cause microorganism growth (biofouling). Therefore, DOM removal is important prior to RO. The objectives of this research were to remove DOM in water purification processes using a magnetic ion exchange resin (MIEX® ) and to compare DOC removal efficiency using Alum, MIEX® and MIEX® followed by Alum. The study was divided into three trials: (1) a trial to determine the optimal dose of MIEX® for the removal of organic matter (effective resin dose, ERD); (2) a kinetics trial to determine the optimal time for organic removal by MIEX® ; (3) a comparison of DOC removal efficiency using Alum, MIEX® and MIEX® + Alum. From the experiments, the optimum amount of MIEX® for DOC removal was 5 mL/L. The adsorption followed the Freundlich isotherm model (R2 =0.9118) implied multilayer adsorption. MIEX® removed DOM by pseudo-second-order adsorption and the chemical adsorption mechanism. Using MIEX® before coagulation result in less cost of alum for 0.21 baht per cubic meter of water production.ผศ.พันวัตต์ พึ่งสาย
นางสาวศรีนวล ชลไชยะ
นางสาวกุลธิดา จาริชานนท์
นางสาวอรสา รัชตผดุง
117ENV2021-02วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกำจัดสารอินทรียล์ะลายน้ำด้วยถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิมและถ่านชีวภาพดัดแปลง
Removal of dissolved organic matter using raw and modified biocharแหล่งน้ำผิวดินเป็นแหล่งน้ำดิบที่สำคัญในการผลิตน้ำประปา ซึ่งคุณภาพของน้ำดิบมีผลต่อการออกแบบและเดิน ระบบของกระบวนการผลิตน้ำประปา ในน้ำผิวดินในธรรมชาติมีสารอินทรีย์ละลายน้ำ (DOM) ซึ่งก่อให้เกิดสีกลิ่น และรส ที่ไม่พึงประสงค์ สารอินทร์ยังสามารถทำปฏิกิริยากับคลอรีนในกระบวนการฆ่าเชื้อโรค ก่อให้เกิดสารพลอยได้(DBPs) ซึ่งมี คุณสมบัติเป็นสารก่อมะเร็ง ดังนั้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาถ่านชีวภาพโดยใช้ถ่านที่เป็นของเสียจากการผลิต น้ำส้มควันไม้ และศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์ละลายน้ำของถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิมและ ถ่านชีวภาพแบบดัดแปลง โดยใช้น้ำตัวอย่างจากน้ำดิบของสถานีผลิตน้ำประปาท่าพระ จ.ขอนแก่น พารามิเตอร์คุณภาพ น้ำที ่ทำการศึกษาได้แก ่ คาร์บอนอินทรีย์ละลายน้ำ (DOC) ค ่าดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลตที ่ความยาวคลื ่น 254 nm (UVA254) รวมทั้งการศึกษาลักษณะพื้นผิว ปริมาตรรูพรุน หมู่โครงสร้างเคมี และลักษณะพฤติกรรมการดูดซับสารอินทรีย์ ของถ่านชีวภาพ โดยใช้ถ่านชีวภาพ 4 แบบ ได้แก่ถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิม (BCRaw) ถ่านชีวภาพที่ผ่านการเผาซ้ำที่อุณหภูมิ 800oC (BC800) และถ่านชีวภาพที่ถูกกระตุ้นด้วยสารละลาย KOH ที่อัตราส่วนต่างๆ (BCK1 และ BCK2) จากผลการศึกษาพบว ่า พื้นที ่ผิวของถ ่าน ชนิด BCRaw BC800 BCK1 และ BCK2 ตามที ่วิเคราะห์ด้วยวิธี Brunauer Emmett Teller (BET) มีค่าเป็น 90.35, 274.38, 264.25, และ 187.36 m 2 /g ตามลำดับ และปริมาตรรูพรุน ของถ่านทั้ง 4 ชนิด มีค่าเป็น 0.047, 0.137, 0.141, และ 0.103 cm3 /g ตามลำดับ ในขณะที่ขนาดรูพรุนเฉลี่ยของถ่านทั้ง 4 ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า การเผาซ้ำ สามารถเพิ่มพื้นที่ผิวและปริมาตรรูพรุนให้กับถ่านชีวภาพได้ เมื่อ ใช้ถ่านชีวภาพที่ปริมาณ 15 g/L และระยะเวลาทำปฏิกิริยาเข้าสู่สมดุลย์ที่ 24 ชม. กวนผสมกับน้ำดิบ ซึ่งมีค่า DOC เท่ากับ 4.21 mg/L ถ่านชนิด BCRaw BC800 และ BCK2 มีประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์ละลายน้ำเท่ากับ 24.47%, 46.79%, และ 26.13% ตามลำดับ ผลการทดลอง จลพนศาสตร์การดูดซับสารอินทรีย์คาร์บอนละลายน้ำโดยถ่านชีวภาพ ชนิด BCRaw BC800 และ BCK2 สอดคล้องกับสมการอัตราการดูดซับอันดับที่ 2 เทียม ซึ่งบ่งบอกถึงลักษณะการดูดซับว่า เป็นการดูดซับทางเคมี ส่วน BCK1 เกิดการชะละลายสารอินทรีย์ออกจากตัวถ่าน จึงไม่สามารถวิคราะห์จลพนศาสตร์การ ดูดซับได้การศึกษาไอโซเทอมการดูดซับสารอินทรีย์โดย BC800 สอดคล้องกับแบบจำลองการดูดซับแบบ Freundlich Isotherm ที ่บ ่งบอกลักษณะการดูดซับเป็นการดูดซับแบบหลายชั้น ส ่วนไอโซเทอมการดูดซับสารอินทรีย์โดย BCK2 สอดคล้องกับแบบจำลองการดูดซับแบบ Langmuir Isotherm ที่บ่งบอกลักษณะการดูดซับเป็นการดูดซับแบบชั้นเดียว ส่วน BCRaw นั้นไม่สามารถกำจัดสารอินทรีย์ได้อย่างมีนัยสำคัญจึงไม่สามารถวิเคราะห์ไอโซเทอมการดูดซับได้ จากการศึกษาดังกล่าวสรุปได้ว่า ถ่านชีวภาพที่ผ่านการดัดแปลงด้วยการเผาซ้ำที่ 800oC มีประสิทธิภาพในการ กำจัดสารอินทรีย์ละลายได้มากกว่าถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิม เนื่องจากถ่านชีวภาพที ่ผ่านการดัดแปลงแล้วมีพื้นผิวต่อ ปริมาตร ปริมาตรรูพรุนที่มากกว่าถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิม ในขณะที่ถ่านชีวภาพแบบดั้งเดิมยังเกิดการชะล้างสารอินทรีย์ที่ คงเหลือในรูพรุนของถ่าน ทำให้มีประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์ละลายน้ำต่ำ นอกจากนี้แล้ว การกระตุ้นทางเคมี โดยใช้สารละลาย KOH ไม่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการกำจัดสารอินทรีย์ของถ่านชีวภาพได้อย่างมีนัยสำคัญ งานวิจัยนี้ เสนอแนวทางในการเพิ่มมูลค่าให้กับของเสียจากกระบวนการผลิตทางการเกษตร โดยนำมาผลิตถ่านชีวภาพที่สามารถใช้ ในการกำจัดสารอินทรีย์ละลายน้ำได้ ข
Surface water is an important water source for water supply, and quality of the raw water affects the design and operation of water treatment plant (WTP). Natural surface water contains dissolved organic matter (DOM), which cause undesirable color, taste, and odor. Moreover, DOM can react with chlorine during disinfection process and form carcinogenic disinfection byproducts (DBPs). This study aims to develop biochar from waste char from wood vinegar manufacturing process and to study factors affecting DOM removal by the raw and modified biochar. Water samples were collected from the raw water of Tapra WTP. The parameters in this study include dissolved organic carbon (DOC), UV absorbance at 254 nm (UV254), pore size, pore volume, functional groups, and adsorption characteristics of DOM by biochar. We compared 4 types of biochar, including raw biochar (BCRaw), biochar heated at 800oC (BC800), and biochar activated with KOH solution at different ratio (BCK1 and BCK2). The specific surface area of BCRaw, BC800, BCK1, and BCK2 as determined by BET analysis were found to be 90.35, 274.38, 264.25, and 187.36 m 2 /g, respectively. The pore volume of BCRaw, BC800, BCK1, and BCK2 were 0.047, 0.137, 0.141, and 0.103 cm3 /g, respectively, while the average pore sizes were relatively unaffected by the post-pyrolysis and KOH activation. Using the raw water with DOC of 4.21 mg/L, equilibrium contact time of 24 hr, and biochar of 15 g/L, the DOC removal by BCRaw, BC800, BCK1, and BCK2 were 24.47%, 46.79%, and 26.13%, respectively. Kinetics study results showed that the adsorption of DOC by BCRaw, BC800, and BCK2 fit well with Pseudo second order (PSO), which indicates the adsorption characteristic can be determined as chemisorption. For the experiment using BCK1, organic matter leaching from biochar occurred. Thus, we could not analyze kinetics of the reaction for BCK1. Adsorption isotherm of DOC removal by BC800 fit well with Freundlich Isotherm that indicates multilayer adsorption, while adsorption isotherm DOC removal by BCK2 fit well with Langmuir Isotherm that indicates monolayer adsorption behavior. BCRaw did not significantly remove DOC, so the adsorption isotherm of BCRaw could not be determined. From the results of this study, it can be concluded that post-pyrolysis at 800oC can enhance DOM removal efficiency of biochar due to the increase in specific surface area and pore volume. DOC leaching was found in the experiment with BCRaw, led to low DOC removal by BCRaw. Moreover, KOH activation did not result in increase of DOC removal efficiency of the biochar. Overall, this study proposes a value-added alternative for waste char from agricultural production. The biochar produced in this study has a potential to be used as an adsorbent for DOM removal.ผศ.ปณิธาน จูฑาพร
นายวโรดม รัตนบุญทา
นายลิปกรณ์ สงนางรอง
118ENV2021-03วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการเปรียบเทียบการบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งและระบบปรับเสถียร ในการบำบัดน้ำเสียชุมชนจากมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Performance Comparison of Activated Sludge Process and Stabilization Pond for Treating Domestic Wastewater from Khon Kaen Universityโครงการนี้มีแนวคิดเริ่มมาจากการน าระบบบ าบัดน ้าเสียแบบตะกอนเร่งแบบ SBR มาใช้ในการบ าบัด น ้าเสียของมหาวิทยาลัยขอนแก ่นซึ่งเดิมเป็นระบบบ่อปรับเสถียร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการ ท างานของทั้งสองระบบในเรื่องของวิธีการบ าบัด และระยะเวลาในการบ าบัดน ้าเสีย อีกทั้งมีการตรวจวัด คุณภาพน ้าเสียพารามิเตอร์ต ่าง ๆ ได้แก ่ biochemical oxygen demand (BOD), chemical oxygen demand (COD), suspended solid (SS), total phosphorus (TP), total kjeldahl nitrogen (TKN), และ nitrate (NO3 ) เพื่อเปรียบประสิทธิภาพในการบ าบัดน ้าเสียของทั้งสองระบบ จากการรวบรวมข้อมูลที ่เกี ่ยวข้องและตรวจวัดพารามิเตอร์ค ุณภาพน ้าเสีย ที ่เกิดจาก มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเก็บน ้าตัวอย่างในวันอาทิตย์และวันพุธเพื่อเป็นตัวแทนน ้าเสียในวันหยุดและวัน ท างานตามล าดับ พบว่าค่าความเข้มข้นของน ้าเสียในวันพุธ มีค่าสูงกว่าของน ้าเสียที่เก็บตัวอย่างในวันอาทิตย์ โครงงานนี้จึงเลือกใช้น ้าเสียที่เก็บในวันพุธเพื่อท าการทดลองระบบบ าบัดแบบ SBR โดยการเลี้ยงเชื้อและเติม อากาศตลอด 24 ชั ่วโมง เป็นเวลา 8 วัน เพื ่อให้จุลินทรีย์หัวเชื้อที ่น ามาจากโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก ่นได้ ปรับตัวให้เข้ากับน ้าเสีย จากนั้นจึงท าการป้อนน ้าเสียเข้าสู่ระบบและตรวจวัดค่า COD เป็นรายชั่วโมง เพื่อหา ระยะเวลาและประสิทธิภาพของการบ าบัดน ้าเสียในระบบ SBR พบว่า ระยะเวลาเติมอากาศที่เหมาะสมกับการ บ าบัดน ้าเสียคือ 4 ชั่วโมง เนื่องจากค่า COD ของน ้าที่ผ่านการบ าบัดมีค่าค่อนข้างคงที่ ในการทดลองนี้ ได้ท า การเดินระบบบ าบัดแบบ SBR ด้วยระยะเวลาเติมอากาศ 4 ชั่วจ านวน 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ยของ COD ของน ้าเสีย เข้าระบบคือ 108.29 mg/l และเมื่อผ่านการเติมอากาศและตกตะกอนแล้ว ค่า COD ของน ้าเสียมีค่าเป็น 13.26 mg/l คิดเป็นประสิทธิภาพในการก าจัด COD เท่ากับ 87.75% จากการทดลองค่า OLR เท่ากัน 0.027 kg/m3.day ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีค่าน้อยกว่าในช่วงที่เหมาะสม จึงสรุปได้ว่า ในปัจจุบันยังไม่มีความเหมาะสมที่จะปรับรูปแบบระบบบ าบัดแบบน ้าเสียแบบบ่อปรับเสถียรเป็น แบบ SBR เนื่องจากปัจจุบันระบบบ าบัดน ้าเสียแบบบ่อปรับเสถียรยังสามารถบ าบัดน ้าเสียได้ BOD ต ่ากว่า 20 mg/l ตามมาตรฐานน ้าทิ้งชุมชน
The motivation of this study is use sequencing batch reactor (SBR) to replace the existing stabilization pond of Khon Kaen University (KKU) wastewater treatment plant (WWTP). The objective of this study is compare two systems in term of treatment process, time, and removal efficiency for biochemical oxygen demand (BOD), chemical oxygen demand (COD), suspended solid (SS), total phosphorus (TP), total kjeldahl nitrogen (TKN), and nitrate (NO3 ) We collected samples of raw wastewater generated from KKU for water quality analysis, including samples from Sunday and Wednesday as representative samples generated during weekends and weekdays. We found that the wastewater collected on Wednesday had higher strength than collected on Sunday. Thus, the raw wastewater collected on Wednesday was used in the SBR experiment. The experiment started with 24 hours aeration for 8 days to allow seed sludge from Khon Kaen hospital to acclimatize to the wastewater from KKU. Then, the aeration tank of the SBR was fed with the raw wastewater and the effluent COD was measured hourly to determine the optimum time for wastewater treatment. We found that the effluent COD was relatively unchanged after 4 hoursof aeration. So, the optimum aeration time was 4 hours. the SBR wastewater treatment with 4 hours aeration was operated 3 times. The average influent COD was 1 0 8 . 2 9 mg/l. After aeration and sedimentation cycle, the effluent COD was found to be 1 3 . 2 6 mg/l. which is equivalent to 8 7 . 7 5% in COD removal efficiency. From the experiment, the OLR value was 0 . 0 2 7 kg/m3 . day, which was less than the optimal operation range. Thus, it can be concluded that it is not appropriate to change the wastewater treatment system from stabilization ponds to SBR because the stabilization ponds can still treat BOD lower than 20 mg/l, which meets the Community Effluent Standards.รศ.พนมชัย วีระยุทธศิลป์
นางสาวบัวชมพู เศษรักษา
นางสาวพรรนิตา ไวไธสง
119ENV2021-04วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการเจริญเติบโตของจุลชีพที่สภาวะแตกต่างกัน
Growth Pattern of Microorganisms Under Different Conditionsรศ.กัลยกร ขวัญมา
นางสาวปรารถนา นามสีอุ่น
นางสาวพรรษพร เพิ่มผล
120ENV2021-05วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการพัฒนาเครื่องกรองน้ำผสมผสานระหว่างการแลกเปลี่ยนไอออนบวก และรีเวิร์สออสโมซิส ชนิดสลับการทำงานแบบอัตโนมัติ
Development of hybrid cation exchange resin and Reverse Osmosis with automatic service and regeneration cyclesโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการพัฒนาเครื่องกรองน้ำแบบผสมผสาน ระหว่างการแลกเปลี่ยนไอออนบวกและรีเวิร์สออสโมซิส ชนิดสลับการทำงานแบบอัตโนมัติโดยผู้จัดทำ เล็งเห็นถึงข้อบกพร่องของทั้งสองระบบ คือ ระบบรีเวิร์สออสโมซิสหากไม่ทำการกำจัดความกระด้างก่อน นำมากรองจะเกิดการอุดตันของเมมเบรนและระบบมีน้ำทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมจำนวนมาก ในส่วนของ การกำจัดความกระด้างด้วยสารกรองเรซิน หากเสื่อมสภาพการกรองแล้ว จำเป็นต้องใช้น้ำเกลือบริสุทธิ์ใน การฟื้นฟูสภาพ ทั้งยังต้องหยุดการทำงานเพื่อฟื้นฟูสภาพสารกรองเรซินให้กลับมามีประสิทธิภาพการกรอง ทำให้การผลิตเกิดความล่าช้าและเสียค่าใช้จ่ายเกินจำเป็น จากข้อบกพร่องดังกล่าว ผู้จัดทำจึงได้เกิดแนวคิด ในออกแบบกระบวนการผลิตน้ำโดยใช้ 2 ระบบทำงานร่วมกัน โดยการกำจัดความกระด้างของน้ำดิบก่อน นำไปกรองสิ่งสกปรกที่ระบบรีเวิร์สออสโมซิสและนำน้ำทิ้งที่มีค่าความเค็มที่สูงจากระบบรีเวิร์สออสโมซิส กลับมาฟื้นฟูสภาพสารกรองเรซิน ซึ่งจะทำให้ลดการปล่อยน้ำทิ้งสู่สิ่งแวดล้อมและเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต โดยการทดสอบใช้น้ำตัวอย่างที่มีค่าความความเค็ม (Salinity) และความดัน (Pressure) ที่แตกต่างกัน ใช้ค่าความความเค็มที่ 1000 mg/L, 3000 mg/L และค่าความเค็มของน้ำดิบในพื้นที่ทดลอง และค่าความดันที่ 120 PSI, 140 PSI และ 160 PSI โดยจะพิจารณาผลจากการทดลอง คือ ค่าความ ความเค็มของน้ำสะอาดและน้ำทิ้ง, อัตราการไหลของน้ำสะอาดและน้ำทิ้ง เพื่อคำนวณค่าฟลักซ์และ ประสิทธิภาพการกรองของกระบวนการ จากผลการทดสอบพบว่า หัววาล์วควบคุมถังกรองน้ำอัตโนมัติสามารถทำงานร่วมกับวาล์วสามทางไฟฟ้าในระบบเส้นท่อเพื่อควบคุมการไหลของน้ำในการทำงานของกระบวนการได้ ทั้งยังสามารถ นำน้ำทิ้งจากระบบรีเวิร์สออสโมซิสส่งไปทำการฟื้นฟูสารกรองเรซินได้ตามที่ออกแบบไว้ โดยจากทดลอง ความสัมพันธ์ระหว่างความดันที่ป้อนสู่กระบวนการกับอัตราการไหลของน้ำสะอาด พบว่า เมื่อเพิ่มความดัน ให้กับระบบรีเวิร์สออสโมซิส จะทำให้ได้อัตราการไหลของน้ำสะอาดเพิ่มขึ้นและอัตราการไหลของน้ำทิ้ง จะลดลง ทั้งยังพบว่าค่าร้อยละที่เมมเบรนสามารถสกัดเอาสารละลายออกไปได้นั้น มีค่ามากว่า 90% ทำให้มีค่าความเค็มของน้ำทิ้งที่สูง ซึ่งเป็นผลดีในการนำมาฟื้นฟูสารกรองเรซิน เพื่อทดแทนน้ำเกลือบริสุทธิ์ และลดค่าใช้จ่ายจากการนำน้ำเกลือมาใช้งานได้
This research project intended to increase Development of hybrid cation exchange resin and Reverse Osmosis with automatic service and regeneration cycles. A primary shortcoming of the reverse osmosis system is that, if the hardness is not eliminated before osmosis, it results in blockage of the membrane and the system generates wastewater, which can be harmful to the environment. Additionally, regeneration of the resin requires salt and the stoppage of the water treatment process, causing delays and additional costs. Thus, the researchers created a design of the water production process that used the two systems together. The hardness of the water was removed before reverse osmosis using the wastewater containing high salt concentration generated from the reverse osmosis system. We hypothesized that this system would reduce the wastewater released to the environment and increase production efficiency. We assessed different water salinity. (1000 mg/L,3000 mg/L and raw water salinity) and treatment pressures (120 psi, 140 psi and 160 psi). We measured the effect on the concentration of water salinityof treated water and wastewater, the flow rates of treated water and wastewater, the calculated flux, and filtering performance. From the test results showed that the automatic resin control valve can work with the electric three-way valve to control the flow of water in the process operation as designed. When testing the relationship between the pressure and the flow rate of permeate water It was found that increasing the pressure of the reverse osmosis system and the flow rate of permeate water. %Salt Rejection is more than 90%, making the salinity in the wastewater so high that the wastewater from the system can be used to regenerate the resin in softening system.รศ.สุรพล ผดุงทน
นายรวิพล ชัยแสน
นางสาวพิทยารัตน์ สุธงษา
121ENV2021-06วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมถ่านคาร์บอนกัมมันต์จากกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชันของกากของเสีย เพื่อการดูดซับโลหะหนัก
Activated carbon derived from hydrochar produced by hydrothermal carbonization of waste for heavy meal adsorptionกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียของโรงงานอุตสาหกรรม หากมีการจัดการที่ไม่ถูกวิธี อาจทำให้เกิด การรั่วซึมและการชะของสารปนเปื้อนออกสู่สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันมีการจัดการกับกากตะกอนโดยการนำมา ทำเป็นปุ๋ย แต่เนื่องจากกากตะกอนมีปริมาณที่มากเกินความจำเป็นที่จะนำไปทำเป็นปุ๋ย เราจึงต้องการนำกาก ตะกอนมาเพิ่มมูลค่าโดยการนำมาพัฒนาให้เป็นวัสดุดูดซับโลหะหนัก ดังนั้นงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความเป็นไปได้ในการนำกากของเสียมาพัฒนาเป็นวัสดุดูดซับโลหะหนักด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล คาร์บอนไนเซชัน และศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิ และวิธีการกระตุ้นไฮโดรชาร์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการดูด ซับโลหะหนัก การศึกษาในครั้งนี้จะใช้กากตะกอนซึ่งเป็นของเสียทางอุตสาหกรรม ชานอ้อย และกากกาแฟ เป็นชีวมวลในการผลิตถ่านคาร์บอนกัมมันต์ โดยผ่านกระบวนการกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอนไนเซ ชัน ผลิตภัณฑ์ที่ได้เรียกว่าไฮโดรชาร์ แล้วเผากระตุ้นทางเคมีด้วยโพแทสเซียมคาร์บอเนตและทางฟิสิกส์ด้วย คาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนีย ณ อุณหภูมิที่แตกต่างกัน และนำมาทดสอบความสามารถในการดูดซับ สารละลายเฮกซะวาเลนต์โครเมียม จากผลการศึกษาพบว่า ไฮโดรชาร์ที่ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์- บอไนเซชันระหว ่างกากตะกอนกับกากกาแฟ แล้วกระตุ้นทางเคมีที ่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส (SC-K2CO3-800) เป็นเงื่อนไขที่เหมาะสมที่สุด สามารถดูดซับเฮกซะวาเลนต์โครเมียมได้มากถึง 21.56 มก./ก. ไอโซเทอมของการดูดซับสอดคล้องกับแบบจำลองของฟรุนดิช และมีจลนศาสตร์การดูดซับเป็นแบบ Pseudosecond-order และพฤติกรรมการดูดซับที่เกิดขึ้นเป็นการดูดซับทางเคมี และเป็นการดูดซับแบบหลายชั้น
Industrial waste sludge can be a risk to environmental pollution, but currently its reuse for such things as fertilizer is being studied. However, its use as an adsorbent may be more beneficial. The objectives were to study the possibility of recycling industrial sludge using a hydrothermal carbonization (HTC) process into a material that can adsorb heavy metals and to study the effect of temperature and activation procedure on heavy metal adsorption efficacy by hydrochar. Sewage sludge was blended with lignocellulosic wastes such as coffee grinds and bagasse in this study for the production of activated carbon. Following hydrothermal carbonization, the product was chemically activated with potassium carbonate and physically altered with carbon dioxide and ammonia at different temperatures. Batch experiments were used to test the material’s ability to absorb hexavalent chromium solution. The results showed that the best adsorbent for hexavalent chromium was a combination of sludge and coffee biomass, activated with potassium carbonate and thermally activated at 800°C (maximum adsorption capacity = 21.56 mg /g). The Freundlich isotherm described the adsorption data well (R 2 = 0.9973) , and the adsorption kinetics was best described using a pseudo-second-order model (R 2 = 0.9976). The adsorption behavior indicated chemisorption and multi-layer adsorption.ผศ.รัฐบาล ขันธ์โพธิ์น้อย
นางสาวณัฐนิชา กล้าพระจันทร์
นางสาวชัญญานุช เรืองโอชา
122ESE2021-01วิศวกรรมไฟฟ้าระบบตรวจจับการหกล้มของผู้สูงอายุ
Fall detection system for elderly personผศ.บุญยิ่ง เจริญ
นายปฏิภาณ ชินชาด
นายบุญญานุภาพ ผาสุข
123ESE2021-02วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์นำทางอัจฉริยะ ระยะที่ 1
Smart navigator mobile robot : Phase Iรศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
อ.สถิรพร พรนิมิตร
นายบดินทร์ จันทรินทร์
นายชินโชติ เวสสวานิชกูล
124ESE2021-03วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์เล่นหมากฮอส : ระยะที่ 1
A checkers playing robot : Phase 1รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายสุทธิชัย นามแสง
นายภาคิน ศรีโคตร
125ESE2021-04วิศวกรรมไฟฟ้าการควบคุมการผ่านเข้าออก โดยการจดจำใบหน้า
Access control using face recognitionอ.สถิรพร พรนิมิตร
นายชิษณุพงศ์ ศรีจิตราช
นายรัชชานนท์ สมประสงค์
126ESE2021-05วิศวกรรมไฟฟ้าระบบบันทึกเวลาด้วยนิ้วมือ
Fingerprint Attendance Systemอ.สถิรพร พรนิมิตร
นายนันทวัฒน์ ศรีสุวงศ์
นางสาวณัฐธิดา ม่วงทอง
127ESE2021-06วิศวกรรมไฟฟ้าเซ็นเซอร์วัดรังสี
Radiation sensorรศ.จีรนุช เสงี่ยมศักดิ์
นายวชิรวิทย์ สีหะวงษ์
128ESE2021-07วิศวกรรมไฟฟ้าการตรวจจับการใส่หน้ากากอนามัยโดยใช้ปัญญาประดิษฐ์
Face mask wearing detection using artificial intelligenceรศ.อานุภาพ มีสมบูรณ์
นางสาวจิระประภา ชนะสงคราม
นายรัฏฐาธิปัตย์ เดชโนนสังข์
129ESE2021-08วิศวกรรมไฟฟ้าหน่วยสำรองแบตเตอรรี่สำหรับเครื่องมือทางการแพทย์
Battery backup unit for medical equipmentรศ.นภัสถ์ ไตรโรจน์
นายกิตติเชษฐ์ ถมมา
นายวิศวกร ทศแก้ว
130ESE2021-09วิศวกรรมไฟฟ้าการแยกน้ำด้วยขั้วรับแสง
Photoelectrode for water splittingรศ.นภัสถ์ ไตรโรจน์
นางสาวเคียงขวัญ พันธ์โบ
นางสาวธนิษฐา กัณหา
131ESE2021-10วิศวกรรมไฟฟ้าดิจิทัลสเตทโตสโคปแบบไร้สายสำหรับตรวจวัดและบันทึกสัญญาณเสียงของหัวใจ
A wireless digital stethoscope to auscultate and record for heart soundsรศ.ศราวุธ ชัยมูล
นายยุทธพงศ์ชัย เหมือนมาตย์
นางสาววิชิตา นิละดา
132ESE2021-11วิศวกรรมไฟฟ้าระบบสมาร์ทฟาร์มสำหรับจิ้งหรีด
Smart farm for cricketsรศ.ศราวุธ ชัยมูล
นายวัชรากร หิรัญคำ
133ESE2021-12วิศวกรรมไฟฟ้าระบบอัตโนมัติสำหรับการปลูกพืช
Automation for Plant Growingผศ.อนุชา แสงรุ่ง
นายภูมิวมินทร์ องอาจ
นายชลิต อดิรุจโภคิน
134ESE2021-13วิศวกรรมไฟฟ้าการสร้างแผนที่ภูมิประเทศโดยใช้ไลดาร์
Terrain mapping using LIDAR imagingอ.ธนวุฒิ ตันติโสภารักษ์
รศ.ศราวุธ ชัยมูล
นายภูริณัฐ เหล่ามูล
นายฐิติพงษ์ นามพุทธา
135IChE2021-01วิศวกรรมเคมีSynthesis of sulfated titanium dioxide catalyst for sorbitol dehydration to isosorbide
Synthesis of sulfated titanium dioxide catalyst for sorbitol dehydration to isosorbideรศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นายพิพัฒน์พงศ์ ศรีสมุทร
นางสาวณัฐธิดา สุภาพันธ์
136IChE2021-02วิศวกรรมเคมีคอนกรีดอัจฉริยะและความสามารถในการกักเก็บความร้อน
Smart PlasterandIts Energy Storageอ.อธิป เหลืองไพโรจน์
รศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวกรพินธุ์ เอี่ยมสุวรรณ์
นายธนภูมิ คงชนะ
นายปภังกร ศรีวัด
137IChE2021-03วิศวกรรมเคมีCharacterization of Amine-calcium oxide decorated activated carbon prepared from sugarcane bagasse with chemical activation by zinc chloride for the application of carbon dioxide adsorbent
Characterization of Amine-calcium oxide decorated activated carbon prepared from sugarcane bagasse with chemical activation by zinc chloride for the application of carbon dioxide adsorbentผศ.วรินรำไพ เศรษฐ์ธณบุตร
นางสาวกัลยาณิน หงอกสิมมา
นางสาวกัญญาวีร์ แก่นตูม
138IChE2021-04วิศวกรรมเคมีDegradation of formaldehyde wastewater by advanced oxidation process
Degradation of formaldehyde wastewater by advanced oxidation processรศ.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์
นายสิทธิศักดิ์ คลังหิรัญ
นางสาวกุลณัฐ วงศ์สง่า
139IChE2021-05วิศวกรรมเคมีUpgrading of pyrolytic crude oil derived from falling palm oil fruit by liquid phase in-situ hydrodeoxygenation over modified HZSM-5 catalysts
Upgrading of pyrolytic crude oil derived from falling palm oil fruit by liquid phase in-situ hydrodeoxygenation over modified HZSM-5 catalystsรศ.กิติโรจน์ หวันตาหลา
นางสาวศิริวรรณ ประภัสสราภิวัฒน์
นางสาวรังสิมา ทักสูงเนิน
140IChE2021-06วิศวกรรมเคมีDevelopment of electrodes for alkaline water electrolysis
Development of electrodes for alkaline water electrolysisผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นางสาววิศัลย์ศยา จันกัด
นางสาวฐิติมา เนาว์วงษ์
141IChE2021-07วิศวกรรมเคมีSustainable bioactive paper packaging based on vegetable waste containing green synthesized nanosilver
Sustainable bioactive paper packaging based on vegetable waste containing green synthesized nanosilverรศ.พรนภา เกษมศิริ
นางสาวณัฐพร ภักดีเพชร
นางสาวปานตะวัน ผิวคำสิงห์
142IE_1วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนามีดด้วยกระบวนการทางโลหะวิทยา (กรณีศึกษามีดตัดหนัง)
-รศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นายณัฐสิทธิ์ วงศ์คง
นายดิศรณ์ นามละคร
143IE_10วิศวกรรมอุตสาหการอิทธิผลของสารปรุงแต่งของแบบหล่อทรายและอลูมิเนียม
-รศ.ชาญณรงค์ สายแก้ว
นายศุภราช ทองสุข
นายภัครพงษ์ บุษราคัม
นายปรนัย ตอสี
144IE_11วิศวกรรมอุตสาหการการออกแบบระบบ LINE CHATBOT แนะนำเส้นทางการให้บริการขนส่งสาธารณะ กรณีศึกษา : บริการขนส่งมวลชนมหาวิทยาลัยขอนแก่น
A UTILIZING THE LINE CHATBOT TO DESIGN A ROUTE GUIDANCE SYSTEM A CASE STUDY : KKU SMART TRANSITผศ.อภิชาติ บุญมา
นายโกวิทย์ บุญคงที่
นางสาวปิยนุช เหล็กสูงเนิน
145IE_12วิศวกรรมอุตสาหการการหาปริมาณรถขนส่งสินค้าแต่ละประเภทที่เหมาะสมใน RDC Leg C ขอนแก่น โดยใช้เทคนิคการใช้โปรแกรมเชิงเส้นตรง
-รศ.คมกฤช ปิติฤกษ์
นายศุภวิชญ์ นาเมืองรักษ์
นายอภิสิทธิ์ สมศรีสุข
146IE_13วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษากระบวนการผลิตบริษัทขอนแก่นแหอวน เพื่อลดของเสียจากการผลิต
-อ.กฤษณรัช นิติสิริ
นางสาวชนากานต์ เสนามนตรี
นายรนกฤต บุญสรรค์
147IE_2วิศวกรรมอุตสาหการการเปรียบเทียบสมบัติเชิงกลของวัสดุเชิงประกอบอะลูมิเนียมที่ผลิตด้วยการหลอมกวนและบดเชิงกล
-ผศ.สุขอังคณา แถลงกัณฑ์
นางสาวนุชจิรา อุดมจิตร
นายนครินทร์ ประทุมชัย
นายภราดร ทองวร
148IE_3วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาระบบการตัดสินใจสำหรับการวางแผนเส้นทางการขนส่งถุงยังชีพผู้ประสบภัย
A decision support system for flood victims living bag routing planning problemผศ.ฐิติพงศ์ จำรัส
นางสาวบุลภรณ์ ศิริสวัสดิ์
นายถิรวัฒน์ บุณยชีวิตานนท์
149IE_4วิศวกรรมอุตสาหการการขึ้นรูปไฮดรอกซีอะพาไทต์พรุนสำหรับการพัฒนาเป็นวัสดุทดแทนกระดูก
-รศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นางสาวปวิตรา สักขวา
นางสาวศุภลักษณ์ บุญใบ
นางสาวพรพิมล ภิรมย์ไชย
150IE_5วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาความเป็นไปได้ของร้านอาหารตามสั่งแบบ Ghost Kitchen
Feasibility study of a cooked-to-order ghost kitchen restaurantผศ.ทวี นาครัชตะอมร
นางสาวเอวิกา จันทร์นนท์
นางสาวธิดารัตน์ มูลมณี
นางสาวภัทรมน คำนนท์
151IE_6วิศวกรรมอุตสาหการการจัดการคลังสินค้า
-รศ.คมกฤช ปิติฤกษ์
นายประกฤษฎิ์ จงเจริญใจ
นายวิทยา เบื้องพลงาม
นายธิษณ์ชาเนศ อะโน
152IE_7วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาการขึ้นรูปไฮดรอกซีอะพาไทด์โดยการผสมเม็ดโฟมกับปูนพอร์ตแลนด์ซีเมนต์ขาวและคอนกรีตพรุนสำหรับการพัฒนาเป็นวัสดุทดแทนกระดูก
The study of formation of hydroxyapatite by mixing white Portland cement with foam and porous concrete to develop bone implant materials.รศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นางสาวปาจรีย์ บุญพาเกิด
นายลัทธิ วิสายาน
153IE_8วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาโปรแกรมสนับสนุนการตัดสินใจเลือกผู้ส่งมอบเครื่องมือช่างกลที่ใช้ในห้องปฏิบัติการสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
The Development of Program to Support a Selection of Mechanical tool Supplier for the Department of Industrial Engineering Laboratoryรศ.ปนิทัศน์ สุรียธนาภาส
นายกษิดิศ ศรีตระกูล
นายสิรภพ มณีรักษ์
นายอนุชิต ตระวงษ์
154IE_9วิศวกรรมอุตสาหการแบบจำลองการจัดตารางเดินรถในอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
A fleet scheduling model in beverage industryผศ.ทวี นาครัชตะอมร
นายนาวิน ลี้ลิขิตกุล
นายเนรัญ มีฤกษ์ใหญ่
155LE_1วิศวกรรมอุตสาหการ-
Optimizing and reducing costs of road transportation in Thailandรศ.คมกฤช ปิติฤกษ์
นางสาวพิชญาภา เอกปริญญา
นางสาววิรัลพัชร ธนันต์ชัยวรากุล
นางสาวศวิตา สุพรรณเภสัช
156LE_2วิศวกรรมอุตสาหการ-
Decision Support System for Evacuation Route Planning of Disaster Victimsผศ.ฐิติพงศ์ จำรัส
นางสาวณัฐณิชา จูกระโทก
นางสาวนภัสนันท์ สิงห์โตแก้ว
นางสาวบัณฑิตา พุทธกาล
157LE_3วิศวกรรมอุตสาหการ-
Improvement of kanban application in production system: A case study of automotive wiring harness companyผศ.ศิรวดี อรัญนารถ
นางสาวบุษบา บุญทาวงศ์
นางสาวสุภัคสินี วงค์ตาขี่
นางสาวปิยะฉัตร ธ.น.ตื้อ
158LE_4วิศวกรรมอุตสาหการ-
Restaurant queuing time estimationผศ.ทวี นาครัชตะอมร
นายธนกฤต นีละโยธิน
นายสรวิศ ธีระวัฒนา
นางสาวชนม์นิภา สีดาเคน
159LE_5วิศวกรรมอุตสาหการ-
The study approach for Khon Kaen university vaccination centerอ.กฤษณรัช นิติสิริ
นายนันทวัฒน์ ไทยเเท้
นายศุภโชติ บัวจันทร์
160LE_6วิศวกรรมอุตสาหการ-
The selection of logistics service providers for e-commerce in Thailandรศ.ปนิทัศน์ สุรียธนาภาส
นางสาวเกวลีน ชัยวิรัตน์พงศ์
นายศิวาวัชฒ์ ทีฆวิวรรธน์
161ME2021-1วิศวกรรมเครื่องกลการทำนายภาระการทำความเย็นโดยใช้การเรียนรู้ของเครื่อง
Machine Learning-Based Cooling Load Predictionศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายศรัณย์พล ทองเนื้อนวล
162ME2021-10วิศวกรรมเครื่องกลการพัฒนาแบบจำลองสมดุลมวลและพลังงานของโรงไฟฟ้าพลังงานจากชานอ้อยด้วยเครื่องทำแห้งชานอ้อย
Development of Mass and Energy Balance Model of Bagasse-Fired Power Plant with Bagasse Dryerผศ.ชนกนันท์ สุขกำเนิด
นายธารินทร์ อภิรมย์
นายพงศ์พัฒน์ คำแป
163ME2021-2วิศวกรรมเครื่องกลการพัฒนาอุปกรณ์เสริมเครื่องตัดหญ้าแบบข้อต่ออ่อนเพื่อใช้สางใบอ้อย
Development of An Accessory of A Flexible Shaft Mower for Sugarcane Leaf Removingศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายพงศธร ชมภูพรรณ
นายอภิวัฒน์ สมสกิจ
นายชนาธิป ดอนปราการ
164ME2021-3วิศวกรรมเครื่องกลการเพิ่มคุณภาพของชานอ้อยด้วยกระบวนการทอรีแฟกชัน
Upgrading Bagasse by Torrefaction Processศ.ธนากร วงศ์วัฒนาเสถียร
นายปราชญ์ชนะ เดิมขุนทด
นายณัฐพล พลพร้อม
165ME2021-4วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบและพัฒนาหน่วยหว่านเมล็ดข้าวเปลือกของโดรน
Design and Development of Drone Paddy Seeds Spreading Unitผศ.นำพล มหายศนันท์
นางสาวแพรไพลิน ทวีศักดิ์
นางสาวธนิตา วรรณโชติ
166ME2021-5วิศวกรรมเครื่องกลการทดสอบแรงเสียดทานวัสดุรูปตัว T
T-Shape Friction Testerผศ.นำพล มหายศนันท์
นางสาวฌาฏิฎา วิเชียรขำ
นางสาวกรพินธุ์ ขลิกคำ
167ME2021-6วิศวกรรมเครื่องกลการเชื่อมกันของวัสดุต่างชนิดกัน
Welding of Dissimilar Materialsผศ.นำพล มหายศนันท์
นายสรวุฒิ ศรีชนะ
นางสาวปลายฟ้า บุตรดีมี
นายปิยะบุตร พิมพ์สิงห์
168ME2021-7วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบและพัฒนาเครื่องเพิ่มอุณหภูมิและควบคุมอัตราการไหลของสารละลายทางหลอดเลือดดำ
Design and Development of the Temperature and Flow Control Machine of the Intravenous Solutionผศ.วศกร ตรีเดช
นางสาวณัฐกานต์ ชาอินทร์
นายโอฬาร ชีวินศิริวัฒน์
นางสาวกุลศิริ นาคดิลก
169ME2021-8วิศวกรรมเครื่องกลเก้าอี้สรีรวิทยาเพื่อสุขภาพ
Better Chair Ergonomicsผศ.วศกร ตรีเดช
นายภูบดี พาลี
นายภูมินทร์ อิ่มทรัพย์
นายกัมพล แผ่นสุวรรณ
170ME2021-9วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบและสร้างปืนยิงตาข่ายแหด้วยระบบอากาศอัด
Shooting Net Gun, Compressed Air System, Police’s Tool, Security Segmentผศ.วศกร ตรีเดช
ผศ.ดร.อภิชาติ ศรีชาติ
นางสาวนภัสวรรณ รักเมือง
นายธนกร กำจรเมนุกูล
นายภูมิรพี สุระมุล
171Tele2021-01วิศวกรรมไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพื่อระบุระดับความรุนแรงของเบาหวานขึ้นตา
Application of artificial intelligence for identifying Disease Severity level of diabatic retinorathyผศ.ภูริพงศ์ สุทธิโสภาพันธ์
นายสุภะกฤษ อภิเนษกรมณ์
172AE20-01วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและพัฒนาเครื่องสับลำต้นกล้วย
STUDY AND DEVELOPMENT OF BANANA TRUNK SHREDDING MACHINEรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นายคมกริช วรรณชนะ
นายชยุตพงศ์ มาลัย
173AE20-02วิศวกรรมเกษตรการออกแบบและทดสอบชุดคัดแยกขนาดผงใบยางนา
DESIGN AND TESTING SIZE SORTER OF THE DIPTEROCARPUS ALATUS POWDERโครงงานนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาออกแบบ ชุดคัดแยกขนาดผงใบยางนา และศึกษาการคัดแยกขนาดผงใบยางนาด้วยห้องตกตะกอนและไซโคลน กระทำการทดสอบโดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ ขนาดของอนุภาคผงใบยางนา ได้แก่ ขนาดตะแกรง (1.5 และ3.0 มิลลิเมตร) อัตราการป้อน (3 กิโลกรัมต่อนาที) อัตราการไหล (51 73 95 และ 117 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. เมื่ออัตราการไหลเพิ่มขึ้น ทำให้ขนาดของอนุภาคผงใบยางนาลดลงทุกขนาดตะแกรง 2. ขนาดตะแกรงที่เหมาะสมคือ 1.5 มิลลิเมตร และ อัตราการป้อนที่เหมาสม คือ 3 กิโลกรัมต่อนาที การทดสอบการคัดแยกขนาดผงใบยางนาด้วยห้องตกตะกอนและไซโคลน ใช้ขนาดตะแกรง 1.5 มิลลิเมตร ที่อัตราการป้อน 3 กิโลกรัมต่อนาที อัตราการไหล 51 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง พลังงานไฟฟา ที่ใช้ 0.6175 กิโลวัตต์ชั่วโมงต่อกิโลกรัม
The main objective of this project is to study and design. Rubber leaf powder size sorting kit and to study the size separation of the Dipterocarpus alatus powder leaves with sedimentation chamber and cyclone Conduct a test by studying the factors affecting the size of the yang Na powder particles were sieve size (1.5 and 3.0 mm), feed rate (3 kg/min), Flow rate (51 73 95 and 117 m³/h), was summarized as follows: 1. When the wind speed increases Causing the size of yang Na powder particles to be reduced in every sieve size. 2.The suitable sieve size is 1.5 mm, and the suitable feed rate is 3 kg/min. Size screening test for powders using sedimentation chamber and cyclone Using a sieve size of 1.5 mm. At a feed rate of 3 kg per minute, the flow rate of 51 m³/h. electrical energy used 0.6175 kWh / kg.ผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายธนา สุดสน
นายณัฐกฤษณ์ มูลละม่อม
174AE20-04วิศวกรรมเกษตรผลของการลดความชื้นข้าวเปลือกโดยการตากแดดที่มีผลต่อคุณภาพการสี
EFFECT OF SUN DRYING ON QUALITY OF MILLINGงานวิจัยฉบับนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการลดความชื้นข้าวเปลือกโดยวิธีการตากแดดที่มีผลต่อคุณภาพการสี ทำการทดสอบโดยการศึกษาข้าวนาปรังพันธุ์ข้าวเหนียว กข.6 โดยศึกษาผลที่มีต่อคุณภาพ ข้าวเปลือกที่ผ่านการตากแดดที่ต่างกัน 2 ปัจจัยคือ ข้าวเปลือกที่ตากแดดแบบมีการพลิกกลับด้านข้าวและข้าวเปลือกที่ตากแดดแบบไม่พลิกกลับด้านข้าวโดยตากข้าวที่มีความหนาเท่ากันคือ 5 เซนติเมตร สำหรับกองข้าวที่พลิกกลับด้านจะทำการใช้ไม้พลิกข้าวพลิก 2 ครั้งต่อวันหลังจากการตากแดดแต่ล่ะวันจะทำการเก็บตัวอย่างแต่ล่ะกองข้าวเพื่อนำมาอบหาความชื้นและอีกส่วนนำมาทดสอบคุณภาพการสีทำการทดสอบ13วันเมื่อได้ข้อมูลดิบครบแล้วจึงนำมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ว่าการตากแดดที่มีปัจจัย 2 ปัจจัยมีผลต่างกันอย่างไรและอัตราการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของคุณภาพการสีข้าวเป็นอย่างไร ผลการศึกษาผลของการลดความชื้นข้าวเปลือกโดยวิธีการตากแดดที่มีผลต่อคุณภาพการสีได้ผลสรุปดังนี้สำหรับจำนวนวันที่ใช้ในการตากข้าวสารแบบพลิกกลับด้านข้าว โดยจะทำให้เปอร์เซ็นต์ข้าวสารเต็มเมล็ดเพิ่มขึ้น 1.4843 % ต่อจำนวนวันที่ตาก เปอร์เซ็นต์ข้าวสารหัก ลดลง 0.4157 % ต่อวันที่ตาก และเปอร์เซ็นต์ข้าวสารรวมจะเพิ่มขึ้น 1.0686 % ต่อจำนวนวันที่ตาก ส่วนจำนวนวันที่ใช้ในการตากข้าวสารแบบไม่พลิกกลับด้านข้าว โดยจะทำให้เปอร์เซ็นต์ข้าวสารเต็มเพิ่มขึ้น 0.9575 % ต่อจำนวนวันที่ตาก เปอร์เซ็นต์ข้าวสารหัก ลดลง 0.0295 % ต่อวันที่ตาก และเปอร์เซ็นต์ข้าวสารรวมเพิ่มขึ้น 0.9871 % ต่อจำนวนวันที่ตาก เปอร์เซ็นต์ข้าวสารหักแบบพลิกกลับด้านเท่ากับไม่พลิกกลับด้าน โดยเปอร์เซ็นต์ข้าวสารหักของข้าวพลิกกลับด้านน้อยกว่าไม่พลิกกลับด้านที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยค่าเฉลี่ย ของเปอร์เซ็นต์ข้าวสารหักที่ตากโดยพลิกกลับด้านมีค่าน้อยกว่าแบบไม่พลิกกลับด้านเกษตรกรหรือโรงสีควรตากข้าวโดยมีการพลิกกลับด้านข้าวสม่ำเสมอเพราะจะทำให้มีเปอร์เซ็นต์ข้าวสารหักน้อยกว่าการตากข้าวโดยไม่พลิกกลับด้านและจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการไม่พลิกกลับด้านข้าวจะทำให้ข้าวมีสีคล้ำทำให้โรงสีจะไม่รับซื้อข้าวเปลือกหรือทำให้ข้าวเปลือกราคาลดลง ข้อเสนอแนะสำหรับการศึกษาผลของการลดความชื้นข้าวเปลือกโดยการตากแดดที่มีผลต่อคุณภาพการสีควรทำการทดสอบข้าวที่แตกต่างพันธุ์มากขึ้นเพื่อให้มีข้อมูลที่ครอบคลุมพันธุ์ข้าวทั่วประเทศไทยควรทำการทดสอบในช่วงระยะเวลาที่มีสภาพอากาศที่เหมาะสมไม่มีพายุที่จะส่งผลสภาพอากาศในการตากตัวอย่างการทดสอบ
This research was conducted to study the effect of paddy moisture dehumidification by the effective sun exposure method. Effect on the color quality. The test was carried out by studying off-season rice, glutinous rice, Kor. 6 by studying the effect on quality. Two different sun-dried paddy factors is sun-dried paddy with a turnover, rice, and paddy that In the sun without turning the rice, dry rice with the same thickness of 5 cm. The stack that is turned over will do Flip rice flipping sticks twice a day after each day of the sun will collect samples, but each stack of rice will be baked for Moisture and other parts were tested for color quality. The test was carried out for 13 days, when the raw data was complete, they were analyzed statistically to analyze how the two factors of the sun exposure had different effects and the rate of reduction or increase. The results of the study of the dehumidification of paddy by the sun drying method on the color quality were summarized as follows: For the number of days spent in reverse drying rice, this will increase the percentage of whole grain rice by 1.4843% per day of drying. The percentage of broken rice decreased by 0.4157% per day of drying and the percentage of total milled rice increased 1.0686% per day of drying as for the number of days used for drying rice without turning the rice, It will make a percentage of Full-fledged rice increased by 0.9575% per number of days of drying. The percentage of broken rice decreased by 0.0295% per day of drying and the percentage. Total price increased by 0.9871% per day of drying. The percentage of broken rice in a reverse form equals not an inversion. The percentage of broken rice was less reversed than it did not reverse at the statistical significance level at 0.05 on average the percentage of broken rice that was dried on the reverse was less than that of non-inverting. Farmers or mills should dry rice with Inversion of rice evenly because it will have less percentage of broken rice than dry rice without turning it Suggestions for the study of the effect of dehumidification of paddy by sun exposure on the milling quality should be More rice varieties were tested to have comprehensive data on rice varieties throughout Thailand. The period time in which the weather is optimal, no storms will affect the weathering of the test sample.รศ.สมชาย ชวนอุดม
นายธนัท ภูมิอมร
นายฤทธิพร เอกบุรุษกุล
175AE20-06วิศวกรรมเกษตรการวัดความชื้นชานอ้อยผสมใบอ้อยแบบออนไลน์โดยใช้อินฟราเรด ย่านใกล้
ON-LINE MEASUREMENT OF BAGASSE BLENDED SUGARCANE LEAVES USING NIR SPECTROSCOPICโครงงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดความชื้นชานอ้อยผสมใบอ้อยแบบออนไลน์โดยใช้อินฟราเรดย่านใกล้ เนื่องจากชานอ้อยซึ่งเป็นผลพลอยได้จากกระบวนการหีบอ้อยถูกนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงชีวมวลในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้า เชื้อเพลิงชีวมวลที่ดีควรมีความชื้นน้อยกว่า 50% เพื่อให้หม้อไอน้ำทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อหาวิธีการปรับตั้งเซนเซอร์ที่เหมาะสมจึงศึกษาอิทธิของระดับความสูงของเซนเซอร์, มุมตกกระทบของ Light source, อัตราส่วนผสมของชานอ้อยและใบอ้อย ต่อค่าการวัดซ้ำของสเปกตรัมอินฟราเรดย่านใกล้ ซึ่งศึกษาอิทธิพลระดับความสูงของเซนเซอร์ 3 ระดับ ได้แก่ (10, 20 และ30 เซนติเมตร) มุมตกกระทบของ Light source 3 ระดับ ได้แก่ (30o, 45o และ 60o)และอัตราส่วนผสมของชานอ้อยและใบอ้อย 5 อัตราส่วน ได้แก่ (ชานอ้อย 100%, ชานอ้อย 70% ผสมใบอ้อย 30%, ชานอ้อย 50% ผสมใบอ้อย 50%, ชานอ้อย 30% ผสมใบอ้อย 70% และใบอ้อย 100% ) พบว่าที่ระดับความสูงของเซนเซอร์ 20 เซนติเมตร มุมตกกระทบของ Light source ที่ 45o เหมาะสมที่สุด สำหรับการวัดแบบออนไลน์ และอัตราส่วนชานอ้อยผสมใบอ้อย ไม่มีอิทธิพลต่อการวัดซ้ำ สำหรับการสร้างสมการทำนายความชื้นแบบออนไลน์ของชานอ้อยผสมใบอ้อยโดยใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทสโกปี ใช้ตัวอย่างในการทดลอง 100 ตัวอย่าง ปรับระดับความชื้น 5 ระดับ (10%, 30%, 50%, 70% และ90%) ทำการวัดค่าความชื้นด้วยเครื่อง NIRs นำค่าที่ได้จากการวัดมาวิเคราะห์ผลโดยการสร้างสมการเทียบมาตรฐานด้วยวิธีถดถอยเชิงเส้นตรงแบบพหุ (multiple linear regression, MLR) นำมาปรับแต่งข้อมูลด้วยเทคนิคการปรับปรุงข้อมูลสเปกตรัม ทั้ง 4 เทคนิค ได้แก่ 1.Raw spectra 2.SNV 3. First derivative 4.Second derivative การสร้างสมการทำนายความชื้นมีการใช้ค่าชี้ผลที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าสัมประสิทธิ์การพิจารณาของชุดสร้างสมการ (R2 ) ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดทำนาย (SEP) ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของสร้างสมการ (SEC) ค่าสัมประสิทธิ์การพิจารณาของชุดทดสอบสมการ (r2) พบว่าควรเลือกใช้สมการที่มีการปรับปรุงข้อมูลสเปกตรัมด้วยเทคนิค SD2 เพราะให้ค่าสัมประสิทธิ์การพิจารณาสูง
The purpose of this project was to measure the On-line measurement of bagasse blended using NIR spectroscopic. Bagasse, is a by-product of the sugarcane extraction process, it’s used as biomass fuel in the power generation process. A good biomass fuel could be less than 50% moisture content for combustion to keep the boiler efficiently. To make the precision of spectral measurement, the influence of the sensor altitude, the angle of incidence of the light source, the mixture ratio of bagasse and sugarcane leaves were studied. The influence of the sensor altitude had 3 levels sensors including (10, 20 and 30 cm.), the light source angles had 3 levels including (30o, 45o and 60o), and the mixing ratio of bagasse and sugarcane leaves were 5 ratios including (100% bagasse,. 70% bagasse mixed 30% sugarcane leaves, 50% bagasse mixed 50% sugarcane leaves, 30% sugarcane mixed 70% sugarcane leaves and 100% sugarcane leaves). It was found that at the sensor height of the 20 cm, the light source angle of the 45o was the most suitable. for online measurement and the ratio of bagasse mixed with sugarcane leaves had no influence on precision of spectral measurement for constructing the online moisture content prediction model the 100 samples were used in the experiment, then it was adjusted to 5 moisture content levels including (10%, 30%, 50%, 70% and 90%). The calibration model was performed using multiple linear regression (MLR) method with either raw spectral or spectral pretreatment of SNV SD1 and SD2.The performance of prediction model were indicated by (R2, SEC, r2, SEP and bias). this study suggests the equation for modified spectral data should be Second derivative (SD2) because it had a high consideration coefficient.รศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาวสาวิตรี สายจันทร์
นางสาวเกศกนก ศรีใหม่
176AE20-07วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยระยะห่างของลูกกลิ้งบดของเครื่องบดถั่วลิสง
The Study an Interval of Grinding roller factor of the Peanut Grinding Machineในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาปัจจัยระยะห่างของลูกกลิ้งบดของเครื่องบดถั่วลิสง โดยมีวัตถุประสงค์ย่อย คือ ศึกษาลักษณะทางกายภาพของถั่วลิสงอบก่อนบดและหลังบด ทำการบดถั่วลิสงด้วยเครื่องบดลดขนาดถั่วลิสง โดยมีความเร็วรอบลูกกลิ้งบดที่ใช้คือ 1440 รอบต่อนาที และบดโดยการปรับระยะห่างของลูกกลิ้งบด 5 ระดับคือ 1.2, 1.4, 1.6, 1.8 และ 2.0 mm. และนำถั่วลิสงที่บดได้มาแยกขนาดเพื่อหาปริมาตรอนุภาคที่ได้จากการบดในแต่ละระยะห่าง จากผลการวิจัยพบว่า ระยะห่างของลูกกลิ้งบดของเครื่องบดลดขนาดถั่วลิสงที่เหมาะสมคือ 2.0 mm. ซึ่งจากความสัมพันธ์ของระยะห่างของลูกกลิ้งบดดังกล่าวนี้ ส่งผลให้ความสามารถในการทำงานของเครื่องบดถั่วลิสงเป็น 174.49 กิโลกรัมต่อชั่วโมงและเกิดการสูญเสีย 0.79 เปอร์เซ็นต์
The major objective of the study is to study an Interval of the Grinding roller factor of the Peanut Grinding Machine, the minor objective is to study the physiognomy of peanut before and after ground. Grinding the peanut using Grinding Machine to minimize the form with 1440 revolutions per minute of speed, And adjust an interval to grind with 5 levels including 1.2, 1.4, 1.6, 1.8, and 2.0 mm. And then separate the ground peanut with a different form to determine the volume of a particle in each interval. According to the research results, it was found that. The Interval of the Grinding roller factor of the Peanut Grinding Machine suitable is 2.0 mm. Which from the relationship of the Interval of the Grinding roller factor of the Peanut Grinding Machine, This resulted in the productivity of the Peanut Grinding Machine to 174.49 kg / h and a loss of 0.79%.รศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นายณัฐวัฒน์ ยุบลนิตย์
177AE20-08วิศวกรรมเกษตรการศึกษาความเป็นไปได้ในการทำนายผลผลิตของ มันสำปะหลังในแปลงโดยใช้อากาศยานไร้คนขับ
FEASIBILITY STUDY OF CASSAVA YIELD PREDICTION USING UNMANNED AERIAL VEHICLE (UAV)การจัดทำโครงงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างสมการทำนายผลผลิตของมันสำปะหลังและศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตมันสำปะหลัง โดยการสร้างสมการทำนายผลผลิตของมันสำปะหลัง สำหรับการศึกษามีการเก็บข้อมูลตัวอย่าง 3 พล็อตต่อเดือน เก็บทั้งหมด 4 เดือน พร้อมกับถอนหัวมันสำปะหลังเพื่อนำมาชั่งน้ำหนัก และเก็บข้อมูลภาพถ่ายมันสำปะหลังในแปลงจากกล้องถ่ายภาพหลายช่วงคลื่น (Multispectral camera) แบบ 5 ช่วงคลื่น (Red, Green, Blue, NIR และ Red edge) ซึ่งติดตั้งบนอากาศไร้คนขับ และได้นำภาพถ่ายมาประมวลและนำข้อมูลในภาพถ่ายไปตัดปัจจัยรบกวนโดยค่าดัชนีพืชพรรณ Excess Green Index (ExG) และวิธี Principal Component Analysis (PCA) และคำนวณค่าดัชนีพืชพรรณ RVI Ratio Vegetation Index (RVI), Chlorophyll indices red edge (Cl red edge), Green Leaf Index (GLI) และพื้นที่การแผ่ของใบ (cm2) หลังจากนั้นจึงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าดัชนีพืชพรรณ RVI, Cl red edge , GLI และพื้นที่การแผ่ของใบ (cm2) กับผลผลิตมันสำปะหลัง ด้วยวิธี Multiple Linear Regression (MLR) ผลการวิเคราะห์พบว่าสมการมีความเป็นไปได้ ที่จะทำนายผลผลิตมันสำปะหลังในแปลงด้วยค่าดัชนี RVI, Cl red edge ด้วยการตัดปัจจัยรบกวนจากดัชนีพืชพรรณ ExG โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การพิจารณาของชุดสร้างสมการ (R2 ) เท่ากับ 0.77 และได้ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดทำนายสร้างสมการ (SEC) เท่ากับ 0.10
The objective of this study was to create an equation for prediction cassava yield and study factors influencing cassava yield. The prediction equation of cassava yields was for studied., Three plots of cassava were collected per month and collected for 4 months with the tapioca root removed for weighing. The images of cassava field were captured using a multispectral camera installed on an unmanned aerial vehicle. The multispectral camera, covered 5 wavebands i.e. Red, Green, Blue, NIR and Red Edge. , After imaging, the vegetation indices including RVI, Cl red edge and GLI and Leaf spreading area were calculated. Correlations between the four indices and actual cassava yield were observed. The results showed that there were a feasibility in prediction cassava yield using the information of RVI, Cl red edge, provided the coefficient of determination (R2) of 0.77 and the Standard error of prediction caribration (SEC) of 0.10รศ.ขวัญตรี แสงประชาธนารักษ์
นางสาวสุชัญญา นามราช
นางสาวณัฐกานต์ สาหร่ายทอง
178AE20-10วิศวกรรมเกษตรผลของความเร็วรอบและเวลาปอกที่มีต่อการปอกเปลือกไข่ไก่ต้มสุก ด้วยเครื่องปอกเปลือกไข่แบบจานหมุน
EFFECT OF ROTATION SPEED AND PEEL TIME OF PEEELING CHICKEN EGGS WITH A ROTARY DISC PEELERการศึกษาผลของความเร็วรอบและเวลาปอกที่มีต่อการปอกเปลือกไข่ไก่ต้มสุกด้วยเครื่องปอกเปลือกไข่ไก่แบบจานหมุน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของความเร็วรอบและเวลาที่มีต่อการปอกเปลือกไข่ไก่ต้ม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบเครื่องกะเทาะเปลือกไก่ไข่แบบจานหมุนต่อไป จากการทดสอบและประเมินสมรรถนะชุดทดสอบการปอกเปลือกไข่ไก่ต้ม ผลการศึกษาสรุปได้คือการศึกษาผลของความเร็วรอบที่ใช้ในการกะเทาะเปลือกไข่ไก่ต้มสุกทำการทดสอบและเก็บข้อมูล ที่ความเร็วรอบ 3 ระดับ คือ 450 550 และ 650 รอบต่อนาที และเวลาที่ใช้ในการกะเทาะ 3 ระดับ คือ 10 20 และ 30 วินาที โดยข้อมูลผลการศึกษา เปอร์เซ็นต์การกะเทาะ พบว่า ที่ความเร็วรอบ 450 550 และ 650 รอบต่อนาที ที่เวลา 10 วินาที มีเปอร์เซ็นต์การการกะเทาะเฉลี่ยคือ 7.33 25.67 และ 23.33 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเร็วรอบ 450 และ 550 รอบต่อนาที ที่เวลา 20 วินาทีมีเปอร์เซ็นต์การการกะเทาะเฉลี่ยคือ 82.33 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเร็วรอบ 450 และ 550 รอบต่อนาที ที่เวลา 30 วินาทีมีเปอร์เซ็นต์การการกะเทาะเฉลี่ยคือ 100 และ 100 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ความเร็วรอบ 650 รอบต่อนาที ที่เวลา 20 และ 30 วินาที วัดเปอร์เซ็นต์การกะเทาะไม่ได้เนื่องจากไข่ไก่ต้มเกิดความเสียหายทั้งฟอง ในขณะที่คุณภาพความเสียหาย พบว่า ที่ความเร็วรอบ 450 550 และ 650 รอบต่อนาที ที่เวลา 10 วินาที มีเปอร์เซ็นต์ความเสียหายเฉลี่ยคือ 0.00 1.00 และ 2.67 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเร็วรอบ 450 และ 550 รอบต่อนาที ที่เวลา 20 วินาที มีเปอร์เซ็นต์ความเสียหายเฉลี่ยคือ 2.33 และ 1.33 เปอร์เซ็นต์ ที่ความเร็วรอบ 450 และ 550 รอบต่อนาที ที่เวลา 30 วินาทีมีเปอร์เซ็นต์ความเสียหายเฉลี่ยคือ 6.67 และ 15.00 เปอร์เซ็นต์ โดยที่ความเร็วรอบ 650 รอบต่อนาที ที่เวลา 20 และ 30 วินาที วัดเปอร์เซ็นต์ความเสียหายได้ 100 เปอร์เซ็นต์เนื่องจากไข่ไก่ต้มเกิดความเสียหายทั้งฟอง
Effect of speed and peeling time on peeling hard boiled chicken eggs using a rotary plate peel machine Objective To study the effect of speed and timing on peeling boiled chicken eggs. To serve as a design guideline for turntable eggshell crackers From the performance test and evaluation of the hard-boiled egg peeling test kit The study results can be summarized as follows The effect of the speed of the cycles used in the shell of hard-boiled chicken eggs was studied and data was collected. At 3 speeds of 450, 550, and 650 rpm, and the time required for 3 levels of cracking was 10, 20, and 30 seconds. It was found that at 450, 550, and 650 rpm at 10 s, the mean shelling percentage was 7.33, 25.67 and 23.33 percent at 450 and 550 rpm at 20 s. 100 percent at 450 and 550 rpm at 30 seconds, the average percentage of cracking was 100 and 100 percent, with 650 rpm at 20 and 30 seconds, the percentage of shelling was not measured due to a hard-boiled egg. Whole bubble damage While the quality of the damage was found at 450 rpm, 550, and 650 rpm at 10 s, the average damage percentage was 0.00 1.00 and 2.67 percent at 450 rpm and 550 rpm at 20 s. The average was 2.33 and 1.33 percent at 450 rpm and 550 rpm at 30 seconds, the average damage percentage was 6.67 and 15.00 percent, with 650 rpm at 20 and 30 seconds measuring 100 percent damage percentage. Because the whole boiled egg is damagedรศ.สมชาย ชวนอุดม
นายธนศาสตร์ ฤทธิ์ทรงเมือง
นายธีรนัย ไชยขันธ์
179AE20-11วิศวกรรมเกษตรการประเมินปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราสดด้วยเทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปคโทรสโคปี
Evaluation of dry rubber content in fresh latex using near infrared spectroscopyการจัดทำโครงงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงเทคนิค NIR spectroscopy ในการวัดค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราและเพื่อสร้างสมการทำนายค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางสดโดยใช้ NIR spectroscopy สำหรับการปรับปรุงและพัฒนาเทคนิค NIR spectroscopy ในการวัดค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางพารา โดยนำ NIR sensor ซึ่งมีช่วงคลื่นตั้งแต่ 860-1750 nm วัดด้วยเทคนิค reflextance mode โดย NIR sensor จะมีแหล่งกำเนิดแสงจากหลอดไฟ Halogen ขนาด 12 โวลต์ ซึ่งช่วงคลื่นจะถูกส่องไปยังน้ำยางพารา โดยน้ำยาพาราจะดูดกลืนคลื่นไว้ และช่วงคลื่นที่ไม่ถูกดูดกลืนจะสะท้อนกับโพรบที่เป็นอะลูมิเนียมกลับไปสู่ Detector หลังจากนั้นจะวิเคราะห์ผลออกมาเป็นสเปคตรัมผ่านทางโปรแกรม Avasoft8 โดยปรับแต่งข้อมูลด้วยเทคนิคทางคณิตศาสตร์ (Pre-treatment) 4 วิธี คือ Raw spectrum, Standard Normal Variate, First derivative และ Second derivative ซึ่งค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าสัมประสิทธิ์การพิจารณาของชุดสร้างสมการ (R2) ค่าสัมประสทธิ์การพิจารณาของชุดทดสอบสมการ (r2) ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดทำนาย (SEP) ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดสร้างสมการ (SEC) ค่าความผิดพลาดเฉลี่ยของชุดทดสอบสมการ (Bias) ผลที่ได้จากการปรับปรุงเทคนิค NIR spectroscopy ในการวัดค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราสามารถประเมินค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราสดได้อย่างทั่วถึงมากขึ้น สำหรับผลการสร้างสมการในการทำนายเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราสดด้วย NIR spectra ที่ระยะห่างระหว่างเซ็นเซอร์กับตัวสะท้อนกลับเท่ากับ 2,4 และ 6 mm ได้ข้อสรุปว่า การสร้างสมการทำนายค่าเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราสดด้วยวิธี Multiple linear regression (MLR) ที่ระยะห่างระหว่าง NIR sensor และตัวสะท้อนกลับที่ 6 mm โดยปรับแต่งข้อมูลด้วยเทคนิค First derivative มี ค่าสัมประสิทธิ์พิจารณาชุดสร้างสมการ (R2) เท่ากับ 0.91ค่าสัมประสิทธิ์พิจารณาชุดทดสอบสมการ (r2) เท่ากับ 0.90 ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดสร้างสมการ (SEC) เท่ากับ 2.50 ค่าความผิดพลาดมาตรฐานของชุดทำนาย (SEP) เท่ากับ 2.43 ค่าความผิดพลาดเฉลี่ยของชุดทดสอบสมการ (Bias) เท่ากับ -1.39
The purpose of this project is to improve the NIR spectroscopy technique for the determination of dry rubber content in latex and to create a prediction equation for the dry rubber content using NIR spectra. NIR spectroscopy for the measurement of the dry rubber content in latex used a NIR sensor with the wavelength range between 860-1750 nm. The NIR sensor was scanned using reflextance mode. Light source was from a 12 Volt Halogen lamp. The measurement was done by shinning halogen light to the latex, after that the NIR sensor then recorded the reflected light using reflextance mode. The spectrum was recorded via Avasoft8. The models were de eloped using multiple linear regression (MLR) with either raw spectra or preprocessed spectra including Standard Normal Variate, First derivative, and Second derivative. The statistical term used as the performance indexes are the determination coefficients of the calibration set (R2), the coefficient of consideration of validation set (r2), the standard error of calibration set (SEC). The standard error of validation set (SEP), and average error of prediction (Bias) The results were obtained from the improved NIR spectroscopy technique in the evaluation of dried rubber content in latex provide a more comprehensive evaluation of the dry content of fresh latex. The NIR spectra obtained from path length of 2,4 and 6 mm were used for model development across Multiple linear regression (MLR). The result found that at the path length of 6 mm with First derivative spectra were the best model, provided R2 of 0.91, r2 of0.90, SEC of 2.50, SEP of 2.43 and bias of -1.39.รศ.เจษฎา โพธิ์สม
นายณัฏฐากร เดชรัตน์
นายกนกพล เเสงเนตร
180AE20-12วิศวกรรมเกษตรสเปกโทรมิเตอร์ราคาต่ำสำหรับประเมินค่าน้ำหนักแห้งในหัวมันสำปะหลังสด
LOW COST SPECTROMETER FOR ESTIMATION OF DRY MATTER IN FRESH CASSAVA TUBERรศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาววันทนีย์ สันทาลุนัย
นางสาวนนทิยา ทิพย์โสต
181AE2003วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยที่ใช้คัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมในการจัดการ การเติมน้ำใต้ดินในบริเวณพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี
Study of Factors for Selecting the Suitability site for Managed Aquifer Recharge in the area of Prachin Buri Provinceผศ.โพยม สราภิรมย์
นายณัฐวัติ ธรรมพิชิตศึก
นายธรรดล คำภาบุตร
182AE2005วิศวกรรมเกษตรการประเมินระบบการเติมน้ำใต้ดินในแปลงอ้อยเพื่อเพิ่มความชื้นในดินและระดับน้ำใต้ดิน
EVALUATION OF GROUNDWATER RECHARGE SYSTEMS IN SUGARCANE PLANTATION TO ENHANCING THE SOIL MOISTURE AND GROUNDWATER LEVELโครงการนี้ศึกษาการประเมินระบบการเติมน้ำใต้ดินในแปลงอ้อยเขตเกษตรน้ำฝน เพื่อเพิ่มความชื้นและระดับน้ำใต้ดินให้สามารถนำน้ำกลับมาใช้ในฤดูแล้ง เพื่อลดความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำที่จะส่งผลต่อผลผลิตอ้อย เนื่องจากสภาพที่อากาศแปรปรวนสูง โดยทำการติดตั้งบ่อเติมน้ำใต้ดิน 40 บ่อ กระจายทั่วทั้งแปลง บ่อเติมน้ำแต่ละบ่อมีความลึกประมาณ 1-3 ม. (ขึ้นอยู่กับความลึกของชั้นหิน) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ม. และบ่อสังเกตการณ์ 3 บ่อ ที่ความลึก 6 ม. 9 ม. และ 16 ม. โดยบ่อสังเกตการณ์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ้ว มีระยะท่อกรอง 1 ม. ในพื้นที่ 16 ไร่ที่อาศัยน้ำจากน้ำฝนเป็นหลัก และทำการเปรียบเทียบผลของความชื้นและระดับน้ำใต้ดินในจุดที่ได้รับอิทธิพลและจุดที่ไม่ได้รับอิทธิพลจากบ่อเติมน้ำใต้ดิน ค่าชี้ผลที่นำมาเปรียบเทียบประกอบด้วยระดับน้ำใต้ดิน และความชื้นที่ระดับ 30 ซม. 100 ซม. และ 150 ซม. จากผิวดิน และ ความสูงและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลำต้นอ้อย จากการติดตามข้อมูลในภาคสนามช่วงเดือน ตุลาคม 2562 ถึงเดือน ตุลาคม 2563 พบว่าระดับน้ำในบ่อเติมน้ำใต้ดินเฉลี่ยทั้งปีที่มีปริมาณที่มากที่สุดเท่ากับ 114 ซม. ส่วนความชื้นในดินที่ระดับ 30 ซม. 100 ซม. และ 150 ซม. ของจุดที่ได้รับอิทธิพลจากการเติมน้ำใต้ดินมีความชื้นมากกว่าจุดที่ไม่ได้รับอิทธิพลจากการเติมน้ำใต้ดินอย่างเห็นได้ชัดในช่วงฤดูแล้ง และจำนวนต้นอ้อย ความสูงและเส้นผ่านศูนย์กลางของอ้อยที่จุดที่ได้รับอิทธิพลจากบ่อเติมน้ำเติมน้ำใต้ดิน และจุดที่ไม่ได้รับอิทธิพลจากบ่อเติมน้ำใต้ดิน ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยจุดที่ได้รับอิทธิพลจากบ่อเติมน้ำเติมน้ำใต้ดิน อ้อยสูงที่สุด 210 ซม. จำนวนต้นมากสุดที่ทำการวัดขนาดการเจริญเติบโตได้อยู่ที่ 61 ต้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ย 20.94 ซม. และจุดที่ได้รับอิทธิพลจากบ่อเติมน้ำใต้ดิน อ้อยสูงที่สุด 243 ซม. จำนวนต้นมากสุดที่ทำการวัดขนาดการเจริญเติบโตได้อยู่ที่ 59 ต้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเฉลี่ยอยู่ที่ 20.19 มม.
This project studies the assessment of groundwater recharge system in sugarcane fields. To increase the humidity and groundwater level so that water can be reused in the dry season. To reduce the risk of water shortage that will affect sugarcane production. Due to high inclement weather By installing 40 groundwater recharge well distributed throughout the plot, the wells have a depth of 1-3 m (depending on the depth of the bedrock), 1 m in diameter, and 3 observation wells at a depth of 6 m, 9 m, and 16 m, with a 3-inch diameter. The study area is 16 rai that mainly rely on rainwater. The results of the humidity and groundwater levels were compared in the affected areas and the non-influenced areas of the groundwater wells. The indications for comparison consisted of groundwater levels. And moisture levels of 30 cm, 100 cm, and 150 cm from the soil surface and the height and diameter of the cane trunk. From the field tracking data from October 2019 to October 2020, it was found that the highest level of the total annual water level in the groundwater pond was 114 cm, while the soil moisture level was 30 cm, 100 cm and 150 cm of a point influenced by groundwater recharge is noticeably more humid than the point that is not significantly influenced by groundwater recharge during the dry season. And the number of sugar cane the height and diameter of the cane at the point influenced by the groundwater recharge wells. And the point that is not influenced by the groundwater recharge wells There was no significant difference. By the point that has been influenced by the water well to fill the groundwater the highest cane was 210 cm. The maximum number of plants measured. Its growth size was 61 trees, the average trunk diameter was 20.94 mm. Sugar cane is 243 cm tall, the highest number of plants measured, its growth size is 59, the average trunk diameter is 20.19 mmผศ.โพยม สราภิรมย์
นายชานนท์ ไทยเทวรักษ์
นายภาคินัย เมืองสอน
183AE2009วิศวกรรมเกษตรการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพจากยางพาราด้วยวิธีไพโรไลซิส
BIOFUEL PRODUCTION FROM RUBBER BY PYROLYSIS METHODงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพจากยางพาราด้วยวิธีไพโรไลซิสเพื่อศึกษาคุณสมบัติของน้ำมันชีวภาพและทดสอบเครื่องยนต์เบื้องต้น ขั้นตอนการทดลองจะเริ่มจากศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของยางพาราก้อน ศึกษาคุณสมบัติของน้ำมันชีวภาพ และทดสอบเครื่องยนต์เบื้องต้น โดยปัจจัยที่ศึกษาคืออุณหภูมิไพโรไลซิสที่ 400 °C , 500°C และ 600 °C ซึ่งการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของยางพาราคือ ความชื้น ความร้อน การสลายตัวทางความร้อน เพื่อประเมินถึงความเป็นไปได้ของการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากยางพารา โดยจากการทอลองหาคุณสมบัติเบื้องต้นของก้อนยางพาราพบว่า ยางพาราก้อนมีความชื้นอยู่ที่ 7.64 %wt มีค่าความร้อนอยู่ที่ 40682 kJ/kg และการสลายตัวทางความร้อนยางพาราเริ่มสลายตัวอย่างรวดเร็วที่อุณหภูมิ 300 °C ทางด้านการศึกษาคุณสมบัติของน้ำมันชีวภาพค่าชี้ผลที่จะใช้ชี้วัดคือ จุดวาบไฟ ความหนืด ความถ่วงจำเพาะ ดัชนีซีเทน ซึ่งค่าที่ผ่านมาตรฐานคือค่าความถ่วงจำเพาะของน้ำมันไบโอดีเซลอยู่ที่ 0.85 ซึ่งอุณหภูมิไพโรไลซิสที่ดีที่ดีสุดคือ 500 °C เนื่องจากได้ปริมาณน้ำมันมันมากที่สุด ในการทดสอบเครื่องยนต์เบื้องต้นของน้ำมันไบโอเบนซินและไบโอดีเซลพบว่า น้ำมันเบนซินสามารถทำงานได้ทั้งรอบต่ำที่ 3800 รอบ/นาที และรอบสูงที่ 5600 รอบ/นาที โดยประสิทธิภาพการทำงานของรอบต่ำดีกว่ารอบสูง น้ำมันดีเซลจะทำงานในรอบต่ำที่ 1200 รอบ/นาที และรอบสูงที่ 2000 รอบ/นาที โดยน้ำมันดีเซลทำงานที่รอบต่ำดีกว่ารอบสูง และการทดลองน้ำมันไบโอดีเซลแบบผสมระหว่างน้ำมันดีเซลและน้ำมันไบโอดีเซลจากยางพาราพบว่า สัดส่วนของน้ำมันไบโอดีเซลแบบผสมที่มีสัดส่วนของน้ำมันไบโอดีเซลจากยางพาราตั้งแต่ 40 เปอร์เซ็นต์ลงมาเครื่องยนต์สามารถทำงานได้อย่างราบรื่น
Objective of this research is to study the production of biofuel from rubber by pyrolysis method to study the properties of bio-oil and to test the engine The experimental process starts from studying the basic properties of lump rubber. Study the properties of bio-oils And preliminary engine testing The factors studied were pyrolysis temperature at 400 ° C, 500 ° C and 600 ° C. The primary properties of rubber were studied, namely moisture, heat, thermal decomposition. To assess the possibility of producing fuel from rubber By weaving, try to find the basic properties of the rubber lump found that The moisture content of the lump rubber is 7.64% wt, the heat value is 40682 kJ / kg, and the thermal degradation of the rubber begins to decompose rapidly at 300 ° C. Indicated is the flash point, viscosity, specific gravity, cetane index, where the standard pass is the specific gravity of biodiesel at 0. 85, where the best pyrolysis temperature is 500 ° C due to the highest oil content. In the preliminary engine testing of biodiesel and biodiesel, it was found that Gasoline can run both low rev at 3800 rpm and high rpm at 5600 rpm, with low cycle performance better than high rev. Diesel will run at low rpm at 1200 rpm and high rpm at 2000 rpm, with diesel running at low rpm better than high rpm. And the experiment of biodiesel blended between diesel oil and biodiesel from rubber found that The proportion of blended biodiesel with the proportion of biodiesel from rubber is 40 percent downward. The engine can run smoothly. And the experiment of biodiesel blended between diesel oil and biodiesel from rubber found that The proportion of blended biodiesel with the proportion of biodiesel from rubber is 40 percent downward. The engine can run smoothlyผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายชลากร ผาสอน
นายพิริยะ ยังพัธนา
184CE2020-01วิศวกรรมโยธาการศึกษาและการออกแบบบ้านลอยน้ำ
Studying and designing of floating houseผศ.ปิยะวัชร ฝอยทอง
นายจิรวัฒน์ ช้อยสระน้อย
นายชัยวัฒน์ สารีวัฒน์
185CE2020-02วิศวกรรมโยธาการเพิ่มประสิทธิภาพการรับแรงดัดของเหล็กรูปพรรณโดยวิธีดัดโค้ง
Enhancing the Flexural Strength of Structural Steel by Bending Methodผศ.ปิยะวัชร ฝอยทอง
นายปัณณวัจน์ เกษแก้วกาญจน์
นายสุทธวีร์ พลอยกิจเจริญ
นายสุธีมนต์ ปาปะแพ
186CE2020-03วิศวกรรมโยธาความสามารถในการถ่ายแรงผ่านจุดต่อระบบสลักเกลียวของโครงสร้างเหล็กขึ้นรูปเย็น
Evaluation of wind resistance performance of small residential structuresรศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายพุฒิพงษ์ ธงภักดิ์
นายสุรภา จอมพุทรา
นายณัฐวัตร ถนัดค้า
187CE2020-04วิศวกรรมโยธาการประเมินความสามารถในการต้านทานแรงลมของอาคารที่พักอาศัยขนาดเล็ก
Evaluation of windresistance performance of small residential structuresรศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายภัคพล หมวดทอง
นายรัตนะ เสาร์แก้ว
นายอัครวิชญ์ บุญโทแสง
188CE2020-05วิศวกรรมโยธาการประเมินความเสียหายของชิ้นส่วนโครงสร้างอาคารที่พักระบบเสาคานคอนกรีตสําเร็จรูปแบบแผ่นเกี่ยวและสลักเกลียวเนื่องจากแรงแผ่นดินไหว
Damage assessment of residential structural memmbers made by precast reinforced concrete beam column with socket and bolting systemรศ.เมธี บุญพิเชฐวงศ์
นางสาวอภิญญา บุญไชยศรี
นางสาวนภัสสร คำตื้อ
189CE2020-06วิศวกรรมโยธาการออกแบบจุดต่อต้านทานแรงแผ่นดินไหว ของโครงสร้างที่พักอาศัย ระบบ เสา คาน คอนกรีตสําเร็จรูปที่ใช้ แผ่นเกี่ยวและสลักเกลียว
Seismic Design of joint for residential structures made by precast reinforced concrete beam – column system with socket and bolting systemรศ.เมธี บุญพิเชฐวงศ์
นายกฤษฎา ราชวงษ์
นายสถาปนา วงศ์บุตร
190CE2020-07วิศวกรรมโยธาการศึกษากำลังรับน้ำหนักเสาเหล็กกลวงเติมคอนกรีตที่จะนำแทนใช้เสาคอนกรีตเสริมเหล็กในอาคารพาณิชย์
Study on Behaviors of CFHS column for replace RC columnsรศ.ณัฐพงษ์ อารีมิตร
นายอิสรพงษ์ ศรีพุทธา
นายกันตินันท์ ดอนจันทร์โคตร
นางสาวชนิสรา ศรีสวัสดิ์
191CE2020-08วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างค้ำยันสำหรับงานขุดลึกในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
An analysis and design of braced cut for deep excavation in Khon Kaen universityอ.ศุภกร ติระพัฒน์
นายพศวัต สุรกุลประภา
นายรุจโอฬาร วงค์ขุนทอง
นายสุรพัชร วังคะฮาต
192CE2020-09วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์และออกแบบกำแพงกันดินไดอะแฟรมสำหรับงานขุดลึกในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
An Analysis and Design of Diaphragm wall for deep excavation in Khon Kaen universityอ.ศุภกร ติระพัฒน์
นายจัตุรัส ยศวิมลโสภา
นายธนาพัฒน์ เศวตอาคเนย์
นายพิเชฐพงศ์ ธรรมะกิตติกร
193CE2020-10วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมของคานคอมโพสิตคอนกรีตเสริมเหล็ก
Behavior of composite RC Beamsรศ.จารึก ถีระวงษ์
นางสาวประภัทสรา อยู่สบาย
นางสาวพรประภา ธัญญะภูมิ
194CE2020-11วิศวกรรมโยธาการใช้เศษเซรามิกในจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์
Use of Ceramic Waste in Geopolymer Mortarศ.วันชัย สะตะ
นางสาวนคนันทินี เวียงคำ
นางสาววิลาสินี ศรีสองเมือง
195CE2020-12วิศวกรรมโยธาการใช้เศษเซรามิกในซีเมนต์ของมอร์ต้าร์
Use of Ceramic Waste in Cement Mortorศ.วันชัย สะตะ
นายธาดาพงษ์ เตชะผล
นายพัฒนวัฒน์ ยี่สารพัฒน์
196CE2020-13วิศวกรรมโยธาจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีเศษเหล็กเป็นส่วนผสม
Geopolymer mortar containing mill scaleผศ.อำพล วงศ์ษา
นางสาวณัฏฐณิชา ทองยอดแก้ว
นางสาวธัญลักษณ์ ห้าวหาญ
นางสาวณัฐฏพัชร์ ดอกจันทร์
197CE2020-14วิศวกรรมโยธาผลกระทบของการแทนที่ทรายด้วยเศษเหล็กที่มีต่อสมบัติของซีเมนต์มอร์ตาร์
The effect of Mill scale replacement on cement mortar propertiesผศ.อำพล วงศ์ษา
นายศุภฤกษ์ ไผ่ล้อม
นายกิตติพิชญ์ เครื่องประดับ
198CE2020-15วิศวกรรมโยธาการหาค่าความชื้นของดินด้วยวิธีต่าง ๆ สำหรับใช้คำนวณ ค่าความหนาแน่นแห้งของดิน
-รศ.พงศกร พรรณรัตนศิลป์
นางสาวชัญญานุช งาดี
นายธีณภัทร ดาเหลา
นางสาวภาวิณี ทองโคตร
199CE2020-16วิศวกรรมโยธาผลกระทบของปริมาณความชื้นและพลังงานการบดอัดต่อค่ากําลังรับน้ําหนักในดินลมหอบ ที่ถูกปรับปรุงด้วยซีเมนต์ด้วยวิธีซีบีอาร์
The effects of moisture content and compaction energy in bearing capacity on loess-cement stabilization by CBR methodผศ.ดลฤดี หอมดี
นายโชคชัย เสวตวงษ์
นายสิรวิชญ์ ด้วงดารา
นายภูดินันท์ ดาวศิริโรจน์
200CE2020-17วิศวกรรมโยธาการวิเคราะห์เสถียรภาพริมตลิ่งด้วยวิธี Limit equilibrium จากกรณีศึกษาล้าน้าแม่น้าพอง บ้านท่าแก อ.เมือง จ.ขอนแก่น
The Slope Stability Analysis by Limit equilibrium method from a case study of Nam-Pong Riverbank at BaanTahGae, Mueng District, Khon Kaen Province.รศ.รัตมณี นันทสาร
นายภานุพงศ์ สมคำศรี
นางสาวศุภรักษ์ อ่อนน้อม
นางสาวสิริยากร ภูโคก
201CE2020-18วิศวกรรมโยธาการศึกษากําลังรับแรงอัดแบบไร้ขอบเขต ของวัสดุหมุนเวียนจากหินคลุกและแอสฟัลต์คอนกรีต
The Study of Unconfined Compressive Strength of Recycle Material ; Crushed Rock and Asphaltic Concreteรศ.รัตมณี นันทสาร
นายกิตติภพ ผลบุญ
นายธนากร แดงบุดดา
นายณัฐธนกฤต สีปานแก้ว
202CE2020-19วิศวกรรมโยธาการสร้างแบบจําลองพฤติกรรมการข้ามถนนของคนเดินเท้า ภายใต้สภาพการจราจรแบบผสม
Modelling pedestrian road crossing behavior under mixed traffic conditionศ.วิชุดา เสถียรนาม
นายธนวิชญ์ เลิศพรประสพโชค
นายนราธิป ไชยพยวน
นายพงศ์พิวัชร์ จันทร์วงษา
203CE2020-20วิศวกรรมโยธาการศึกษาผลจากเส้นแถบความเร็วแบบออปติคอล ต่อผู้ขับขี่ยานพาหนะที่ทางข้าม
Effects of Optical speed Bar Pavement Markings on Vehicle Speed at Cross Walkศ.วิชุดา เสถียรนาม
นางสาวจุฑามาศ คามมะวัลย์
นายศิรวิทย์ สุวรรณรัตน์
นายบุรี บัวเกิด
204CE2020-21วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมการจอดรถจักรยานยนต์ในสี่แยกจราจร
-ศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายกิดากร มูลไชย
นายนิติกานต์ พันธุมบวรรัตน์
นายสิทธิศักดิ์ ศิริพงษ์
205CE2020-22วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมการแทรกตัวของรถจักรยานยนต์ที่ทางแยก
A Study of Motorcycle Maneuver Behavior at Intersectionศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายสรายุทธ ทองผา
นายสุริโยไท ชัยอินทร์
206CE2020-23วิศวกรรมโยธาการศึกษาสัดส่วนผู้ใช้บริการและความพึงพอใจการใช้บริการรถ Shuttle bus ภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
A STUDY OF PROPORTION USERS AND FOR TRAVELING SATISFACTION BY SHUTTLE BUS AT KHON KAEN UNIVERSITYรศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล
นายพลวัต แพงยา
นายดิษฐ์เดชา สิงห์เสนา
นายนัทวีร์ ผางสำเนียง
207CE2020-24วิศวกรรมโยธาการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการพื้นที่สุขภาพของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Study on the satisfaction of people using the health service area of Khon Kaen Universityรศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล
ศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
ศ.วิชุดา เสถียรนาม
นายไชยวัฒน์ คำแสน
นายพัทธดนย์ โคตรเนตร
นายอิศรศักดิ์ ไชยโคตร
208CE2020-25วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนสeหรับถนนที่เปิด ให้บริการแล้วในพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Road Safety Audit for Existing Roads in Khon Kaen Universityศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นางสาวขนิษฐา ดวงบังเกิด
นางสาวกัญญารัตน์ สุโคตร
นางสาวชนภิชา เเสนเมือง
209CE2020-26วิศวกรรมโยธาการออกแบบอาคารเก็บสิ่งของลอยน้ํา กรณีศึกษาตําบลบึงเนียม อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
Design of Floating House A Case Study of Bueng Niam Sub-district, Mueang District, Khon Kaen Provinceรศ.เฉลิมชัย พาวัฒนา
นายอดุลย์เดช ขันมา
นายนิติภูมิ อ่อนสะอาด
210CE2020-27วิศวกรรมโยธาแบบจำลองระบบภูมิอากาศของโลกที่เหมาะสมสำหรับการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคตของลุ่มน้ำเชิญ
Suitable Global Climate Models for Climate Change Projection in the Choen River Basinรศ.กิตติเวช ขันติยวิชัย
นายกษม ดำริห์
นายวรากรณ์ วรลักษณ์
211CE2020-28วิศวกรรมโยธาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ ประโยชน์ที่ดินต่อปริมาณน้ําท่าในเขตพื้นที่ลุ่มน้ําเชิญ
The Impact of Climate and Land Use Changes on Runoff in the Choen River Basinรศ.กิตติเวช ขันติยวิชัย
นายกฤศ นิละกุล
นายกิตติรวิชญ์ คิดอ่าน
นายชาติชาย มีพรหม
212CE2020-29วิศวกรรมโยธาการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาหุ่นยนต์ สําหรับงานปูกระเบื้อง
A Feasibility Study of Floor Tile Laying Robot Developmentรศ.กอปร ศรีนาวิน
นางสาวชัญญา ชะนะเคน
นางสาวจารุวรรณ ขอจงสุข
นางสาวพานทองคำ โล่ห์สกุล
213CE2020-30วิศวกรรมโยธาการศึกษาศักยภาพของสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินต่อจํานวนผู้ใช้งาน กรณีศึกษา สถานีเตาปูน โดยใช้โปรแกรม PTV viswalk
The study of potentiality of Taopoon subway station by PTV viswalkรศ.กอปร ศรีนาวิน
นายเจษฎาวุฒิ บุญหลาย
นายนวรัฐ วรรณดี
นายนพณัฐ สุพันธะ
214CE2020-31วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงการด้วยระบบจําลอง สารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling :BIM)
Progress Monitoring Project with Building Information Modelingผศ.พีร์นิธิ อักษร
นายสุทธิกานต์ เตชะ
นายพัฒนาพงศ์ งอสอน
นายทิษฏิพงษ์ อุดมลิ้มสุขศิริ
215CE2020-32วิศวกรรมโยธาการสร้างแบบจําลอง 3 มิติของอาคารวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Arc GIS and Digital Earth for Environmental Engineering Building 3D Modellingรศ.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
นายกร เรืองชยจตุพร
นายก้องภพ จิตขาว
นางสาวกชกร สิทธิจินดา
216CE2020-33วิศวกรรมโยธาการลดความถูกต้องของจีเอ็นเอสเอสโดยชั้นเรือนยอดของ ต้นไม้ในสภาวะแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Degradation of GNSS accuracy by tree canopy under the environment of Khon Kaen Universityอ.สุรัตน์ ประมวลศักดิกุล
นายเขมนันท์ บัวทองจันทร์
นายนิติพงษ์ จันทร์สนิทศรี
นางสาวอภิญญา แก้วอรุณ
217CE2020-34วิศวกรรมโยธาการศึกษาผลกระทบของสัญญาณหลายเส้นทางต่อความถูกต้อง ของจีเอ็นเอสเอสภายใต้สภาวะแวดล้อมภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Effect of GNSS multipath on accuracy under the environment of Khon Kaen Universityอ.สุรัตน์ ประมวลศักดิกุล
นางสาวกุลธิดา นันทยศ
นางสาวณัฐพร รินสันเทียะ
นางสาวน้ำทิพย์ คำแสน
218CE2020-35วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนบริเวณวงเวียนใกล้หอพัก 16 ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Road Safety Audit at the roundabout near the dormitory 16 in Khon Kaen Universityศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นายเชี่ยวชาญ ภูหงษ์
นายภูริเดช สิมมาหลวง
นายวงศธร บุญสุชาติ
219CE2020-36วิศวกรรมโยธาการออกแบบอาคารต้านทานแรงเนื่องจากแผ่นดินไหวและแรงลม: กรณีศึกษาอาคารสูง 23 เมตร
Design of Wind Load and Earthquakes Resistant Buildings: The CaseStudy of Buildings with23 Meters in Heightศ.วีระ หอสกุลไท
นายอิทธิพล พิมพ์กลาง
220CE2020-37วิศวกรรมโยธาผลกระทบของปริมาณความชื้นต่อกำลังรับแรงอัดจากการเตรียมตัวอย่างดินซีเมนต์บดอัด แบบสถิตย์และแบบพลวัต
THE EFFECT OF MOISTURE CONTENT ON UNCONFINED COMPRESSIVE STRENGTH OF STATIC AND DYNAMIC COMPACTED SOIL-CEMENT SPECIMENS.ผศ.ดลฤดี หอมดี
นายอดิเทพ ดาวสุริยการ
221ChE2020-01วิศวกรรมเคมีการผลิตกระแสไฟฟ้าจากกระบวนการบำบัดน้ำปัสสาวะด้วยเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพแบบไหลขึ้น
The generation of electricity from treating urine by using up-flow Microbial Fuel Cellงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเพิ่มการผลิตไฟฟ้าให้กับให้กับเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพแบบไหลขึ้น โดยทำการกำหนดอัตราการไหลเข้าของน้ำปัสสาวะและหาอัตราการบำบัดน้ำปัสสาวะกับการผลิตไฟฟ้า ในงานนี้เป็นศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าอย่างต่อเนื่อง พบว่าในการป้อนน้ำปัสสาวะเข้าเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพแบบไหลขึ้นด้วยอัตราการไหลที่น้อยจะสามารถช่วยลดความต้านทานภายในได้ เนื่องจากอิเล็กตรอนจากการย่อยสลายจากสารอินทรีย์ที่ห้องแอโนดไม่ถูกรบกวนจากกระแสการไหลของน้ำปัสสาวะมากนักจึงช่วยลดการสูญเสียอิเล็กตรอนในขั้นตอนต่างๆของกระบวนขนส่ง จากการทดลองพบว่า ที่อัตราการไหล 5, 10 และ 20 ลิตรต่อวัน มีค่าความต้านทาน ภายใน 27.073, 31.153 และ 37.808 โอห์มตามลำดับ นอกจากนี้เซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพที่มีความต้านทานภายในมีแนวโน้มที่จะสามารถผลิตกำลังไฟฟ้าได้มากขึ้นโดยให้กำลังไฟฟ้าสูงสุดที่ 2,374, 1,646 และ 1,057 มิลลิวัตต์ต่อตารางเมตร ตามลำดับ และจากการศึกษายังพบอีกว่าเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพแบบไหลขึ้นสามารถบำบัดไนโตรเจนได้โดยเท่ากับ 6.11, 2.9 และ 1.68 มิลลิกรัมต่อชั่วโมง ซึ่งจะเห็นได้ว่าเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพสามารถผลิตไฟฟ้าได้ถ้ามีการป้อนน้ำปัสสาวะอย่างต่อเนื่อง
This research is a study of increasing the production of electricity to the up-flow Microbial Fuel Cells (MFCs). By determining the flow rate of urine and the rate of urinary treatment for electricity production. In this work, a study on the continuous enhancement of power generation was found that in the low flow rate upward flow of the urine into the MFC can reduce the internal resistance. Since the electrons from organic degradation at the anode chamber are not greatly disturbed by the urinary current flow, so this reducing the electron loss at different stages of the transport process. From the experiment, it was found that at the flow rates of 5, 10 and 20 liters per day have resistance values 27.073, 31.153 and 37.808 ohms, respectively. Moreover, the low internal resistant MFC tends to produce more power, with a maximum output of 2,374, 1,646 and 1,057 milliwatts per square meter, respectively, and the study also found that up-flow MFCs treated nitrogen at 6.11, 2.9 and 1.68 mg/h. It can be seen that MFCs produced electricity continuously as long as the supply of urine.รศ.กันยรัตน์ โหละสุต
รศ.กันยรัตน์ โหละสุต
นางสาวธนัชชา ภูไกรลาศ
นางสาวธนัชชา ภูไกรลาศ
นางสาววัณณิตา เก้าเกศเกียรติกุล
นางสาววัณณิตา เก้าเกศเกียรติกุล
222ChE2020-02วิศวกรรมเคมีการศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมของการสังเคราะห์ถ่านชีวภาพจากกากตะกอนกระดาษ ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล คาร์บอนไนเซชั่น
Optimization of Hydrochar synthesis from paper-sludge via hydrothermal carbonization processในปัจจุบันชีวมวลเป็นแหล่งสำหรับผลิตเชื้อเพลิงที่ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าซึ่งมีอยู่อย่างจำกัด ส่งผลให้เกิดความขาดแคลนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตพลังงาน ในงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตเชื้อเพลิงแข็ง จากกากตะกอนกระดาษ ผ่านกระบวนการไฮโดรเทอร์มอล คาร์บอนไนเซชั่น (HTC) โดยหาสภาวะที่เหมาะสมและศึกษาอิทธิพลของ 3 ปัจจัย ได้แก่ อุณหภูมิ (X1, 200-220 ˚C) เวลา (X2, 2-6 h) และอัตราส่วนโดยมวลระหว่างน้ำต่อกากตะกอน (X3, 16-20) ในถังปฏิกรณที่มีปริมาตร 200 ml ออกแบบการทดลองโดยใช้ Box-Behnken Design (BBD) ผลิตภัณฑ์ที่ได้ถูกวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพและทางเคมี ได้แก่ การวิเคราะห์เชิงประมาณ (Proximate analysis) การวิเคราะห์ปริมาณธาตุ (Ultimate analysis) ร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์ (%Yield) ค่าความร้อนสูงสุด (HHV) และอัตราส่วน O/C และ H/C ค่าตอบสนองของการออกแบบการทดลองคือ ร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์ และ ความหนาแน่นของพลังงาน (ED) ผลการทดลองพบว่าชุดทดลองทั้ง 15 ชุดไม่พบความผิดพลาดอย่างมีนัยสำคัญและสอดคล้องกับค่า Lack-of-fit (LOF) ที่แสดงถึงความไม่มีนัยสำคัญ ดังนั้นสามารถสรุปได้ว่าชุดทดลองทั้ง 15 ชุดมีความถูกต้องและความแม่นยำ โดยมีค่า R2 เท่ากับ 98.64% และ 93.47% ซึ่งเป็นผลของร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์และความหนาแน่นพลังงาน ตามลำดับ พบว่าอุณหภูมิและเวลาส่งผลอย่างมีนัยสำคัญในเชิงลบต่อร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์ ในขณะที่ส่งผลเชิงบวกต่อความหนาแน่นพลังงาน พบว่าในเทอมของ linear มีนัยสำคัญ ถึงแม้ว่าในเทอม Square และ Interaction จะไม่มีนัยสำคัญ แต่อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาตัวแปรเฉพาะในแต่ละเทอม พบว่าในเทอม Square ตัวแปร X32 ของร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์ และตัวแปร X12 ของความหนาแน่นพลังงานเป็นตัวแปรที่มีนัยสำคัญ เช่นเดียวกันกับในเทอม Interaction ที่มีตัวแปร X1X3 ของความหนาแน่นพลังงานเป็นตัวแปรที่มีนัยสำคัญ การนำกากตะกอนกระดาษมาสังเคราะห์เป็นไฮโดรชาร์ สามารถเพิ่มร้อยละปริมาณคาร์บอนคงตัวและค่าความร้อนสูงสุดถึง 34.55% และ 20% ตามลำดับ เมื่อเทียบกับกากตะกอนกระดาษเริ่มต้นและ พบว่าสามารถเปลี่ยนกากตะกอนกระดาษที่มี O/C เท่ากับ 0.75 และ H/C เท่ากับ 1.86 ที่อยู่นอกช่วงของการเป็นชีวมวลให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ไฮโดรชาร์ที่มี O/C เท่ากับ 0.67 และ H/C เท่ากับ 1.31 ซึ่งมีคุณสมบัติเข้าใกล้ช่วงของถ่านหินพีท สุดท้ายเมื่อให้น้ำหนักของความหนาแน่นพลังงานเป็น 2 เท่าของร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์ สภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ไฮโดรชาร์คือ 220˚C, 3.45 h ที่อัตราส่วนระหว่างน้ำต่อกากตะกอนที่ 20 โดยให้ค่าร้อยละผลผลิตไฮโดรชาร์เท่ากับ 53.19 และให้ความหนาแน่นพลังงานเท่ากับ 1.27
Nowadays, the limitations of biomass used as solid fuel have been occurred, therefore, the amount of biomass is not satisfactory to produce electricity in biomass power plant. The aim of this work was focused on solid biofuel production from paper-sludge from wastewater treatment process by using hydrothermal carbonization (HTC) process. The suitable condition and effect of independent variables including reaction temperature (X1, 200-220˚C), reaction time (X2, 2-6 h) and liquid/solid mass ratio (X3, 16-20) in 200ml batch reactor were examined. The experiment was designed by BoxBehnken Design (BBD) as a one of the designs of experiment (DOE). The physical and chemical properties of hydro-char were investigated such as proximate analysis, ultimate analysis, high heating value (HHV), O/C and H/C ratio. The yield (%) and energy densification were used as responding variables. The results of both responses were not found the significant errors in every run-order, which were according to Lack-of-fit results. Therefore, all results can be confirmed the accuracy and the precision of experimental results of both yield (%) and energy densification responses. The R2 were 98.64% and 93.47% for yield (%) and energy densification, respectively. The main effects of reaction temperature and time were significant on both responses. In addition, both factors were shown in negative effect on yield (%), whereas they were displayed in positive effect on energy densification. Although, the square and interaction terms were insignificant on yield (%) and energy densification responses. The square terms of liquid/solid mass ratio and reaction temperature were significant on yield (%) and energy densification responses, respectively. The interaction term was significant only reaction temperature with liquid/solid ratio on energy densification. HTC of paper-sludge from wastewater treatment process increased the amount of fixed-carbon and the high heating value (HHV), comparing with raw material, about 34.55% and 20%, respectively. In addition, this process can decrease O/C 0.75 and H/C 1.86 of paper-sludge 0.67 and 1.31, respectively. This process can change property of paper-sludge as outer biomass range to hydro-char as nearly peat range. The suitable condition of HTC process, when the weight importance for energy densification was 2 time of yield (%), was reaction temperature about 220˚C, reaction time about 3.45 h and liquid/solid ratio about 20, which gave the yield and energy densification about 53.19% and 1.27, respectively.รศ.กิติโรจน์ หวันตาหลา
นายคีตาญชลี ผาสิน
นางสาวภูริตา บุญมา
223ChE2020-03วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์กรดลิวูลินิกด้วยวิธีไฮโดรเทอร์มอล
Synthesis of Levulinic acid by hydrothermal processกรดลีวูลินิกเป็นสารตั้งต้นที่มีศักยภาพในการนำมาใช้ทดแทนปิโตรเลียมที่ส่วนที่เป็นเคมีภัณฑ์และเชื้อเพลิง โดยทั่วไปกรดลีวูลินิกพบในน้ำมันดิบจากแหล่งธรรมชาติซึ่งมีจำนวนลดลง อย่างไรก็ตามกรดลีวูลินิกสามารถผลิตได้จากชีวมวล การนำชีวมวลมาผ่านกระบวนการทางเคมีความร้อนสามารถเปลี่ยนโครงสร้างน้ำตาล เป็นกรดลีวูลินกได้ ดังนั้นในโครงงานนี้จึงมีแนวคิดในการนำน้ำตาลจากชีวมวลนั่นคือ น้ำอ้อยจากต้นอ้อย น้ำตาลทรายดิบซึ่งเป็นผลผลิตจากน้ำอ้อย และน้ำตาลสกัดจากใบอ้อยที่เป็นของเสียใบอ้อย มาใช้เป็นแหล่งน้ำตาล โดยใช้กระบวนการทางเคมีความร้อนที่มีกรดซัลฟุริกเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อสังเคราะห์กรดลีวูลินิก โดยศึกษาผลของอุณหภูมิที่ 170 185 และ 200 องศาเซลเซียส เวลาทำปฏิกิริยาที่ 1 3 และ 5 ชั่วโมง และความเข้มข้นของกรดซัลฟูริกที่ 0.1 0.2 และ 0.3 โมลต่อลิตร ต่อปริมาณกรดลีวูลินิกที่ผลิตได้ พบว่าให้ผลผลิตกรดลีวูลินิกสูงที่สุดที่ร้อยละ 8.5 ร้อยละ 3.9 และร้อยละ 4.8 เมื่อใช้น้ำตาลทรายดิบ น้ำอ้อยและ น้ำตาลสกัดจากใบอ้อย เป็นสารตั้งต้นตามลำดับ ที่อุณหภูมิ 170 องศาเซลเซียส เวลา 5 ชั่วโมง และความเข้มข้นของกรดซัลฟูริกอยู่ที่ 0.2 โมลต่อลิตร นอกจากนี้พบว่ามีกรดฟอร์มิกและ เป็นผลพลอยได้ ซึ่งเป็นเคมีภัณฑ์ที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตพลาสติก กระบวนการเคมีความร้อนเป็นกระบวนการที่ง่ายและใช้เวลาในการผลิตกรดลีวูลินิกสั้น อีกทั้งยังสามารถผลิตได้จากชีวมวล จึงเป็นทางเลือกในการนำไปใช้ผลิตเคมีภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงได้
Levulinic acid is a potent precursor to replace petroleum in chemicals and fuels. Levulinic acid is typically found in crude oil from natural sources, which is now depleting. However, levulinic acid can be produced from biomass. Using biomass through thermal chemical processes can transform the sugar structure into levulinic acid. Therefore, in this project, the concept of taking sugar from biomass, that is, Sugarcane juice from sugar cane Raw sugar, which is a product of cane juice and sugar extracted from sugar cane leaves that are waste sugar cane leaves to be used as a sugar source. Using a thermal chemical process with sulfuric acid as a catalyst. To synthesize levulinic acid the effects of temperature at 170 185 and 200 degrees celsius were studied, reaction times at 1 3 and 5 hours and sulfuric acid concentrations at 0.1 0.2 and 0.3 mol / l. It was found that the highest yield of levulinic acid was 8.5%, 3.9% and 4.8% when using raw sugar, cane juice and sugar extracted from sugar cane leaves was the substrate, respectively, at 170 ° C for 5 h and the sulfuric acid concentration was 0.2 mol / l. In addition, it was found to contain formic acid as a by-product which is a chemical used as a precursor to plastics production. The thermal chemical process is simple and short process to produce levulinic acid. It can be produced from biomass. It is therefore an alternative to use in producing high-value chemical.รศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวจิรวรรณ สายธนู
นางสาวนันทิยา ยืนยาว
224ChE2020-04วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์นาโนคอมโพสิตไฮโดรเจลแบบเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจาก เจลว่านหางจระเข้/คาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลส/กรดแทนนิก/ซิลเวอร์นาโน สำหรับการประยุกต์ใช้ทางชีวการแพทย์
Green synthesis of nanocomposite hydrogel from aloe vera gel/sodium carboxymethyl cellulose/tannic acid/nano silver for biomedical applicationวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลได้รับความสนใจอย่างมากเนื่องจากสามารถประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่นการดูดซึมของเหลวในร่างกาย ยับยั้งเชื้อก่อโรค และเร่งการรักษาผิวหนัง ปัจจุบันวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลทางการค้ามีราคาสูง เนื่องจากวัสดุที่ใช้ในการผลิตส่วนมากนิยมใช้พอลิเมอร์สังเคราะห์ ดังนั้นในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒนาวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลจากพอลิมอร์ที่ได้จากธรรมชาติ เพื่อให้วัสดุที่มีต้นทุนต่ำและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเตรียมวัสดุปิดแผลไฮโดรเจลนาโนคอมโพสิต จากว่านหางจระเข้/คาร์บอกซิเมทิลเซลลูโลส (CMC)/กรดแทนนิก (TA)/ซิลเวอร์ นาโน ว่านห่างจระเข้ทำหน้าที่เป็นสารรีดิวซ์ในการสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโน (AgNPs) ตัวกลางในการสังเคราะห์ (Reducing agent) โดยใช้วิธีการกระตุ้นด้วยรังสี UV-A สำหรับ TA ทำหน้าที่เป็นสารเชื่อมขวางและเพิ่มเสถียรภาพในการกระจายตัวให้กับ AgNPs โดยศึกษาที่ความเข้มข้น 0 - 1.5%w/v จากผลการทดลองพบว่า AgNPs ในไฮโดรเจลนาโนคอมโพสิตมีโครงสร้างผลึกแบบลูกบาศก์ ความสามารถในการต้านเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus (S. aureus) และ Escherishia coli (E. coli) ของไฮโดรเจลนาโนคอมโพสิตพบที่ TA 0.5%w/v โดยไฮโดรเจลนาโนคอมโพสิตที่มีทั้ง AgNPs และ TA แสดงการเกิดงานร่วมในการต้านเชื้อแบคทีเรีย
Hydrogel wound dressing material has been wildly used because of its many benefits such as the absorption of fluids in the body, inhibit pathogens and accelerate the healing of the wound. Today, commercial hydrogel dressings are expensive due to synthesized from a synthetic polymer. Therefore, in this research, we focus on the development of a natural polymer hydrogel for wound dressing to provide low-cost and eco-friendly materials. Hydrogel nanocomposite was prepared from aloe vera gel / carboxymethyl cellulose (CMC) / tannic acid (TA) / silver nano. Aloe vera gel acts as a reducing agent in the synthesis of silver nanoparticles (AgNPs) via UV-A irradiation. TA at 0 – 1.5%w/v, act as a crosslinking agent and increasing the dispersion stability of AgNPs. The results showed that AgNPs in hydrogel nanocomposite had a face-centered cubic structure. The inhibition of Staphylococcus aureus (S. aureus) and Escherichia coli (E. coli) were found at TA 0.5% w/v containing both of AgNPs and TA showing a synergistic effect for antibacterial.รศ.พรนภา เกษมศิริ
นายชโลธร เจริญสูงเนิน
นางสาวณัฐกานต์ เจริญไทย
225ChE2020-05วิศวกรรมเคมีการหาองค์ประกอบที่เหมาะสมแบบตอบสนองหลายรูปแบบของตัวนำส่งยาจากเมื่อกเม็ดแมงลักที่มีอนุภาคเหล็กด้วยวิธีการทากูชิร่วมกับการวิเคราะห์แบบเกรย์
Multi response optimization of drug carrier based on basil seeds mucilage containing magnetic particles using Taguchi’s method and Grey relational analysisระบบนำส่งยารูปแบบเดิมส่วนใหญ่มาพร้อมกับผลข้างเคียงและมียังมีข้อเสียในเรื่องการย่อยสลายหรือสารตกค้างของยาในกระเพาะอาหาร ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีการออกแบบและพัฒนาระบบนำส่งยารูปแบบใหม่ (drug delivery systems , DDS) เพื่อลดผลข้างเคียงและเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งยา โดยไฮโดรเจลจากโพลีเมอร์ธรรมชาติเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้สามารถเข้ากันได้ดีกับร่างกายมนุษย์และไม่เป็นพิษ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางและได้รับความสนใจอย่างมากในการนำมาประดิษฐ์เป็นตัวนำส่งยา งานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของเม็ดไฮโดรเจลเป็นตัวนำส่งยามีการใช้เมือกเมล็ดแมงลัก (BSM) โซเดียมอัลจิเนต (SA) และอนุภาคแม่เหล็ก (MPs) ในการเตรียมเม็ดไฮโดรเจลซึ่งได้สัดส่วนการผสมที่เหมาะสมที่สุดโดยใช้วิธีของ Taguchi และการวิเคราะห์เชิงสัมพันธ์แบบเกรย์ สามปัจจัยในสี่ระดับได้แก่ BSM, SA และ MPs ได้รับการออกแบบโดยอาร์เรย์มุมฉาก L16 โดย SA เป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบรรจุยา (DL) และการควบคุมการปลดปล่อยยาในขณะที่ MPs เป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อการปลดปล่อยยาที่ค่า pH 7.4 และ BSM เพิ่มประสิทธิภาพการบวมน้ำ (Swelling) ของเม็ดไฮโดรเจลอีกทั้งยังสามารถต้านอนุมูลอิสระได้ ผลที่ได้จากการวิเคราะห์เชิงสัมพันธ์แบบเกรย์ แสดงให้เห็นว่าสัดส่วนการผสมที่เหมาะสมคือ อนุภาคแม่เหล็กร้อยละ (MPs) 2.25 vol, เมือกเมล็ดแมงลัก (BSM) ร้อยละ 0.8 vol และโซเดียมอัลจิเนต (SA) ร้อยละ 0.2 vol จากผลการวิจัยนี้พบว่าเม็ดไฮโดรเจลที่ใช้ MPs / BSM / SA มีความสามารถใช้เป็นวัสดุทดแทนในการปลดปล่อยยาที่ควบคุมด้วยค่า pH สำหรับระบบนำส่งยาเฉพาะลำไส้ใหญ่ คำสำคัญ: เม็ดบีดส์ไฮโดรเจล การออกแบบการทดลองแบบทากูชิ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเกรย์
The conventional drug delivery systems are mainly accompanied side effects and has disadvantage of gastric degradation. Therefore, design and development of new drug delivery systems are needed for decrease side effects and increase the efficacy of drug delivery. Hydrogel from natural polymer is biodegradable, compatible, and non-toxic materials which have attracted much attention to fabricate drug carriers. The objective of this work is to study efficiency of hydrogel beads as drug carrier. Basil seeds mucilage (BSM), Sodium alginate (SA) and Magnetic particles (MPs) were used to prepare hydrogel beads which were optimized mix proportions using Taguchi’s method and Grey relational analysis. Three factors i.e. BSM, SA, and MPs at four levels were design by L16 orthogonal arrays. SA was the main factor influencing Control of drug release at different pH and Increased Drug Loading whereas MPs increased Drug release at pH 7.4 and BSM increased swelling property. And it also has antioxidant property as well. The obtained result from grey relational analysis indicated that the optimal mix proportion was 2.25 vol% MPs, 0.8 vol% BSM and 0.2 vol% SA.Based on the findings of this work, the hydrogel beads based MPs/BSM/SA could have a potential to be used as an alternative material in pH-controlled release for colon-specific drug delivery systems. Key words: Hydrogel beads Taguchi’s method Grey relational analysisรศ.พรนภา เกษมศิริ
นางสาวกรภัทร จิโรชรภัส
นางสาวเณศราพร ขวัญเสน่ห์
226ChE2020-06วิศวกรรมเคมีปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของดี-กลูโคส ไปเป็นซอร์บิทอลบนตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียมที่มีตัวรองรับประเภทออกไซด์
Hydrogenation of D-glucose into sorbitol over Ru supported on oxide-based materialsงานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียมบนตัวรองรับประเภทออกไซด์ในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันของดี-กลูโคสไปเป็นซอร์บิทอลเพื่อเปรียบเทียบตัวรองรับที่มีประสิทธิภาพสูงสุดและผลของตัวเร่งปฏิกิริยาต่อการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาที่สังเคราะห์ได้แก่ Ru/ZSM-5 Ru/Beta- zeolite และ Ru/AI2O3 โดยวิธีการฝังเคลือบแบบเปียกและรีดิวซ์ด้วยไฮโดรเจน จากนั้นนำมาทดสอบการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชันโดยดำเนินการด้วยเครื่องปฏิกรณ์แบบกะภายใต้เงื่อนไขอุณหภูมิที่ 130 °C ความดัน 50 bar และระยะในการทำปฏิกิริยา 4 ชั่วโมงซึ่งการวิเคราะห์คุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้เทคนิค N2 adsorbtion NH3-TPD และ SEM จากการทดสอบปฏิกิริยาพบว่าเมื่อเติมรูทีเนียมลงบนตัวรองรับทำให้เกิดซอร์บิทอลและตัวเร่งปฏิกิริยา Ru/ZSM-5 มีประสิทธิภาพมากที่สุดโดยมีค่าร้อยละผลได้80.27 เนื่องจากตัวรองรับ ZSM-5 มีความเป็นกรดที่เหมาะสมดังนั้น Ru/ZSM-5 มีประสิทธิภาพสูงในการเปลี่ยนกลูโคสไปเป็นซอร์บิทอลในปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน คำสำคัญ : ปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน, ดี-กลูโคส, ซอร์บิทอล, รูทีเนียม, ตัวรองรับประเภทออกไซด์
In this research, hydrogenation of D-glucose into sorbitol over Ru supported on oxide-based materials was studied to compare the most effective support and the effect of the catalyst on the hydrolysis of d-glucose reaction. Ru/ZSM-5, Ru/H-Beta zeolite, and Ru/AI2O3 catalysts were prepared by wet-impregnation and hydrogen-reducing. The catalytic performances of catalysts were performed in a batch reactor at the temperature of 130 ° C and an initial hydrogen pressure of 50 bar for 4 h. The catalyst properties were analyzed using N2-adsorption, NH3-TPD techniques, and SEM techniques. The results showed that the presence of ruthenium yield sorbitol with high conversion of D-glucose. The Ru/ZSM-5 catalyst was the most effective, with a high percentage yield of 80.27 due to the proper acidity of the ZSM-5 support. Thus, it was an active catalyst for the hydrogenation of d-glucose to sorbitol. Keywords: hydrogenation; D-glucose; sorbitol; ruthenium; oxide-based supportรศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นายจิรวัฒน์ จงประสพทรัพย์
นางสาวจุรีวรรณ คำมา
นางสาวอุมาภรณ์ จันทรประทักษ์
227ChE2020-07วิศวกรรมเคมีการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ด้วยปฏิกิริยาเฟนตันร่วมกับการใช้พลังงานแสงโดยการออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน
Photo-assisted Fenton reaction for degradation of Methyl Orange via Box-Behnken Designงานวิจัยนี้ศึกษาการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ด้วยปฏิกิริยาเฟนตันร่วมกับการใช้แสง โดยใช้ Fe3O4/TiO2 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาโดยสังเคราะห์ด้วยวิธีเคลือบฝังแบบเปียก (Impregnation method) และทำการวิเคราะห์คุณสมบัติทางสัญฐานวิทยา โดยใช้เครื่องมือวิเคราะห์ดังนี้ XRD, FE-SEM & EDS Mapping, UV-DRS, N2 adsorption-desorption และ XAS จากนั้นหาสภาวะที่เหมาะสมโดยใช้วิธีพื้นผิวตอบสนอง (Response Surface Methodology, RSM) และออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์ - เบห์นเคน โดยศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ 3 ปัจจัยดังนี้ ค่าpH ปริมาณตัวเร่งปฏิกริยา และปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ซึ่งทำการทดลองโดยใช้ความเข้มข้นเริ่มต้นของสีย้อมคือ 25 mg/L โดยมีปริมาตร 100 ml และทำนายได้ว่าข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์นั้นมีความน่าเชื่อถือ (R2=0.99) ซึ่งสามารถทำนายประสิทธิภาพการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ได้ร้อยละ 99.2 โดยมีสภาวะที่เหมาะสมของปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยา Fe3O4/TiO2 คือ 0.3 กรัม ปริมาณไฮโดนเจนเปอร์ออกไซด์ (H2O2) คือ 654 L และค่า pH 3.34 จากการศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกริยาที่เกิดขึ้นนั้น แสดงให้เห็นว่าการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์นั้นเป็นปฏิกิริยาเทียมอันดับสอง (pseudo-second-order reaction) ที่มีค่าคงที่ปฏิกริยาคือ 1.1895 min-1 เมื่อนำตัวเร่งปฏิกิริยามาทดสอบการใช้ซ้ำจำนวน 4 ครั้งแล้วประสิทธิภาพการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ลดลงจากร้อยละ 92.52 เป็นร้อยละ 77.45 ดังนั้นอาจบอกได้ว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่เตรียมได้นั้นมีประสิทธิภาพสูงในการสลายสีย้อมเมทิลออเรนจ์ สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้จำนวนหลายครั้งแล้วยังให้ประสิทธิภาพที่สูงดังนั้นจึงเลือกใช้ตัวเร่งปฏิกิริยานี้ในการสลายสีย้อม คำสำคัญ: ปฏิกิริยาโฟโตเฟนตัน , สีย้อมเมทิลออเรนจ์ , การออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเคน , Fe3O4/TiO2
This research studied the degradation of methyl orange dye by photo-Fenton reaction using Fe3O4 / TiO2 as a catalyst prepared from the impregnation method and characterized using XRD, FE-SEM & EDS Mapping, UV-DRS, N2 adsorption-desorption, and XAS. Response Surface Methodology (RSM) in combination with Box-Behnken Design (BBD) was used to optimize the catalyst dose, hydrogen peroxide (H2O2), and pH value for the degradation of methyl orange dye. All experiments were carried out using 100 ml of solution with an initial methyl orange dye concentration of 25 mg/L. Predicted the degradation of methyl orange dye was found to be in good agreement with the experimental data (R2=0.99). Based on response surface methodology, the model predicted the degradation efficiency up to 99.2% under the following conditions 0.3 g Fe3O4 / TiO2, hydrogen peroxide (H2O2) content of 654 μL, and pH 3.34. The results also showed that the degradation of methyl orange could be described by the pseudo-second-order reaction rate constant of 1.1895 min-1. It should be noted that the efficiency of methyl orange decay decreased from 92.52% to 77.45% by four cycles of catalyst tests. Therefore, the prepared catalyst has high dissolution efficiency of methyl orange dye and can be reused many times with high efficiency. This catalyst is a candidate for the decolorization of dye. Keywords: Photo-Fenton reaction , Methyl orange dye , Box-Behnken Design , Fe3O4/TiO2รศ.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์
นางสาวชนากานต์ ปานมะเริง
นายจาตุรงค์ พรมแพน
นางสาวภัสสร วิทย์ปัญญาเลิศ
228ChE2020-08วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์ขั้วนิกเกิล-โพลีอะนิลีนเพื่อใช้ในกระบวนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า
Ni-Polyaniline electrocatalysts for alkaline water electrolysisการผลิตไฮโดรเจนด้วยกระบวนการ Alkaline Water Electrolysis ซึ่งเป็นกระบวนการแยกน้ำโดยใช้ไฟฟ้าซึ่งมีสารละลายอิเล็กโทรไลต์เป็นสารละลายเบสและเป็นกระบวนการสำหรับการกักเก็บพลังงานทดแทนจากพลังงานธรรมชาติ เช่น ลม แสงอาทิตย์ เป็นต้น โดยการนำเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ จำเป็นที่จะต้องเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการแยกน้ำโดยใช้ไฟฟ้าให้สูงมากยิ่งขึ้นโดยไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม หนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญในกระบวนการ Alkaline Water Electrolysis คือประสิทธิภาพและความทดทานของอิเล็กโทรไลต์สำหรับใช้ในปฏิกิริยาเกิดออกซิเจน (Oxygen evolution reaction, OER) และ และไฮโดรเจน (Hydrogen evolution reaction, HER) โดยในงานวิจัยที่ผู้ทดลองได้ทำการศึกษา ได้มีการสังเคราะห์ขั้วอิเล็กโทรดโดยเคลือบตัวเร่งปฏิกิริยาทางไฟฟ้าที่แตกต่างกัน ซึ่งได้แก่ พอลิอะนิลีน (Polyaniline, PANI), ท่อคาร์บอนแบบผนังหลายชัน (Multiwall carbon nanotubes, MWCNT), CNT/PANI แบบผนังเคลือบสองชั้น(CNT/PANI Bilayer) และ CNT/PANI แบบผนังเคลือบเป็นเนื้อเดียวกัน (CNT/PANI Composite) โดยสังเคราะห์ด้วยวิธีการเคลือบแบบอิเล็กโทรโฟเรติก (Electrophoretic deposition, EPD) และกระบวนการพอลิเมอไรเซชั่นทางไฟฟ้า (Electropolymerization) ซึ่งค่า overpotential ของปฏิกิริยา OER และ HER สามารถวัดได้จากค่าความต่างศักย์ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงการทำงานของตัวเร่งปฏิกิริยาทางไฟฟ้า โดยการสังเคราะห์ CNT ร่วมกับ PANI แสดงให้เห็นว่าสามารถช่วยลดค่า overpotential ของทั้งสองปฏิกิริยาลงได้ ซึ่งขั้วอิเล็กโทรดที่ถูกสังเคราะห์ขึ้นมีคุณสมบัติเป็น Bifunctional Electrocatalyst สำหรับกระบวนการ alkaline water electrolysis และการสังเคราะห์ขั้วโดยใช้พอลิอะนิลีนมีประสิทธิภาพการทำงานสูงที่สุดสำหรับ OER และ HER
Hydrogen production by alkaline water electrolysis is a promising approach for storing renewable energy such as wind or solar. For this technology to be commercially viable, the water splitting system should have high energy efficiency without adding further risks to the environment. One of the critical components of the alkaline water electrolysis in terms of performance and durability is the electrocatalysts for oxygen evolution reaction (OER) and hydrogen evolution reaction (HER). In this work, nickel-based electrocatalysts coating with polyaniline (PANI), multiwalled carbon nanotubes (CNT), CNT/PANI bilayer, and CNT/PANI composite electrodes were prepared using electrophoretic deposition and electropolymerization. The overpotential for OER and HER reaction were measured by voltammetry as indicator for the electrocatalytic activity. Incorporation of CNT and PANI reduces the overpotentials of HER and OER, serving as bifunctional electrode for alkaline water electrolysis. PANI coated Ni-foam shows the highest electrocatalyst activity towards HER and OER. Keywords : polyaniline, electrocatalyst, hydrogen evolution reaction (HER), oxygen evolution reaction (OER), alkaline water electrolysisผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นายกิตติคุณ จิรพัทธ์พงศกร
นายนเรศ แตงฮ่อ
229ChE2020-09วิศวกรรมเคมีการพัฒนาการห่อหุ้มแบคทีเรียแบบไฮโดรเจลสองชั้น
Development of double layers of hydrogel containing Bacillus pseudofirmus ATCC700159งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการห่อหุ้มแบคทีเรียสายพันธ์ Bacillus pseudofirmus แบบไฮโดรเจลชั้นเดียวและสองชั้นที่ผสมกับไคโตซานด้วยวิธีExtrusion เพื่อประเมินผลการมีชีวิตรอดของแบคทีเรียหลังการห่อหุ้ม โดยใช้ความเข้มข้นของไคโตซานในการห่อหุ้มที่แตกต่างกัน คือ 0.2, 0.4 และ 0.6%w/v ผลการทดลองพบว่าแบคทีเรียถูกห่อหุ้มได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยการเพิ่มขึ้นของความเข้มข้นของไคโตซาน ส่งผลให้จำนวนแบคทีเรียมีชีวิตรอดเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้น และเม็ดบีดส์ที่ได้หลังการห่อหุ้มมีลักษณะค่อนข้างกลม ใส ไม่มีสี และมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในช่วง 0.2-0.25 cm แต่การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของไคโตซานไม่มีผลต่อขนาดของเม็ดบีดส์อย่างนัยสำคัญ และจากผลการวิเคราะห์หาหมู่ฟังก์ชันด้วยการวิเคราะห์ FT-IR ของไคโตซานซึ่งประกอบไปด้วยหมู่ฟังก์ชันหลักคือ หมู่อะมิโน (NH2) ซึ่งจะแสดงในช่วงเลขคลื่น 1,560-1,640 cm-1 พบว่าพีคที่ได้ส่วนใหญ่นั้นมีลักษณะตรงกับพีคของไคโตซานมาตรฐานแสดงให้เห็นว่าหลังการห่อหุ้มแบคทีเรียแล้วโครงสร้างของไคโตซานยังคงอยู่ นอกจากนี้ยังพบว่าการห่อหุ้มแบบชั้นเดียว (Single-Stage) มีจำนวนแบคทีเรียที่รอดชีวิตที่ความเข้มข้น 0.2,0.4 และ 0.6%w/v พบ%การรอดชีวิตของแบคทีเรีย 12.05%,14.66% และ 18.58% ตามลำดับ ถือว่ามากกว่าการห่อหุ้มแบบสองชั้น (Double-Stage) ที่ความเข้มข้น 0.2,0.4 และ 0.6%w/v ที่พบ%การรอดชีวิตของแบคทีเรียอยู่ที่ 8.58%,10.99% และ 11.28% ตามลำดับทั้งนี้อาจเป็นเพราะการห่อหุ้มแบบชั้นเดียว แบคทีเรียนั้นได้สัมผัสกับไคโตซานโดยตรง ซึ่งแตกต่างจากการห่อหุ้มแบบสองชั้น ที่ไคโตซานได้อยู่ที่ชั้นนอกสุดทำให้การสัมผัสกับแบคทีเรียเกิดขึ้นได้ยาก
The aim of this research was to study single- and double-layered hydrogel encapsulation of Bacillus pseudofirmus bacteria mixed with chitosan by extrusion method. To assess the survival effects of bacteria after encapsulation. The different encapsulated chitosan concentrations were 0.2, 0.4 and 0.6% w/v. The results showed that the bacteria were enveloped effectively by an increase in chitosan concentrations. Resulting in the number of surviving bacteria increasing with concentration However, the beads obtained after the encapsulation are rather round, transparent, colorless and have a diameter in the range of 0.2-0.25 cm, but changes in the concentration of chitosan do not significantly affect the size of the beads. And from the results of the chitosan FT-IR analysis, which consists of the main function group, the amino group (NH2), which is displayed in the wave number 1,560-1, 640 cm-1 Most obtained peaks matched standard chitosan peaks, indicating that after bacterial encapsulation the chitosan structure remained. It was also found that single-layer encapsulation (Single-Stage) bacteria survived at 0.2,0.4 and 0.6% w/v concentrations. % Bacterial survival was observed. 12.05%, 14.66% and 18.58%, respectively, were considered greater than the double encapsulation. Double-Stage at concentrations of 0.2,0.4 and 0.6%w/v found%, bacterial survival was 8.58%, 10.99% and 11.28%, respectively. This may be due to the single-layer encapsulation. The bacteria were in direct contact with chitosan. This is different from the two-layer encapsulation. The chitosan is located on the outermost layer, making it difficult to meet bacteria.ผศ.ดวงกนก ธนังธีรพงษ์
นางสาวณัฐนิชา เรทนู
นางสาวลักขณา ขันบุรี
230ChE2020-10วิศวกรรมเคมีการศึกษาประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนตัวรองรับดินเชื้อ
The study of iron catalyst on grog support.โครงงานการศึกษาประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กบนตัวรองรับดินเชื้อนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างของตัวเร่งปฏิกิริยา Fe บนตัวรองรับด้วยวิธีผสมขึ้นรูป และเพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียจากสีย้อมของตัวเร่งปฏิกิริยา Fe บนตัวรองรับด้วยวิธีผสมขึ้นรูปที่ความเข้มข้นสารต่อดินเชื้อแตกต่างกัน การผลิตตัวเร่งปฏิกิริยาเหล็กโดยการผสมขึ้นรูป จะเริ่มดำเนินการตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดินด่านเกวียน การผสมดินเชื้อ การอบดิน และบดดินในขั้นตอนสุดท้าย จากนั้นทำการเตรียมสารละลายเหล็กนำมาผสมกับดินที่อัตราส่วน 93:7, 90:10 และ 80:20 ตามลำดับ โดยกำหนดที่ 1 กิโลกรัมเป็นมาตรฐานจากนั้นทำการบดเปียก ก่อนนำไปอบ และนำมาบดหยาบ ก่อนอัดขึ้นรูปและเผาขึ้นรูปเป็นลำดับถัดไป และทำการทดสอบพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเทคนิค SEM พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยามีการเกาะติดแน่นบนพื้นผิวตัวรองรับ และได้ทำการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาโดยชุดการทดลองแบบแบทช์ โดยทำการศึกษาจากสีย้อม Reactive red ที่ความเข้มข้นเฟอริกคลอไรด์ต่างกัน 3 ความเข้มข้น คือ 7%, 10% และ 20% ที่การเผาขึ้นรูป 2 อุณหภูมิ คือ 600 องศาเซลเซียสและ 1000 องศาเซลเซียส โดยทดสอบได้ค่า pH ที่เหมาะสมต่อการทำการทดลอง คือ pH 6 พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถบำบัดสีย้อม Reactive red ได้ดีที่สุดที่ความเข้มข้นเหล็ก 20% โดยการทำการเผาที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส คิดเป็น 98.40% ที่ความเข้มข้นสี 0.1 กรัมต่อลิตร ซึ่งจากการทดสอบพบว่าการบำบัดจะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นขึ้นอยู่กับความเข้มข้นสีย้อมที่เพิ่มขึ้น ความเข้มข้นเฟอริกคลอไรด์เพิ่มขึ้น และ Retention time เพิ่มขึ้น
The study of iron catalyst on grog support. Objective to study the structural characteristics of the Fe catalyst on the grog support by mixed-forming method and to study the efficiency of dye wastewater treatment by mixing method at different concentrations between iron and grog. The process for construct iron catalyst start with preparing the soil, Mixing of grog soil, drying the soil and grinding the soil at the final stage. The iron solution was then prepared and mixed with soil at the ratio of 93: 7, 90:10 and 80:20 respectively, setting 1 kg as standard. Then wet grinding before baking and rough grinding. Before extrusion and sintering in the next order The surface area of the catalyst was tested by SEM technique. It was found that the catalyst had a firm adhesion on the support surface. And experiments were performed to determine the efficacy of the catalyst by a batch experiment. The study given Reactive red dye at 3 different ferric chloride concentrations: 7%, 10% and 20% at 2 sintering temperatures: 600 ° C and 1000 ° C. The optimum pH for testing is pH 6. It was found that the highest efficiency treated the Reactive red dye at 20% iron concentration by sintering at 600 ° C, 98.40% at 0.1 g / L color concentration. Higher efficiency depends on the increased dye concentration. Ferric Chloride concentration increased and Retention time increased.ผศ.พนมกร ขวาของ
นายรวิสุต แท่นงาม
นางสาวอรทัย ตึกไธสง
นางสาวชนัญธิดา ดีโนนโพธิ์
231ChE2020-11วิศวกรรมเคมีการเตรียมถ่านกัมมันต์จากใบยางนาที่ผ่านกระบวนการผลิตไบโอดีเซล จากยีสต์ไขมันสูง เพื่อลดของเสียและเพิ่มมูลค่า
Preparation of activated carbon from Dipterocarpus alatus leaves from biodiesel production using oleaginous yeast: Zero waste and value added of wasteโครงการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาการเตรียมถ่านกัมมันต์จากใบยางนาที่ผ่านกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากยีสต์ไขมันสูง(กากใบยางนา) และเมื่อเตรียมถ่านกัมมันต์ได้จะนำมาศึกษาการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลู เมทิลออเรนจ์ และสีย้อมผ้าไหม กากใบยางนาจะถูกเตรียมโดยการกระตุ้นด้วยวิธีทางกายภาพและทางเคมี พบว่าเมื่อกระตุ้นทางเคมี ด้วยการแช่ในซิงค์คลอไรด์ที่มีความเข้มข้น 30 %โดยน้ำหนัก เป็นเวลา 12 ชั่วโมง แล้วทำการคาร์บอไนซ์ที่อุณหภูมิ 500oC เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ซึ่งผลการทดลองพบว่า ถ่านกัมมันต์ที่เตรียมได้เป็นวัสดุพรุนที่มีโครงสร้างเป็นรูพรุนขนาดเล็กเป็นส่วนใหญ่ โดยมีพื้นที่ผิวสูงที่สุด 497 m2/g ศึกษาการดูดซับสีย้อมจากถ่านที่เตรียมได้ โดยจะพบว่าแต่ละสีมีเวลาในการดูดซับ จนเข้าสู่สมดุลที่แตกต่างกัน คือ 50 นาที 18 ชั่วโมง และ 12 ชั่งโมง และจลนศาสตร์การดูดซับเป็นไปตามแบบจำลองสมการอันดับสองเทียมและผลการทดลองไอโซเทอมการดูดซับ ยังแสดงให้เห็นว่าสมการของแลงเมียร์สามารถอธิบายข้อมูลการดูดซับจากการทดลองได้ดี โดยมีปริมาณการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูสูงสุด 269.3 mg/g สีย้อมเมทิลออเรนจ์ปริมาณการดูดซับสูงสุดที่ 104.899 mg/g และสีย้อมผ้าไหมที่ 1115.084 mg/g ดังนั้นใบยางนาที่ผ่านกระบวนการผลิตไบโอดีเซลจากยีสต์ไขมันสูงสามารถนำมาใช้เตรียมถ่ายกัมมันต์และมีความสามารถในการดูดซับสีย้อมอีกด้วย
The objective of this study is study the preparation of activated carbon from hydrolyzed Dipterocarpus alatus leaves (HDL), a solid waste from biodiesel production, were used as precursor to prepare activated carbon and use in removal of methylene blue (MB) methyl orange (MO) and silk dye (DR). The preparation of activated carbon. And then activated by physical and chemical activation. For chemical activation wing was soaked in concentration of ZnCl2 30 % w/w 12 hr. and then carbonization at 500 C 1 hr . the results show activated carbon is mostly micropore with the highest surface area of 497 m2 / g. The study of methylene blue in removal of methylene blue methyl orange and silk dye by batch adsorption study initial concentration of dye and time adsorption. Time adsorption of dye increase and adsorption capacity will increase until it reached equilibrium at are 50 min 18 hr and 12hr . The kinetics adsorption followed in pseudo second order equation model and the results of adsorption isotherm show that Langmiur equation can explain the adsorption the maximum adsorption capacity of methylene blue at 338.86 mg / g methyl orange at 104.899 mg / g and silk dye at 1115.084 mg / g. The activated carbon prepared from Dipterocarpus alatus leaves residue a raw material for preparation of activated carbon exhibited good adsorption uptake for methylene blue and silk dye.รศ.ยุวรัตน์ เงินเย็น
นางสาววรางคณา ขลังวิเชียร
นางสาวสุดารัตน์ ปัทมะเสวี
232ChE2020-12วิศวกรรมเคมีการเพิ่มมูลค่าให้เถ้าลอยจากโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาล โดยใช้เป็นตัวดูดซับสีย้อมจากน้ำเสีย
Adding value to fly ash from sugar industry by preparing it as an adsorbent and studying dye absorption efficiency from wastewaterงานวิจัยนี้ได้นำเถ้าลอยซึ่งเป็นของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาลมาทำการปรับปรุงโดยการแช่ด้วยกรดไฮโดรคลอริกความเข้มข้น 1 M ตามด้วยการคาร์บอนไนซ์ที่อุณหภูมิ 900 °C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เพื่อใช้เป็นตัวดูดซับสำหรับการกำจัดสีย้อมในน้ำเสียจากกระบวนการย้อมในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รวมถึงกระบวนการย้อมสีผ้าไหมในอุตสาหกรรมระดับท้องถิ่นด้วย อีกทั้งงานวิจัยนี้ยังใช้เถ้าลอยดิบและถ่านกัมมันต์ทางการค้ามาเป็นตัวดูดซับเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการดูดซับกับเถ้าลอยที่เราได้ทำการปรับปรุง ซึ่งตัวดูดซับทั้งสามจะถูกนำมาวิเคราะห์สมบัติความเป็นรูพรุน โดยใช้การดูดซับและการคายซับของแก๊สไนโตรเจนที่อุณหภูมิ 77 K การศึกษาจลนศาสตร์การดูดซับ ใช้ข้อมูลที่เวลาสมดุลจากการทดลองการดูดซับแบบกะที่เวลา 1-12 ชั่วโมง ด้วยความเข้มข้นเริ่มต้นที่ 50-100 mg/L สำหรับสีย้อมผ้าไหม (สีแดงแก่ เบอร์ 34) และ 10-300 นาที ด้วยความเข้มข้นเริ่มต้นที่ 10-500 mg/L สำหรับสีย้อมเมทิลีนบลู อีกทั้งได้ทำการศึกษาแบบจำลองจนลศาสตร์การดูดซับอันดับหนึ่งเทียม แบบจำลองอันดับสองเทียม และการแพร่กระจายของอนุภาค จากนั้นได้นำข้อมูลการดูดซับที่สมดุลไปใช้ในการวิเคราะห์โดยใช้แบบจำลองของแลงเมียร์และฟรุนดริช ผลการทดลองพบว่าเถ้าลอยมีพื้นที่ผิวเพิ่มขึ้นจาก 26 เป็น 239 m2/g หลังจากปรับปรุงด้วยกรดตามด้วยการคาร์บอไนซ์ และพบว่าเวลาในการดูดซับจะเข้าสู่สมดุลที่ 4 ชั่วโมง สำหรับสีแดงแก่ และ 90 นาที สำหรับสีย้อมเมทิลีนบลู ในการใช้ตัวดูดซับทั้งสาม ซึ่งผลการทดลองสามารถระบุได้ว่าการดูดซับสอดคล้องกับสมการของแบบจำลองอันดับสองเทียบและสมการของแลงเมียร์ และมีความสามารถสูงสุดในการดูดซับสีแดงแก่อยู่ที่ 666, 1,258 และ 1,156 mg/g สำหรับเถ้าลอยที่ไม่ผ่านการปรับปรุง เถ้าลอยที่ปรับปรุงแล้ว และถ่านกัมมันต์ทางการค้าตามลำดับ ความสามารถสูงสุดในการดูดซับสีย้อมเมทิลีนบลูอยู่ที่ 27.17, 39.05 และ 42.13 mg/g สำหรับเถ้าลอยที่ไม่ผ่านการปรับปรุง เถ้าลอยที่ปรับปรุงแล้ว และถ่านกัมมันต์ทางการค้าตามลำดับ ดังนั้นการปรับปรุงเถ้าลอยซึ่งเป็นของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมน้ำตาลแสดงให้เห็นว่าสามารถนำมาเป็นตัวดูดซับสีย้อมจากน้ำเสียในกระบวนการย้อมสีได้
The fly ash, solid waste from sugar industry, treated by HCl and then carbonized under N2 at 900oC for 1 h was used as an adsorbent for the color removal of wastewater from dyeing process. The untreated fly ash and commercial activated carbon were also used as adsorbents for comparison. All adsorbents were characterized porous properties by nitrogen adsorption/desorption at 77 K. The kinetics and equilibrium data were obtained from batch experiments of various adsorption time 1–12 h, 10-300 min and initial concentration 50–1,000 mg/L, 10-500 mg/L of conventional commercial dye in wastewater for Dark Red 34 and methylene blue respectively. The adsorption kinetics and isotherms were studied for all three samples. The adsorption kinetics were analyzed using pseudo-first order, pseudo-second order and intra-particles diffusion models. The adsorption equilibrium data were analyzed by Langmuir and Freundlich models. Results showed that the surface area of treated fly ash increased from 26 to 239 m2/g after acid and carbonization treatments. Equilibrium adsorption reached in 4 h for all samples with dark red 34 and Equilibrium adsorption reached in 90 min for all samples with methylene blue. The experimental data indicated that the adsorption kinetics and isotherms were well described by the pseudo-second order and Langmuir equation, respectively. The maximum adsorption capacities for the removal of dark red 34 were 666, 1,258 and 1,156 mg/g for untreated fly ash, treated fly ash and activated carbon, respectively. The maximum adsorption capacities for the removal of methylene blue were 27.17, 39.05 and 42.13 mg/g for untreated fly ash, treated fly ash and activated carbon respectively. Therefore, treated fly ash from sugar industry shows its high potential as an adsorbent for the color removal of wastewater from dyeing process.รศ.ยุวรัตน์ เงินเย็น
นางสาวฆนานันท์ ทองสืบสาย
นางสาวอารียา ชุมพิบูลย์
233ChE2020-13วิศวกรรมเคมีสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันฟักข้าวด้วยคลื่นความถี่คู่อัลตร้าโซนิคโดยใช้วิธี พื้นผิวตอบสนอง
Optimisation of dual-frequency ultrasonic assisted extraction of gac oil using response surface methodologyในการศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันฟักข้าวด้วยคลื่นความถี่คู่อัลตร้าโซนิค โดยใช้การวิเคราะห์พื้นผิวตอบสนอง ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยและหาสภาวะที่เหมาะสมในการสกัดน้ำมันฟักข้าวด้วยคลื่นความถี่คู่อัลตร้าโซนิคต่อปริมาณผลได้ของน้ำมันฟักข้าว โดยใช้คลื่นความถี่ 2 คลื่น คือ 28 เฮิร์ต และ 40 เฮิร์ต ซึ่งทำการสกัดโดยใช้เยื่อหุ้มเมล็ดฟักข้าว และใช้ตัวทำละลายคือเฮกเซน ในการออกแบบการทดลองจะใช้การออกแบบส่วนประสมกลาง (Central Composite Design: CCD) ซึ่งพิจารณา 3 ปัจจัย คือ เวลาทั้งหมดที่ใช้ในการสกัด กำลังทั้งหมดของคลื่นที่ใช้ในการยิงสกัด และรูปแบบการยิงคลื่น โดยรูปแบบการยิงคลื่นมี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบการยิงคลื่นแบบต่อเนื่อง (pulse) และการยิงคลื่นแบบพัลส์ (pulse, 6s/2s) ทำการวิเคราะห์ร้อยละผลได้ของน้ำมันฟักข้าวต่อปัจจัยแต่ละปัจจัย พบว่า เมื่อใช้เวลาในการสกัดและใช้กำลังของคลื่นในการสกัดสูงขึ้น ร้อยละผลได้ของน้ำมันฟักข้าวก็จะสูงขึ้นด้วย และเปรียบเทียบปัจจัยที่เป็นรูปแบบการยิงคลื่น พบว่า การยิงคลื่นแบบพัลส์ได้ร้อยละผลได้มากกว่าการยิงคลื่นแบบต่อเนื่อง เมื่อทำการวิเคราะห์สภาวะที่เหมาะสมโดยวิธีพื้นผิวตอบสนอง (Response Surface Methodology: RSM) ผลการศึกษาพบว่าสภาวะการสกัดน้ำมันฟักข้าวที่เหมาะสมที่สุดจะใช้เวลาในการยิงคลื่นสกัดคือ 90 นาที กำลังทั้งหมดในการยิงคลื่นคือ 200 วัตต์ และใช้รูปแบบการยิงคลื่นแบบพัลส์ (pulse, 6s/2s) ซึ่งจะได้ร้อยละผลได้ของน้ำมันฟักข้าวที่สูงที่สุดอยู่ที่ร้อยละ 17.84 คำสำคัญ ฟักข้าว การสกัดน้ำมันฟักข้าว การสกัดด้วยอัลตร้าโซนิค การวิเคราะห์พื้นผิวตอบสนอง การออกแบบส่วนประสมกลาง
The study of optimum conditions for dual-frequency ultrasonic assisted extraction of gac oil using response surface analysis. The objective of this study was to study the influence of factors and to find the optimum conditions for extraction of gac oil with ultrasonic dual-frequency waves on the yield content of gac oil. The two waves, 28 Hz and 40 Hz, were extracted using gac seed membranes and using a hexane solvent. The experimental design was based on the Central Composite Design (CCD), which looked at three factors: the total time spent extraction, the total power of the extraction wave and a wave pattern. There are two types of emission patterns: continuous and pulse (pulse, 6s/2s). The results of gac oil were analyzed for each factor. It was found that higher extraction time and wave power, the yield percentage of gac oil will also be higher. For comparison of the factors of waveform, it was found that the percentage effect of the pulse wave was greater than the continuous wave. Analysis of optimum conditions by Response Surface Methodology (RSM). The results of the study found that the optimum state of gac oil extraction takes 90 minutes to emit the wavelength ,the total power to emit 200 watt and use a pulse waveform (6s/2s). The highest yield percentage of gac oil is 17.84 percent. Keyword: gac oil, extraction of gac oil, ultrasonic assisted extraction, response surface methodology (RSM), central composite design (CCD)ผศ.วรินรำไพ เศรษฐ์ธณบุตร
นางสาวปภาดา งามดังนาค
นางสาวธนวรรณ คำผุย
234ChE2020-14วิศวกรรมเคมีการศึกษาการทำแห้งอินทผาลัมด้วยวิธีแช่เยือกแข็ง
A study on drying of date palm by freeze – dryingงานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำแห้งอินทผลัมด้วยระบบอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งและสารสำคัญในกากอินทผลัมหลังการอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งซึ่งได้มีการทดลองอบแห้งอินทผลัมโดยความหนาที่ใช้มี 3 ขนาด ได้แก่ 0.5 1 และ 1.5 เซนติเมตร เพื่อศึกษาอิทธิพลของความหนาต่อเวลาที่ใช้ในการอบแห้งตลอดจนศึกษาสารสำคัญซึ่งได้แก่ ฟีนอลิกทั้งหมดและฟลาโวนอยด์ในกากอินทผลัมอบแห้ง จากการทดลองพบว่าขนาดที่เหมาะสมสำหรับการอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งอินทผลัมมากที่สุดคือความหนา 0.5 เซนติเมตร ซึ่งให้ความชื้นหลังการอบแห้งต่ำที่สุดและยังสามารถระเหยน้ำออกจากกากอินทผลัมได้มากที่สุด หลังจากอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งแล้วพบว่าปริมาณฟีนอลิกในกากอินทผลัมอบแห้งมีอยู่ประมาณ 1.782 mg GAE/g sample และปริมาณฟลาโวนอยด์มีอยู่ประมาณ 0.447 mg catechin/g sample เมื่อทำการอบแห้งแบบอบลมร้อนเปรียบเทียบกับการอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งพบว่าการอบแห้งแบบแช่เยือกแข็งเหมาะสมกว่าเนื่องจากให้ผลิตภัณฑ์ที่คงสภาพสีและกลิ่นได้ดีนอกจากนั้นยังใช้เวลาในการอบแห้งน้อยกว่าอีกด้วย
The aim of this research was to study the drying of date palm by freeze dry and important substances in date palm residue freeze dry. In experiment determine three thicknesses include 0.5 1 and 1.5 cm were used to study the influence of thickness on drying time and to study the important substances which were total phenolic and flavonoids in dried dates residue. the optimum size for date freeze drying was 0.5 cm thick, which gave the lowest moisture after drying and was able to evaporate the most water from the date palm residue. After the freeze drying process, the total phenolic content of the dried date palm residue was approximately 1.782 mg GAE / g sample and the flavonoid content approximately 0.447 mg catechin / g sample. In addition, when conducting hot air drying compared to freeze drying, freeze drying was found to be more appropriate because it retains the color and smell of the product well, and also takes time to dry. Less dry as well.ผศ.อภิชาติ อาจนาเสียว
นางสาวธันยธรณ์ อินเที่ยง
นางสาวสุนิดา ทับธานี
235ChE2020-15วิศวกรรมเคมีการศึกษาปฏิกิริยาการขจัดน้ำของซอร์บิทอลเป็นไอโซซอร์ไบด์ โดยตัวเร่งปฏิกิริยาซีเรียมออกไซด์
Dehydration of sorbitol to isosorbide over cerium oxide catalystงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาผลของตัวเร่งปฏิกิริยาซีเรียมออกไซด์ที่เตรียมด้วยวิธีการเผา (Calcination method) ต่อปฏิกิริยาการขจัดน้ำของซอร์บิทอลเป็นไอโซซอร์ไบด์ซึ่งถือเป็นครั้งแรกที่มีการศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาซีเรียมออกไซด์ที่เตรียมจากซีเรียมซัลเฟตในปฏิกิริยาชนิดนี้ ปฏิกิริยาการขจัดน้ำของซอร์บิทอลเป็นไอโซซอร์ไบด์จะถูกดำเนิดภายในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ (Hydrothermal autoclave reactor) โดยใช้ซอลบิทอล 70% เป็นสารตั้งต้น นอกจากนี้ยังได้ศึกษาผลของอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาตัวเร่งปฏิกิริยา ผลของปริมาณตัวเร่งเร่งปฏิกิริยาและระยะเวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา โดยได้ทำการตรวจสอบคุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยาด้วยเครื่องวิเคราะห์การเลี้ยงเบนของรังสีเอ็กซ์ (X-ray Diffraction: XRD) เครื่องวิเคราะห์เชิงอุณหภูมิความร้อน (Thermogravimetric Analysis: TGA) เครื่องฟูเรียร์ทรานฟอร์มอินฟาเรดสเปกโตรมิเตอร์ (Fourier transform Infrared Spectroscopy: FT-IR) และวิเคราะห์องค์ประกอบของผลิตภัณฑ์ด้วยเครื่องโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (High Performance Liquid Chromatograph: HPLC) จากการทดลองพบว่าผลของตัวเร่งปฏิกิริยาที่ผ่านการเผาด้วยอุณหภูมิ 400°C ภายใต้ความดัน 20 บาร์ อุณหภูมิ 180°C เป็นเวลา 6 ชั่วโมง ได้ร้อยละการแปลงผันของซอร์บิทอลเป็น 100% และร้อยละการเลือกเกิดของไอโซซอร์ไบด์เป็น 44% ซึ่งจากผลการตรวจสอบคุณลักษณะของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าเป็นช่วงที่ซัลเฟตยังไม่สลายตัว ทำให้ตัวเร่งปฏิกิริยามีความเป็นกรดเพียงพอต่อการเกิดปฏิกิริยาการขจัดน้ำของซอร์บิทอลเป็นไอโซซอร์ไบด์
The dehydration of sorbitol to isosorbide over cerium oxide catalyst has been studied. This is the first time that study on cerium oxide catalyst by calcination of cerium sulfate precursor. Dehydration of sorbitol to isosorbide reaction were carried out in a hydrothermal autoclave reactor. The sorbitol 70% was used as a reagent. We studied on calcination temperature of catalyst, catalyst loading and reaction time. Characteristic of catalyst were characterized by X-ray Diffraction (XRD), Thermogravimetric Analysis (TGA), Fourier transform Infrared Spectroscopy (FT-IR) and product from the reaction was analyzed by High-Performance Liquid Chromatograph (HPLC). The result showed the catalyst that was calcined at 400°C under pressure of 20 bar at reaction temperature of 180°C for 6 hours can be reached sorbitol conversion up to 100% and isosorbide selectivity 44%. The result from the characteristic of catalyst represented that the catalyst at the calcination temperature of 400°C still present of sulfate group in catalyst. So the acidic of catalyst was appropriate for dehydration of sorbitol to isosorbideอ.ทินกร คำแสน
นางสาวอชิรญา ชมภูนุช
นางสาวกัญญาภัค พรมแพง
236ChE2020-16วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์พลาสติกชีวภาพชนิด Polylactic acid จากเมล็ดข้าวหัก
Synthesis of Biodegradable plastic Polylactic acid from broken riceในงานวิจัยนี้ทำการศึกษาการผลิตกรดแลคติกและ PLA จากเชื้อแบคทีเรีย L. plantarum SKKL1 โดยเริ่มจากการทดลองการผลิตกรดแลคติกแบบรวมปฏิกิริยา (Simultaneous Saccharification and Fermentation, SSF) และการผลิตกรดแลคติกแบบแยกปฏิกิริยา (Separate hydrolysis and Fermentation, SHF) เพื่อศึกษาวิธีที่เหมาะสมในการผลิตกรดแลคติก โดยวัดปริมาณของกลูโคส น้ำตาลรีดิวซ์ และกรดแลคติกด้วยวิธี GOD-PAP , DNS และวิธี A.O.A.C จากนั้นนำตัวอย่างที่ได้จากการหมักด้วยเชื้อ แบคทีเรีย L. plantarum SKKL1 ไปเข้าสู่กระบวนการ Downstream เพื่อแยกเอาอาหารเลี้ยงเชื้อออกจาก ตัวอย่าง โดยวัดหาปริมาณของกรดแลคติกด้วยวิธี A.O.A.C และเปรียบเทียบความแตกต่างของตัวอย่างก่อน และหลังเข้าสู่กระบวนการ Downstream จากนั้นนำตัวอย่างไปเข้าสู่กระบวนการ Polymerization เพื่อ สังเคราะห์ PLA โดยจากการทดลองพบว่าต้องทำการย่อยเมล็ดข้าวหักให้กลายเป็นกลูโคสก่อนที่จะทำการหมัก โดยเวลาที่เหมาะสมในการย่อยด้วยกรดซัลฟิวริกคือเวลา 60 นาที และเวลาที่เหมาะสมในการหมักคือ 48 ชั่วโมง จากนั้นเมื่อนำตัวอย่างไปแยกอาหารเลี้ยงเชื้อออกพบว่าปริมาณของกรดแลคติกในตัวอย่างก่อนและ หลังมีความใกล้เคียงกัน แต่สีของตัวอย่างมีความแตกต่างกันเป็นอย่างมาก
This research investigated lactic acid production and PLA synthesis from broken rice by using L. plantarum SKKL1. The first experiments are lactic production by Simultaneous Saccharification and Fermentation, SSF and Separate Hydrolysis and Fermentation, SHF to investigate suitable experimental methods were analyze by GOD-PAP method and DNS method. L. plantarum SKKL1 is added to prepared carbon source. The sample is taken into Downstream process to separate carbon source from lactic acid and measured amount of Lactic acid by A.O.A.C method. Take samples into Polymerization process to synthesize PLA. The findings indicated that Separate Hydrolysis and Fermentation is effective in producing lactic acid, the optimal time for digestion broken rice with sulfuric acid 60 minutes. The optimal time for lactic acid fermentation is 48 hours. Takes 48 hours to ferment to obtain the greatest amount of lactic acid. Optimal conditions for PLA synthesis are 220 C 9 hours.อ.อธิป เหลืองไพโรจน์
นายปณิธาน นาคมี
นายฤทธิไกร เขียวไกร
237ChE2020-17วิศวกรรมเคมีสายรัดข้อมือวัดแอลกอฮอล์ในเหงื่อแบบเรียลไทม์เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากเมาแล้วขับ
Wristband for Real-Time Sweat Alcohol Monitoring and Drunk Driving Preventionจากข้อมูลองค์การอนามัยโลกมีผู้เสียชีวิตทั่วโลกจากอุบัติเหตุเมาแล้วขับโดยเฉลี่ย 1 คน ในทุก ๆ 2 นาที การตรวจวัดแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดเป็นอีกหนึ่งวิธีในการช่วยลดจำนวนอุบัติเหตุเมาแล้วขับได้ วิธีการเจาะเลือดเป็นการตรวจที่ใช้เวลานานและอาจเกิดความไม่สะดวกสบายแก่ผู้รับการตรวจ เครื่องเป่าแอลกอฮอล์มีข้อจำกัดคือไม่สามารถวัดผลแบบต่อเนื่องและยังมีราคาที่ค่อนข้างสูง โดยทั้งสองวิธีนี้ยังต้องใช้บุคลากรในการดำเนินการตรวจวัดปริมาณแอลกอฮอล์ ซึ่งนับเป็นค่าใช้จ่ายที่เสียไปไม่น้อย โครงงานวิจัยนี้ออกแบบและพัฒนาสายรัดข้อมือวัดแอลกอฮอล์ในเหงื่อแบบเรียลไทม์ จากเซนเซอร์วัดแก๊ส MiCS5524 โดยมีบอร์ดควบคุมขนาดเล็ก ESP32 ใช้สำหรับแปลงค่าสัญญาณและใช้หลักการ Internet of Things (IoT) ส่งค่าไปที่ระบบแสดงผลผ่าน Blynk และระบบแจ้งเตือนผ่าน Line Notify โดยทั้งระบบนี้ได้รับพลังงานจากแบตเตอรี่ลิเธียมพอลิเมอร์ควบคู่กับพาวเวอร์แบงค์โมดูลที่ช่วยเพิ่มแรงดันไฟให้พอต่อการใช้งานในระบบ สายรัดข้อมือนี้สามารถวัดแอลกอฮอล์ในเหงื่อเทียมได้ในช่วงความเข้มข้น 0.21 – 1.05 mg/ml ซึ่งเป็นช่วงความเข้มข้นที่ครอบคลุมไปจนถึงระดับที่แอลกอฮอล์สูงเกินกฎหมายกำหนด (BAC 50 mg%) งานนี้ได้ทำการทดลองกับทั้งระบบจำลองการขับเหงื่อของมนุษย์และร่างกายมนุษย์ โดยได้ใช้กฎของเฮนรี (Henry’s law) ในการพัฒนาและออกแบบระบบการทดลองเพื่อหากราฟมาตรฐาน โดยค่าที่วัดได้จากเซนเซอร์มีความสอดคล้องกันเป็นเส้นตรงกับความเข้มข้นของสารละลายแอลกอฮอล์โดยมี R2 สูงถึง 0.9748 สามารถวัดค่าได้อย่างแม่นยำถึง 90% มีการตอบสนองที่เฉพาะเจาะจงกับแอลกอฮอล์เท่านั้น โดยไม่ตอบสนองต่อองค์ประกอบอื่น ๆ ในเหงื่อ และสามารถแสดงค่าระดับแอลกอฮอล์ในเหงื่อบนระบบ Drunk Mate เพื่อแจ้งเตือนได้ทันที สายรัดข้อมือมีความกะทัดรัด น้ำหนักเบาและสะดวกต่อการสวมใส่ ราคา 800-900 บาทต่อชิ้น เมื่อสวมใส่แล้วสามารถทราบค่าระดับแอลกอฮอล์ได้แบบเรียลไทม์และได้รับการแจ้งเตือนทันทีเมื่อแอลกอฮอล์เกินที่กฎหมายกำหนด ทำให้ทุกคนเข้าถึงการวัดแอลกอฮอล์ได้ง่าย สะดวกสบายและสามารถช่วยลดอุบัติเหตุจากเมาแล้วขับได้ คำสำคัญ : การวัดระดับแอลกอฮอล์แบบทางเลือก การวัดระดับแอลกอฮอล์ในเหงื่อ อุปกรณ์สวมใส่ได้ การป้องกันอุบัติเหตุจากเมาแล้วขับ Internet of Things (IoT)
Alcohol is a major factor that has contributed to a number of road accidents and deaths worldwide every year. Measuring blood alcohol concentrations is an effective way to prevent and reduce the number of alcohol-related road accidents. However, an invasive alcohol measurement method by collecting blood is a time-consuming and uncomfortable method for users. A breathalyzer is a noninvasive measuring method but can provide only one result at a time. Here we reported the design and develop a wristband for real-time sweat alcohol monitoring and drunk driving prevention. Measurement data acquired by a semi-conductor gas sensor MiCS5524 were sent to a microcontroller ESP32 which transferred the readings via an Internet of Things (IoT) network to a display screen on the Blynk application, triggering alarming messages on the LINE Notify platform. This system was powered by a LiPo battery combined with a power bank module to step up the voltage. The wristband could measure sweat alcohol concentrations in the range of 0.21 – 1.05 mg/ml, covering the concentration from the first drink to the illegal alcohol concentration (BAC 50mg%). Henry’s law was used to design and develop the calibration curve. The sensor readings and alcohol concentrations showed a high linear correlation (R2 = 0.9748) with 90% accuracy and a limit of detection of 0.047 mg/ml in artificial sweat. The device gave response specifically to alcohol only, and was not affected by other in the sweat. The wristband is lightweight, compact, and easy to wear with the price of 800-900 THB each. Users will get the alcohol concentration data to display continuously and in real-time on their mobile phones. Moreover, the user will get an immediate alarming message when his/her sweat alcohol concentration has reached the illegal level. The wristband presented here offers real-time sweat alcohol measurements, showing promise for preventing drunk driving accidents. Keyword : Alternative alcohol measurement, Sweat alcohol measurement, Wearable device, Drunk driving prevention, Internet of Things (IoT)อ.อรณัฐ ชูชื่น
นางสาวกชกร เข็มทองหลาง
นางสาวนัจอภิญา ไชยเพชร์
238COE2020-01-CMวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Detection Cytomegalovirus Retinitis using Machine Learning
Detection Cytomegalovirus Retinitis using Machine Learningผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
นางสาววลัยลักษณ์ ภูบาลชื่น
นางสาวฐิติชญา สุขห่อ
239COE2020-03-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เซนเซอร์​ตรวจวัดความหวาน​ ความกรอบ​ และความฝาด​ ของผลไม้
เซนเซอร์​ตรวจวัดความหวาน​ ความกรอบ​ และความฝาด​ ของผลไม้ผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
รศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นายจารุกิตติ์ ปัญจรักษ์
นางสาววรรณรักษ์ เลาวัณย์ศิริ
240COE2020-04-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบแสดงผล Smart Farm
ระบบแสดงผล Smart Farmรศ.ชัชชัย คุณบัว
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายณัฐกฤตา มงคลศริ
นายจิตติ โสตสุภาพ
241COE2020-05-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์A SIMPLE ROBOTICS ARM CONTROLLING VIA ROS PHASE 3
A SIMPLE ROBOTICS ARM CONTROLLING VIA ROS PHASE 3ผศ.ดารณี หอมดี
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
นายก้องภพ สุพรรณดร
นายรัฐพงศ์ ศิริโรจน์
242COE2020-06-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์PAPR
PAPRอ.นวภัค เอื้ออนันต์
ผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
นายแดเนียล สวีทแลนด์
นายณัฐพงศ์ สมชัยยา
243COE2020-07-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เครื่องคัดแยกพลาสม่า PlasmaX
PlasmaX (Plasma Blood Filtering Machine)ศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายพงษ์พิพัฒน์ พนมเขตร์
นายพรบัญชา ต้นจันทร์
244COE2020-08-HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หุ่นยนต์กำจัดสิ่งเจือปนในยางแผ่น
Rubber sheet contamination removal robotอ.วาธิส ลีลาภัทร
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
นางสาวศิรภัสสร ถนอมวงษ์
นายศุภกร สารชัย
245COE2020-09-ISวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบรักษาความลอดภัยอัจฉริยะ
KKU Smart Safetyศ.วนิดา แก่นอากาศ
อ.วสุ เชาว์พานนท์
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นายธนวรรธ สงขาว
นายภูรินทร์ จันทร์ใบ
246COE2020-10-NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Document Signing Verification
Document Signing Verificationอ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายธีรพล นามปากดี
247COE2020-11-NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์System Live Stream Video Helping The Driver
System Live Stream Video Helping The Driverอ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
รศ.ชัชชัย คุณบัว
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายภูบดินทร์ สมบัติกำไร
นายธนาวัฒน์ อุดม
248COE2020-12-NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Fog computing for smart farm
Fog computing for smart farmผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
รศ.ชัชชัย คุณบัว
นายต่อตระกูล สุรขันธ์
นายศุภวิชญ์ ชื่นวัฒนา
249COE2020-13-NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การศึกษาการแชร์กุญแจส่วนบุคคลในระบบวิทยาการเข้ารหัสลับเอ็นทรู
A Study of Share Private Key in NTRU Cryptosystemรศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
ผศ.ดารณี หอมดี
นางสาวแก้วฟ้า หมั่นเที่ยง
นางสาวกันต์รพี ปะละฤทธิ์
250COE2020-14-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชันเรียนรู้คำศัพท์ โดยใช้เทคโนโลยีการรู้จำภาพวัตถุ
The development of a mobile application for vocabulary learning using imageผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
นางสาววรัญญา สมานญาติ
นายชนวีร์ พงศ์สัมฤทธิ์ผล
251COE2020-15-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เว็บแอปเพื่อการวิเคราะห์และนำเสนอภาพข้อมูลคุณภาพแป้งมันสำปะหลัง
เว็บแอปเพื่อการวิเคราะห์และนำเสนอภาพข้อมูลคุณภาพแป้งมันสำปะหลังรศ.กานดา สายแก้ว
อ.วสุ เชาว์พานนท์
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายธนวรรฒน์ เพิ่มงาม
นายสุทธิวัฒน์ อ้นเกษม
252COE2020-16-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์New Normal with COVID 19 via Serious Game
New Normal with COVID 19 via Serious Gameผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายวชิรายุ ยุพฤทธิ์
นายศรัณย์ อัครพันธุ์พงศ์
253COE2020-17-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หุ่น ยนต์เ พื่อ พัฒนา ทักษะ การเ ขียน โปรแกรม
Game Applicationผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
ผศ.ดารณี หอมดี
นายบุรพล บุบผาเดช
นายพงศธร สายกลิ่น
254COE2020-18-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมระบบติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Budget Tracking Program for Faculty of Engineering, Khon Kaen Universityอ.วสุ เชาว์พานนท์
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นางสาวธัญวรัตน์ หมุนคำ
นางสาวณัฏฐนิชา จิรพิสิฐกุล
255COE2020-19-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบช่วยขายสินค้าออนไลน์บนโซเชียลมีเดีย
Multi-social online sales systemรศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
นางสาวดารุณ ขุนอ่อน
นายเธียรธรรม กงทอง
256COE2020-20-SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบบริหารจัดการครุภัณฑ3ระบบเครือข8ายด:วย RFID
RFID Inventory Management Systemผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
ผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นางสาวฝ้ายทอง ตติยานุพันธ์วงศ์
นายพิริยะ เหมือยไธสง
257DME2020-01วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
VR NEW NORMAL FILMผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายกฤตนู สุริ
258DME2020-02วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Japanese Tea Plantation Interactive Website Edutainmentผศ.กรชวัล ชายผา
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายนครินทร์ ตังคณิตานนท์
259DME2020-04วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Japanese Tea Drinking Mobile Applicationผศ.กรชวัล ชายผา
รศ.กานดา สายแก้ว
นางสาวมธุฤฎา ลิ้มสุวรรณ
260DME2020-05วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Understand the mood for Autism childrenผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
รศ.กานดา สายแก้ว
นางสาววรรณิศา จารุวงค์
261DME2020-06วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
A serious game for assessing and teaching autistic behaviorsผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
ผศ.กรชวัล ชายผา
นางสาวศันศนีย์ ศรีระพล
262DME2020-07วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
VR Dinosaur Museumอ.วาธิส ลีลาภัทร
ผศ.นิยม พินิจการ
นายสุวัชรินทร์ คงเลิศกิตติ
263DME2020-08วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Special Learning Information Serviceรศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
นายถิรวิทย์ ชิตพงษ์
264DME2020-09วิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
Appointment service system web application for PCU students of Khon Kaen Universityรศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายพีรวิชญ์ อนุสุริยา
265EE2020/2-01วิศวกรรมไฟฟ้าการเติมอนุภาคนาโนกราฟีนลงในเมทิลเอสเทอร์เพื่อเพิ่มความคงทน ต่อความเครียดสนามไฟฟ้าและการระบายความร้อนในหม้อแปลงไฟฟ้า
Nano Graphene filler in Methyl ester as transformer oil for an improvement of Electrical Breakdown Strength and Cooling Enhancementโครงงานนี้เป็นการทดลองการเติมอนุภาคนาโนกราฟีนลงในเมทิลเอสเทอร์เพื่อเพิ่มความคงทนต่อความเครียดสนามไฟฟ้า และการระบายความร้อนในหม้อแปลงไฟฟ้า จากการสืบค้นข้อมูลพบว่ามีผู้วิจัยที่เติมอนุภาคนาโนกราฟีนลงในน้ำมันหม้อแปลงแล้วสามารถเพิ่มค่าแรงดันไฟฟ้าเบรกดาวน์(Breakdown voltage) และการระบายความร้อนได้ แต่การเติมอนุภาคนาโนกราฟีนค่าแรงดันไฟฟ้า เบรกดาวน์สามารถลดลงได้ ดังนั้นจึงต้องหาปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้ทราบค่าที่ดีที่สุด แต่ยังไม่มีผู้วิจัยเติมอนุภาคนาโนกราฟีนลงในเมทิลเอสเทอร์จากน้ำมันพืชที่ผ่านกระบวนการทรานส์เอสเทอริฟิเคชัน (Transesterification) คณะผู้จัดทำจึงมีแนวคิดใช้ Refined, Bleached and Deodorized Palm Oil (RBDPO) ที่ผ่านกระบวนการ Transesterification เพื่อให้ได้ Palm Oil Methyl Ester (POME) เนื่องจากน้ำมันหม้อแปลงที่ได้จากน้ำมันพืชเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ อีกทั้งการเติมอนุภาคนาโนกราฟีนสามารถเพิ่มค่าแรงดันไฟฟ้าเบรกดาวน์และการระบายความร้อนในเมทิลเอสเทอร์ จากการทดสอบพบว่าเมทิลเอสเทอร์ที่เติมอนุภาคนาโนกราฟีนปริมาณ 0.000 0.005 0.010 0.019 และ 0.039 g พบว่าค่าแรงดันไฟฟ้าเบรกดาวน์ (Breakdown voltage) ที่ได้มีค่าต่ำกว่าน้ำมันพืชที่ไม่เติมอนุภาคนาโนกราฟีน เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเติมอนุภาคนาโนกราฟีนในปริมาณมากเกินไป แต่
This project is the experimental of Nano Graphene filler in Methyl ester of transformer oil an improvement of Electrical Breakdown Strength and Cooling Enhancement of transformer oil but adding immoderate Nano Graphene decreases electrical breakdown voltage therefore this project has to research the appropriate quantity of Nano Graphene. From literature survey, there has a lot of research that adding Nano Graphene filler in the mineral oil and then the strength of breakdown voltage is increased but there were none of the research adding Nano Graphene filler in methyl ester. Therefore, transesterification process was employed by the Palm oil product that was Refined, Bleached and Deodorized Palm Oil (RBDPO)due to palm oil is environmentally friendly the aim of this project is an improving the strength of breakdown voltage and thermal properties of RBDPO by the addition of Nano Graphene filler. From the experimental, it was found that adding Nano Graphene filler in Methyl ester with 0.0000, 0.005, 0.010, 0.019, and 0.039 g find that electrical breakdown voltage is less than methyl ester without Nano Graphene. It is because of the addition Nano Graphene in the excessive amount. However, the electrical breakdown voltage of the oil insulation is still comply with IEC 60156 standard.รศ.อำนาจ สุขศรี
ผศ.จงกฤษฏิ์ จงอุดมการณ์
นางสาวพัทธนันท์ วุฒิจินดาโรจน์
นางสาวณัฐริยา เคนสีแก้ว
266EE2020/2-02วิศวกรรมไฟฟ้าการตรวจจับการปลดปล่อยประจุบางส่วนในหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง
Partial Discharge Detection in Power Transformerโครงงานนี้เป็นการศึกษาเรื่องการตรวจจับการปลดปล่อยประจุบางส่วนในหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง ซึ่งการปลดปล่อยประจุบางส่วนเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้ระบบฉนวนไฟฟ้าเกิดความเสียหาย เพื่อแก้ไขปัญหานี้คณะผู้จัดทำได้ทำการออกแบบจำลองการเกิดการปลดปล่อยประจุบางส่วนโดยออกแบบลักษณะของอิเล็กโตรด3 รูปแบบ เป็น Spark gap เพื่อใช้เป็นปรากฏการณ์การปลดปล่อยประจุบางส่วน และใช้ Ultrasonic Sensorเพื่อตรวจจับการปลดปล่อยประจุบางส่วนในหม้อแปลงไฟฟ้ากำลัง โดยแบ่งการทดลองออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนแรกสร้างพัลส์สนามไฟฟ้าจากวงจร Flyback transformer เพื่อจำลองการปลดปล่อยประจุบางส่วน และจัดทำชุดจำลองการปลดปล่อยประจุบางส่วน ในส่วนที่สองสร้างชุดตรวจจับการปลดปล่อยประจุบางส่วนโดยมี Ultrasonic sensor เป็นชุดตรวจจับ ผลการทดลองในโครงงานนี้คือ สามารถสร้างพัลส์สนามไฟฟ้าได้อย่างสมบูรณ์ เพื่อนำไปใช้เป็นแหล่งกำเนิดการปลดปล่อยประจุบางส่วน และสามารถใช้ Ultrasonic Sensor ตรวจจับการเกิดการปลดปล่อยประจุบางส่วนในหม้อแปลงไฟฟ้ากำลังได้
รศ.อำนาจ สุขศรี
นางสาวฐิตินันท์ ศรีทอง
นายเมธัส สุภามา
267EE2020/2-03วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์ฆ่าเชื้อโรคโดยแสง UV-C
UV-C Robotปัจจุบัน การแพร่ระบาดครั้งใหญ่ของเชื้อ COVID-19 สร้างความเสียหายต่อประชาคมโลก ทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม หนึ่งในวิธีกำจัดเชื้อโรคที่มีประสิทธิภาพคือการใช้รังสี UVC จากแหล่งกำเนิดหลอดไฟฟลูออ เรสเซนต์การศึกษาได้พัฒนาหุ่นยนต์ฆ่าเชื้อโรคด้วยแสง UVC ศึกษาระบบควบคุมหุ่นยนต์แบบไร้สาย ออกแบบและ พัฒนาโครงสร้างของหุ่นยนต์ ศึกษาระบบ Sensor ที่เหมาะสม และวงจรหลอดไฟที่ใช้แหล่งจากแบตเตอรี่ โดย หุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นนี้มีระบบการขับเคลื่อนแบบสายพาน ใช้ระบบ Sensor ทั้งแบบ Ultrasonic และ Tracking วงจรหลอดไฟถูกออกแบบมาเพื่อใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ สามารถสั่งการระบบทั้งหมดผ่านโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้น ใน Microcontroller โดยใช้สัญญาณบลูทูธ และใช้กล้องที่มีการเชื่อมต่อแบบ IoT เมื่อนำหุ่นยนต์ไปทดสอบการใช้ งานจริง พบว่าหุ่นยนต์ฆ่าเชื้อโรคด้วยแสง UVC มีระบบภายในที่ค่อนข้างสมบูรณ์ สามารถเคลื่อนที่ด้วยระบบ ขับเคลื่อนได้ดีแม้มีน้ำหนักถึง 23.8 kg ระบบไฟฟ้าในหุ่นยนต์มีการทำงานที่ค่อนข้างราบรื่น Sensor มีความ เหมาะสมและสามารถใช้งานได้ดีกับการใช้งานหุ่นยนต์ และวงจรหลอดไฟสามารถทำงานได้แม้จะอยู่ในสภาวะที่ แหล่งจ่ายมีข้อจำกัดหลายประการ หุ่นยนต์ที่พัฒนาขึ้นนี้จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกที่อำนวยความสะดวกและมี ศักยภาพในการกำจัดเชื้อโรคในพื้นที่สาธารณะซึ่งมีบริเวณกว้าง
Nowadays, coronavirus disease 2019 (COVID-19) is causing health, economics, and social damage on the global community. An efficient approach used to clear up the pathogen is the UVC from fluorescent tube source. This study aims to develop UVC disinfection robot. This work includes study of wireless control system, design and build a robot with tracking and obstruction detect sensor systems. The UVC lighting circuit is also used driven by DC battery onboard. The robot used timing-belt drive system for is wheels.The Bluetoothcontrol command is employed.The installed camera is connected to internet of things (IoT) to monitor the robot path when manually control. The practical tests found that this UVC robot gives satisfied results although its heavy load of 23.8 kg in weight. It can move with both auto-tracking and manually manipulation mode. The UVC can illuminated as expected (15 minute for each disinfect period). This developed UVC disinfection robot can be a convenient and potential choice to eliminate the pathogen in the widely public places.รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายณัฐวุฒิ เหลาศรี
นายกฤตภัค เครือประเสริฐกุล
268EE2020/2-04วิศวกรรมไฟฟ้าหุ#นยนต\\\'เลี้ยงตัวบนลูกบอล
Ball balancing robotโครงงานหุ)นยนต,เลี้ยงตัวบนลูกบอลนี้ สามารถสำเร็จลุล)วงไปไดAดAวยดีเนื่องจากไดAรับคำแนะนำจาก อาจารย,ที่ปรึกษา และความเพียรพยายาม ความตั้งใจของคณะผูAจัดทำเพื่อใหAบรรลุเปNาหมายที่กำหนดไวA ทางผูAจัดทำ ขอขอบพระคุณผูAช)วยศาสตราจารย, ดร.ประมินทร, อาจฤทธิ์ เปVนอย)างสูงที่ใหAคำแนะนำ คำปรึกษา แนวคิดที่เปVน ประโยชน, ตลอดจนแกAไขจุดบกพร)องต)าง ๆ และใหAการสนับสนุนเครื่องมือ เครื่องใชAในการปฏิบัติงาน สุดทAายนี้คณะผูAจัดทำคาดหวังว)าโครงงานฉบับนี้จะเปVนประโยชน,ไม)มากก็นAอยสำหรับผูAที่ศึกษาและสนใจ ในเรื่องหุ)นยนต,เลี้ยงตัวบนลูกบอลนี้ หากผิดพลาดประการใดคณะผูAจัดทำขอนAอมรับความผิดพลาดนี้ไวAและยินดีรับ ฟ[งคำแนะนำเพื่อไปปรับปรุงพัฒนาโครงงานใหAดียิ่งขึ้น
โครงงานจัดทำขึ้นเพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบหุ)นยนต,เลี้ยงตัวบนลูกบอล ศึกษาการควบคุมการ เคลื่อนที่ในแนวราบและการทรงตัวของหุ)นยนต,บนลูกบอล ในการศึกษาไดAแบ)งขั้นตอนการดำเนินงานเปVน 3 ขั้นตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ทำการศึกษาทฤษฎีและหลักการทำงานของ Ballbot ตอนที่ 2 ออกแบบโครงสรAางของหุ)นยนต,และ ระบบวงจร ตอนที่ 3 ทดสอบการทำงานของ IMU (Inertial Measurement Unit) จากการดำเนินงานทั้ง 3 ขั้นตอน ไดAผลการศึกษาว)า IMU คือค)าที่วัดไดAจากความเร)งเชิงเสAนและความเร็ว เชิงมุมเพื่อตรวจวัดความเอียงและการเคลื่อนไหว เปVนค)าที่วัดไดAจากอุปกรณ,ที่มี Accelerometer และ Gyroscope ในโครงงานนี้เลือกใชA MPU6050 ในการอ)านมุม โดยทำการทดลองอยู) 3 กรณี นั่นคือ การวัดมุมเมื่อวางเซนเซอร,ไวA กับที่ การวัดมุมเมื่อมีการสั่นสะเทือนเกิดขึ้น และการวัดมุมเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของมุม จากการทดลองทำใหA ทราบว)ามุมที่คำนวณไดAจาก gyroscope และ accelerometer ไม)สามารถนำมาใชAไดAในการใชAงานจริง ส)วนมุมที่ ผ)านการใชA complementary filter จะเปVนการรวมขAอดีของมุมที่คำนวณไดAจาก gyroscope และมุมที่คำนวณไดA จาก accelerometer ซึ่งมุมที่ไดAนั้นจะมีการส)ายของมุมที่นAอยมาก แต)ก็ยังไม)สามารถกำจัดขAอเสียในเรื่องการส)าย ของมุมเมื่อเกิดการสั่นสะเทือน และความไม)แม)นยำในการอ)านมุมเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงของมุมไดAหมด แต)ก็อยู)ใน ระดับที่ยอมรับไดAรศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายพีรพงษ์ สอนส่งกลิ่น
นางสาวกมลชนก ทนุจันทร์
269EE2020/2-05วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาและพัฒนาระบบควบคุมตำแหน่งแขนกลอุตสาหกรรมด้วยวิธีประมวลผลภาพ
Study and Development Of a Position Control System For Industrial Robot Arm using Image Processingโครงงานนี้เป็นการศึกษาและพัฒนาระบบควบคุมหุ่นยนต์แขนกล เพื่อให้หุ่นยนต์สามารถตรวจจับชิ้นงานที่เราต้องการ โดยมีบอร์ด Jetson nano developer kit เป็นตัวคอยสั่งการและช่วยประมวลผลเพื่อให้กับหุ่นยนต์แขนกล และใช้โปรแกรม CiRA CORE ในการเขียนโปรแกรมในการทำ deep leaning ให้กับตัวบอร์ดจึงทำให้สามารถจดจำลักษณะของชิ้นงานที่ต้องการได้ หรือที่เรียกกันว่า Deep detection ซึ่งจะทำให้ตัวบอร์ด Jetson nano developer kit สามารถแยกแยะและประมวลผลชิ้นงานได้ตามที่เราต้องการ โดยจะทดลองจากหุ่นยนต์แขนกล ER-2U จำลอง เพื่อทดสอบว่า โปรแกรม และบอร์ด Jetson nano developer kit สามารถทำงานร่วมกันได้ดีหรือไม่ หลังจากนั้นจะทำการติดตั้งกล้องเพื่อทดสอบว่าตัวบอร์ดสามารถรับค่าจากกล้องแล้วสามารถแยกแยะวัตถุได้หรือไม่ ผลจากการทดลองพบว่าตัวบอร์ด Jetson nano developer kit สามารถทำงานร่วมกับโปรแกรม CiRA CORE ได้และทำให้หุ่นยนต์แขนกล ER-2U จำลอง สามารถขยับได้ และ สามารถรับค่าจากกล้องแล้วสามารถประมวลผลและแยกแยะชิ้นงานได้
This project is an education and development of a robot arm control system, for a robot arm to allow robots to detect. The workpiece we need. The Jetson nano developer kit board is the command and processor of the robot. And uses the CiRA CORE program to the deep learning of the board, thereby recognizing its characteristics of the desired workpiece. Also known as Deep detection, this allows the Jetson nano developer kit board to distinguish and process the workpiece we want. The experiment will be based on Robotic Arm ER-2U Simulator to test whether the program and the Jetson nano developer kit board work together well. After that, the camera will be installed to test whether the board can receive the values from the camera and can distinguish objects. The results showed that the Jetson nano developer kit board is compatible with the CiRA CORE program, and allows Robotic Arm ER-2U Simulator to move and receive values from the camera and can process and sort the pieces. Can workรศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
รศ.ธนา ราษฎร์ภักดี
นายณรงค์ศักดิ์ ประมวณ
270EE2020/2-06วิศวกรรมไฟฟ้าการปรับปรุงระบบควบคุมหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม
DEVELOPMENT OF CONTROL SYSTEM FOR AN INDUSTRIAL ROBOT ARMโครงการนี้เป็นการศึกษาและพัฒนาและสร้างหุ่นยนต์แขนกลรวมถึงระบบควบคุมเพื่อใช้ในการศึกษาและจำลองระบบอัตโนมัติ โดยผู้จัดทำโครงการได้ทำการสร้างหุ่นยนต์แขนกลที่มี 6 แกนองศาอิสระขึ้นมา ซึ่งประกอบด้วยมอเตอร์กระแสตรง 3 ตัว สเต็ปเปอร์มอเตอร์ 1 ตัวและเซอร์โวมอเตอร์ 2 ตัว โดยศึกษาการควบคุมมอเตอร์และออกแบบวงจรควบคุมรวมถึงเขียนโปรแกรมควบคุมจากบอร์ดไมโครคอนโทรลเลอร์ได้ ซึ่งการควบคุมหุ่นยนต์แขนกลนั้นจะสามารถควบคุมได้ทั้งระบบแมนนวลและระบบอัตโนมัติ โดยระบบแมนนวลนั้นจะใช้โปรแกรม Arduino IDE ในการควบคุมสวิตช์บังคับทิศทาง และระบบอัตโนมัตินั้นจะใช้โปรแกรม Arduino IDE ร่วมกับโปรแกรม CiRA CORE ซึ่งใช้ในการตัดสินใจให้หุ่นยนต์แขนกลเลือกหยิบและวางวัตถุตามตำแหน่งที่กำหนดไว้ได้ ผลการทดลองพบว่าแขนกลสามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์คือสามารถตรวจจับวัตถุและตำแหน่งของ gripper ได้ และสามารถหยิบวัตถุมาวางในตำแหน่งที่ต้องการได้อย่างถูกต้อง
This project is to study and develop and build the robot arm and control systems for use in the study and simulation of automation. The project organizer has built a 6-axis mechanical arm robot with degrees of freedom which consists of 3 DC motors, 1 stepper motor and 2 servo motors. By studying motor control and control circuit design as well as writing control programs from the microcontroller board. In which the control of the robot arm can be controlled by both manual and automatic systems. The manual system will use the Arduino IDE program to control the directional switch. And the automation system will use the program Arduino IDE together with the CiRA CORE program which use to decide which robot arm to detect, pick up and place objects according to the specified position. The results showed that the mechanical arm was able to function as intended, which was able to detect the object and the position of the gripper, and that the object could be picked up and placed in the desired position.รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
รศ.ธนา ราษฎร์ภักดี
นายธนโชติ ปานาโต
271EE2020/2-07วิศวกรรมไฟฟ้าการใช้แบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟต แทนแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดในวีลแชร์
Using of Lithium Iron Phosphate batteries instead of Lead-acid batteries in wheelchair.เนื่องจากโรงเรียนศรีสังวาลย์ขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมืองขอนแก่น จ.ขอนแก่น มีผู้ใช้วีลแชร์เป็นจานวนมาก ซึ่งวีลแชร์ส่วนใหญ่จะใช้แบตเตอรี่แบบตะกั่ว-กรด พบว่าแบตเตอรี่มีปัญหาเรื่องการเสื่อมสภาพเร็วและน้าหนัก ค่อนข้างมาก ผู้จัดทา จึงได้นา แบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟตมาใช้แทนแบตเตอรี่แบบตะกั่ว-กรดในวีลแชร์เพราะมี นา้ หนักเบาและมีอายุการใช้งานที่นานกว่า โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบไฟฟ้าให้ใช้แบตเตอรี่ลิเธียม ไอรอนฟอสเฟตในวีลแชร์ การทดสอบระบบย่อยแบ่งออกเป็น 3 การทดสอบ คือ การออกแบบแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟต จากการนาแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟต 3.2 V 6 Ah จานวน 8 ก้อน มาต่ออนุกรมกันและทาการติดตั้ง BMS 8S 40 A/20 A ผลการทดสอบพบว่าได้แบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟต 26.2 V 6 Ah ที่มีวงจรสมดุลเซลลแ์ ละวงจร ป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินภายในตัว การทดสอบขณะไม่มีโหลดเชิงไฟฟ้าเป็นเวลา 3 วัน พบว่าแรงดันไฟฟ้าของ แบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟตคงที่แต่แรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดลดลงตามเวลา การทดสอบแบตเตอรี่ ตะก่วั -กรดและแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟตกับโหลดชนิดหลอดไฟฟ้า ผลการทดลองพบว่าแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด สามารถจ่ายแรงดันไฟฟ้าได้ 7 ชม โดยที่แรงดันไฟฟ้าเริ่มต้นเท่ากับ 26.4 V และสิ้นสุดที่ 16.3 V ส่วนแบตเตอรี่ ลิเธียมไอรอนฟอสเฟตสามารถจ่ายแรงดันไฟฟ้าได้ 4 ชม. โดยที่แรงดันไฟฟ้าเริ่มต้นที่ 26.4 V สิ้นสุดที่ 23.8 V เนื่องจากระบบจัดการแบตเตอรี่ตั้งค่าที่ 60 %DOD เพื่อให้อายุแบตเตอรี่ยาวนาน การทดสอบระบบรวมแบ่งออกเป็น 3 การทดสอบคือการทดสอบวีลแชร์เบื้องต้น ผลการทดสอบพบว่า วีลแชร์หนัก 50 kg และปรับระดับความเร็วได้ 3 ระดับ, การทดสอบแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดและแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอน ฟอสเฟตในวีลแชร์ขณะไม่มีผู้ใช้งานจะทดสอบการอัดประจุไฟฟ้าและการคายประจุไฟฟ้า ในช่วงการคายประจุไฟฟ้า ผลการทดสอบพบว่าที่ระดับความเร็วทั้ง 3 ระดับ มีลักษณะกราฟระหว่างแรงดันไฟฟ้ากับเวลาคลา้ ยกันนั่นคือเป็น ลักษณะเส้นตรง โดยที่แรงดันไฟฟ้าเริ่มต้นเท่ากันที่ 26.4 V แบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดสิ้นสุดที่ 20.4 V ถูกใช้งานจน แบตเตอรี่หมดส่งผลให้รอบการใช้งานลดลง ส่วนแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟต สิ้นสุดที่ 23.8 V เนื่องจากมีระบบ จัดการแบตเตอรี่ทา ให้รอบการใช้งานมากว่าแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรด ในส่วนของระยะเวลาที่วีลแชร์ใช้งานจะลดลงเมื่อ เพิ่มระดับความเร็ว การทดสอบแบตเตอรี่ตะกั่ว-กรดและแบตเตอรี่ลิเธียมไอรอนฟอสเฟตในวีลแชร์ขณะมีผู้ใช้งาน มวล 50 และ 62 kg ผลการทดลองพบว่ามวลของผู้ใช้งานมีผลต่อระยะเวลาที่วีลแชร์ทา งาน นั่นคือขณะไม่มีผู้ใช้ สามารถใช้งานได้นานกว่าขณะมีผู้ใช้งานมวล 50 และ 62 kg ตามลาดับ
Since Srisangwan School, Khon Kaen Sub-district, Muang District, Khon Kaen Province, has a large number of wheelchair users, most of wheelchair use a Lead-acid battery. The battery has a problem of deteriorating quickly and has a lot of weight. Therefore, the authors use Lithium Iron Phosphate battery to replace Lead-acid battery in wheelchair because of their lighter and longer service life. This project is aims to design the Lithium Iron Phosphate battery system in with wheelchair. The subsystem test is divided in 3 tests, Case 1 Lithium Iron Phosphate battery design: the result of using 3.2 V 6 Ah Lithium Iron Phosphate batteries of 8 cells were connected in series and installed BMS 8 S 40 A/20 A. We found that 26.2 V 6 Ah Lithium Iron Phosphate battery has the cell balancing and protection circuit. Case 2 The voltage of both 2 types batteries test in 3 days and no load: the result shows that the voltage of the Lithium Iron Phosphate battery is more stable than that of the lead-acid battery. Case 3 The voltage of both 2 types batteries test with the lamp: the results show that the Lead-acid battery can supply voltage for 7 hours and voltage decreases 26.4 V to 16.3 V. The Lithium Iron Phosphate battery can supply voltage for 4 hours and voltage decreases 26.4 V to 23.8 V because the battery management system is set at 60 %DOD to provide long battery life. The combined system test is divided in 3 tests. Case 1 The preliminary wheelchair test: the results show that the weight of wheelchair is 50 kg and has 3 speed levels. Case 2 The voltage of both 2 types batteries in wheelchair tests with the no user in charging and discharging: During electric discharge, the results show that all of 3 speeds the trend of voltage is almost the same. The voltage decreases 26.4 V to 20.4 V for Lead-acid battery and 26.4 V to 23.8 V for Lithium Iron Phosphate battery because due to the battery management system. The using time of wheelchair decreases with increasing speed. Case 3 The voltage of both 2 types batteries in wheelchair test with user mass of 50 and 60 kg: We found that the mass of the user affects on the using time of wheelchair.รศ.อาคม แก้วระวัง
นางสาวนันทชา กลางกาญจน์
นางสาวสิตารักษ์ ภูพาที
272EE2020/2-08วิศวกรรมไฟฟ้าการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT เพื่อป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Application of IoT in Fall Elderly Detection Systemประเทศไทยในปัจจุบันกาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรร้อยละ 16.73 ของประเทศเป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป [1] การหกล้มในวัยสูงอายุเป็นอันตรายมากกว่าคนในวัยอื่นอย่างมาก และถูกจัดให้เป็นปัญหาสุขภาพที่สาคัญ [3] ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อร่างกายและจิตใจ ของผู้สูงอายุ เช่น การปวดเมื่อยเรื้อรัง ความกลัวการหกล้ม เป็นต้น แนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดคือป้องกันปัญหาข้างต้นไม่ให้เกิดขึ้น หากผู้สูงอายุไม่ได้รับการป้องกันหรือช่วยเหลืออย่างทันท่วงที ผลของการหกล้มอาจทาให้ผู้สูงอายุพิการหรือเสียชีวิตได้ คณะผู้จัดทาได้พัฒนาอุปกรณ์ป้องกันและตรวจจับการหกล้ม โดยคานึงถึงการใช้ชีวิตประจาวันของผู้สูงอายุ อุปกรณ์ตรวจจับการหกล้มถูกออกแบบให้เหมือนนาฬิกาข้อมือ ซึ่งสามารถสวมใส่ได้สะดวก เมื่ออุปกรณ์ตรวจพบการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ อุปกรณ์ดังกล่าว จะแจ้งเตือนในรูปแบบข้อความและเสียง โดยข้อความจะถูกส่งผ่านช่องทาง Line Application อุปกรณ์ข้างต้นใช้เซ็นเซอร์ MPU6050 ซึ่งทาหน้าที่ตรวจจับการเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุ ส่วนอุปกรณ์ป้องกันการหกล้มจะถูกติดตั้งบริเวณที่มีความเสี่ยงต่อการหกล้ม ภายในอุปกรณ์ดังกล่าวประกอบด้วย RCWL- 0516 Microwave Radar เมื่ออุปกรณ์ตรวจพบการเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุ หลอดไฟจะเพิ่มความสว่างขึ้น ประสิทธิภาพในการตรวจจับการหกล้มของอุปกรณ์ มีความถูกต้องแม่นยา 88.25 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีค่าสูงกว่างานวิจัยที่ใช้เซ็นเซอร์ชนิดเดียวกัน อุปกรณ์ป้องกันและตรวจจับการหกล้มสามารถลดอัตราการหกล้มได้ ทาให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพต่อไป
Thailand is going to the aging of society, 16.73% of all country are over 60 years old.[1] Elderly fall is more hazardous than other ages, so this trouble is a crucial health issue.[3] This morbidity could be the cause of the physical and mental health issue, for instance, chronic aches or fear of falling. The best option is prevention. If they were not getting reached out on time, the consequences could lead to disability or death. In this project, we invent the protective equipment considering to daily life that includes two components, detective and preventive ones. For convenience, the gadget will be on the elder’s wrist as a watch and works when it detects any unusual trembling by making a notification in the form of sound and texts via Line Notify. The detective one is composed MPU6050 as a falling detector. For the preventive part, it also has RCWL-0516 Microwave Radar. This part will be stimulated by catching movements that will cause the component to brighten. Finally, the accuracy of the detective device is 88.25 %. An actual result that is higher than the other research with the same component. Therefore, this equipment could let the elder have good health and ready for the aging of society with quality.ผศ.ภูริพงศ์ สุทธิโสภาพันธ์
นายณัฐพนธ์ กมลทวิกุล
นายกฤษณ์ มิตรดำรงค์
273EE2020/2-09วิศวกรรมไฟฟ้าผ้าห่มอัจฉริยะสาหรับผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
Smart blanket for impaired thermoregulation patientsโรคระบบประสาทส่งผลต่อการไหลเวียนเลือดภายในสมองลดลง ผลกระทบดังกล่าวทาให้ผู้ป่วยเกิดภาวะแทรกซ้อน ภาวะดังกล่าวส่งผลให้สมองของผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายอยู่ในระดับปกติที่ 36.5 องศาเซลเซียสได้ ผู้ป่วยที่เกิดภาวะแทรกซ้อนถูกช่วยเหลือโดยการเช็ดตัวด้วยน้าธรรมดา ปัญหาจากการเช็ดตัวทาให้เกิดอาการแทรกซ้อนตามมา เช่น ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบายและเกิดอาการหนาวสั่น คณะผู้จัดทามีแนวคิดในการสร้างผ้าห่มอัจฉริยะสาหรับผู้ป่วยระบบประสาท การลดลงของอุณหภูมิผู้ป่วยเกิดขึ้นได้จากการใช้เพลเทียร์ทาความเย็น การทางานของผ้าห่มเป็นระบบอัตโนมัติเพื่ออานวยความสะดวกแก่บุคลากรทางการแพทย์ การทางานจะเริ่มต้นเมื่ออุณหภูมิผู้ป่วยมีค่าเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ระบบการทางานถูกควบคุมด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ (NodeMCU) ซึ่งรับค่ามาจากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ (NTC 3950) ผลการทดลองใช้ผ้าห่มอัจฉริยะกับผู้ป่วยระบบประสาท ผ้าห่มอัจฉริยะสามารถลดอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยโดยไม่เกิดอาการแทรกซ้อน ในขณะที่การเช็ดตัวด้วยน้าธรรมดาทาให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่สุขสบาย ดังนั้นผ้าห่มอัจฉริยะสามารถเป็นเครื่องมือช่วยเหลือผู้ป่วยระบบประสาท อีกทั้งยังลดจานวนบุคลากรทางการแพทย์เพื่อดูแลผู้ป่วยได้
Nerve disease affects poor blood circulation in the brain. The effect is the cause of many complications with patients. Impaired thermoregulation patients’ brain is unable to control body temperature at the normal level of 36.5 degrees Celsius. Patients are helped by the tepid sponge. The tepid sponge would make many complications, such as uncomfortable and shivering. Consequently, we invented The Smart Blanket for impaired thermoregulation patients. Smart Blanket can reduce patients’ temperature with the cooling by Peltier. The automatic system operation facilitates Medical personnel. The operation is starting when the body temperature is higher than 36.5 degrees Celsius. The automatic system is controlled by The NodeMCU microcontroller and getting temperature from NTC 3950 temperature sensor. For the experiment, The Smart Blanket is able to reduce body temperature with no complications were found while the tepid sponge makes an uncomfortable feeling. Therefore, The Smart Blanket can be the medical equipment for impaired thermoregulation patients. Also, reduce the number of medical personnelผศ.ภูริพงศ์ สุทธิโสภาพันธ์
นายพีรวิชญ์ มงคลโชติการ
นางสาวณัฏฐ์ชญา คณะไชย
274EE2020/2-10วิศวกรรมไฟฟ้าการสร้างระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากคลื่นมหาสมุทร
A prototype fabrication of electrical power generation system from ocean wave energyรศ.พิรัสม์ คุณกิตติ
นายรุจิกร เพ็งวิชัย
นายรัชชภูมิ คำปิวทา
275EE2020/2-11วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิด สวิตซ์ฟลักซ์แบบ 9 เฟส
Efficiency improvement of the 9-phases Switched Flux Permanent Magnet Generatorปัจจุบันพลังงานไฟฟ้ามีส่วนสาคัญในการใช้ชีวิตของเราเป็นอย่างมาก ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าสิ่งที่สาคัญที่สุดคือ เครื่องกาเนิดพลังงานไฟฟ้า และต้องใช้เชื้อเพลิงในการผลิต ซึ่งพลังงานที่ใช้ในการผลิตส่วนใหญ่เป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นพลังงานทดแทน เช่น พลังงานน้า และ พลังงานลม จึงเป็นพลังงานทางเลือกที่ยั่งยืนในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ทางผู้จัดทาจึงได้เลือกเครื่องกาเนิดพลังงานไฟฟ้าให้เหมาะสมกับพลังงานทดแทน นั่นคือ เครื่องกาเนิดพลังงานไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิดสวิตซ์ฟลักซ์แบบ 9 เฟส และยังสามารถนามาพัฒนาต่อยอดได้โดยใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกาเนิดพลังงานไฟฟ้าชนิดนี้ การเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิด สวิตซ์ฟลักซ์แบบ 9 เฟสจัดทาขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างแบบจาลองของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรชนิดสวิตซ์ฟลักซ์ แบบ 9 เฟส และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรชนิดสวิตซ์ฟลักซ์ แบบ 9 เฟส โดยแบ่งขั้นตอนการดาเนินงานออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. การสร้างตัวต้นแบบของ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิด สวิตช์ฟลักซ์แบบ 9 เฟส 36/34 ซึ่งถูกพัฒนามาจากงานวิจัยของ Z. Q. Zhu และ and J. T. Chen ในปีค.ศ. 2010 ทาการสร้างโครงสร้างตัวต้นแบบดังที่กล่าวไปข้างต้นมีเป้าหมายเพื่อเป็นตัวอ้างอิงสาหรับขั้นตอนต่อไป คือการพัฒนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิดสวิตช์ฟลักซ์ 2. การพัฒนาโครงสร้างด้วย E-core technique, C-core technique และ V-shape technique ของ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบบแม่เหล็กถาวรชนิด สวิตช์ฟลักซ์แบบ 9 เฟส 36/34 เนื่องจากระยะเวลาที่ไม่เพียงพอต่อการทดลองจึงทาการตัด V-shape technique ออก จากการทดลองในภาคการศึกษาเทอมต้นและภาคการศึกษาเทอมปลายจะได้โครงสร้าง 1.4 0.85 E-core 18/35 ที่ 85 รอบ และโครงสร้าง 1.4 0.85 C-core 18/37 ที่ 80 รอบ เมื่อพิจารณาที่กระแสเท่ากับ 5 A ที่ความเร็วรอบ 500 rpm สามารถผลิตค่า voltage ที่ rated เท่ากับ 220 v และ power ที่ rated เท่ากับ 10 kW เทียบเท่ากับ rated ของตัวต้นแบบ โดยที่ทั้งสองโครงสร้างใช้จำนวนแม่เหล็กน้อยกว่าตัวต้นแบบถึงสองเท่า แต่ในที่นี้ตัวต้นแบบได้ทำการเผื่อค่า voltage เป็น 1.2 เท่า จะได้ voltage เท่ากับ 264 v และค่า power เท่ากับ 14.6 Kw โดยโครงสร้างตัวต้นแบบพิจารณากระแสเท่ากับ 6.1 A ที่ความเร็วรอบ 500 rpm จากผลที่ได้โครงสร้าง E core และ C core พบว่าทั้งสองโครงสร้างให้ประสิทธิภาพที่ดีกว่าตัวต้นแบบโดยที่โครงสร้างต้นแบบให้ประสิทธิภาพ 94 % โครงสร้าง E-Core ให้ประสิทธิภาพ 95.71 % และโครงสร้าง C-Core ให้ประสิทธิภาพ 96.97 % ทั้งนี้ไม่เพียงแต่ประสิทธิภาพจะเพิ่มขึ้นแต่ยังสามารถลดต้นทุนจากแม่เหล็กที่ลดน้อยลงถึงสองเท่าเมื่อนาไปทดลองทาโครงสร้างตัวจริง
Nowadays, electric energy plays a very important role in our lives. In the production of electric power, the most important thing is a generator and it takes fuel to produce. In which most of the energy used in the production is used energy which causes pollution to the environment. Therefore, renewable energy such as hydro and wind power is sustainable alternative energy to electricity generation. The organizers have chosen to generate electrical power for the renewable energy generator is a permanent magnet type switches flux 9 phase. And can also be further developed by using various techniques to increase the efficiency of this type of electric power generator. Optimizing the efficiency of a 9-phase switch-flux permanent magnet generator was intended to create a model of a 9-phase switch-flux permanent magnet generator and to increase the efficiency of a 9-phase switch-flux permanent magnet generator.The operation process is divided into 2parts: 1.Creating a prototype of Permanent magnet type generator The 9-phase 36/34 flux switch was developed from research by Z. Q. Zhu and J.T. Chen in 2010.The prototype structure was made as above, aiming to be a reference for the next step Is the development of a flux-type permanent magnet generator. 2.Developed with the E-core technique, C-core technique, and V-shape technique of permanent magnet generator. 9-phase flux switch 36/34. Due to insufficient timing for the experiment, the V-shape technique was removed. From the experiment in the early semester and the end semester, the structure was 1.4 0.85 E-core 18/35 85 turns coil and 1.4 0.85 C-core 18/37 80 round coil structure. Considering a current of 5 A at 500 rpm, it can produce a rated voltage of 220 V and a power rated of 10 kW, which is equivalent to the rated power of the prototype structure. Both structures use twice the amount of magnetism than the prototype structure. But here the prototype allows for a voltage gain of 1.2 times to get a voltage of 264 V and a power factor of 14.6 kW, with the prototype constructing a current of 6.1 A at 500 rpm From the results obtained from the E core and C core structure, it was found that both structures provide better performance than the prototype, with the prototype being 94% efficient, the E-Core building 95.71% and the C-Core architecture 96.97%.รศ.พิรัสม์ คุณกิตติ
นายภัทรภูมิ ปานหิรัญ
นายรณกฤต มีดี
276EE2020/2-12วิศวกรรมไฟฟ้าการวิเคราะห์ผลกระทบของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่มีต่อระบบไฟฟ้ากำลังในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Impact Analysis of Solar Photovoltaic System on Electric Power System in Khon Kaen Universityผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายนิพล แก้วดอนหัน
277EE2020/2-13วิศวกรรมไฟฟ้าการจัดตารางการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างเหมาะสมภายในอาคาร
The Optimal Scheduling of Electrical Devices Usage in Buildingผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นางสาวสุกัญญา กุบัณฑิต
นางสาวหทัยกานต์ บรรเทิงใจ
278EE2020/2-14วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาแบบจำลองการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าในอาคาร
A Study of Power Demand Forecasting Model In Buildingผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นางสาวดลรยา เกษสุภะ
นางสาวปริณดา ศรีพรหม
279EE2020/2-15วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดยใช้กระจำเงารวมแสงและการระบายความร้อนด้วยน้ำ
Improving Efficiency of Solar Photovoltaic System by Using Combined Light Mirror and Water Cooling Systemผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายภาณุ จันทรสมบัติ
นายวชิรวิชญ์ พละกล้า
280EE2020/2-16วิศวกรรมไฟฟ้าพื้นเก็บเกี่ยวพลังงาน
Energy harvesting Floorผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
ผศ.จงกฤษฏิ์ จงอุดมการณ์
นายฐิติพล พิมพล
281EE2020/2-17วิศวกรรมไฟฟ้าแหล่งจ่ายกำลังแบบไร้หน้าสัมผัสสำหรับรถรางไฟฟ้า
A contactless power supply system for rail guided vehicleผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
ผศ.จงกฤษฏิ์ จงอุดมการณ์
นายสิรวิชญ์ วุฒิพิริยะอังกูร
นายวศิน เป็นครบ
282EE2020/2-18วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้ระบบพลังงานแสงอาทิตย์แบบรวมแสงความเข้มแสงต่ำ
Increasing efficiency of solar cell system based on low concentrated photovoltaics systemผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นางสาวจิราวรรณ ช่วยปุ้ง
นางสาวศิริญรัตน์ เหลาพรม
283EE2020/2-19วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาวงจรอินเวอเตอร์สำหรับเซลล์พลังแสงอมทิตย์
The study of Inverter for Photovoltaics cellผศ.จงกฤษฏิ์ จงอุดมการณ์
นายพงศกร นันตะสุข
นายพัฒนเดช บุญหา
284EE2020/2-23วิศวกรรมไฟฟ้า-
Image processing for checking the integrity of the grainผศ.กิตติพิชญ์ มีสวาสดิ์
นายจารุวิทย์ โยคะสิงห์
นางสาวพัฑฒิดา พันธ์แก้ว
285Env2020-01วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกำจัดไนโตรเจนจากน้ำเสียชุมชนโดยใช้ระบบเอสบีอาร์ภายใต้สภาวะกึ่งไร้อากาศ
-โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบำบัดไนโตรเจนด้วยระบบบำบัดน้ำเสียแบบเอสบีอาร์ภายใต้สภาวะขาดอากาศ การทดลองแบ่งเป็น 3 แบบโดยใช้ถังปฏิกิริยา A B และ C โดยถังปฏิกิริยา A และ B ใช้น้ำเสียสังเคราะห์ที่เตรียมจากน้ำเสียชุมชนผสมน้ำตาลในสัดส่วน 1 กรัมต่อน้ำเสีย 1 ลิตร ส่วนถังปฏิกิริยา C ใช้น้ำเสียชุมชนที่ไม่มีการผสมน้ำตาล ในการดินระบบให้เกิดสภาวะขาดอากาศ ถังปฏิกิริยา A และ C มีการเปิดเครื่องเติมอากาศ 6 ชั่วโมง และสลับกับการปิดเครื่องเครื่องเติมอากาศ 6 ชั่วโมง ส่วนถังปฏิกิริยา B จะเปิดเครื่องเติมอากาศตลอดเวลา จากการทดลองพบว่า ค่าเฉลี่ย TKN ก่อนบำบัดของถังปฏิกิริยา A และ B คือ 20.35 mg/l และ ค่าเฉลี่ย TKN ก่อนบัดของถังปฏิกิริยา C คือ 20.27 mg/l จากการทดลองให้เกิดสภาวะขาดอากาศในถังปฏิกิริยา A และ C ส่วนถังปฏิกิริยา B เติมอากาศตลอดเวลา พบว่า ถังปฏิกิริยา A B และ C สามารถบำบัด TKN ได้ 1.17 1.38 และ 0.94 mg/l ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าทุกถังปฏิกิริยาสำมารถบำบัด TKN ได้ ค่าเฉลี่ยของ ไนเทรต-ไนโตรเจน ก่อนบัดของถังปฏิกิริยา A และ B คือ 0.92 mg/l และค่าเฉลี่ยของ ไนเทรต - ไนโตรเจน ก่อนบัดของถังปฏิกิริยา C คือ 0.46 mg/l จากการทดลองให้เกิดสภาวะขาดอากาศในถังปฏิกิริยา A และ C ส่วนถังปฏิกิริยา B เติมอากาศตลอดเวลา พบว่า ถังปฏิกิริยา A B และ C สามารถบำบัดไนเทรต – ไนโตรเจน 1.27 11.97 และ 43.67 mg/l ตามลำดับ แสดงให้เห็นว่าภายในถังปฏิกิริยามีการสะสมของไนเทรต – ไนโตรเจน ที่ถูกเปลี่ยนรูปมาจาก TKN อย่างไรก็ตามภายใต้สภาวขาดอากาศในถังปฏิกิริยา A สามารถบำบัด ไนเทรต – ไนโตรเจน ได้ดีกว่าถังปฏิกิริยา B ซึ่งไม่ได้เดินระบบภายใต้สภาวะขาดอากาศ แม้ว่าปฏิกิริยา C จะถูกควบคุมภายใต้สภาวะขาดอากาศ แต่จุลินทรีย์ที่มีความเข้มข้นต่ำในถังปฏิกิริยา C ทำให้ประสิทธิภาพในการกำจัดไนเทรต – ไนโตรเจนต่ำ
The objective of this project was to study nitrogen removal using with SBR system under anoxic condition. The experiments were divided into 3 types: reactors A, B and C. The reactors A and B used synthetic wastewater which was prepared from mixing domestic wastewater with 1 gram of sugar per 1 liter of the wastewater. The reactor C used domestic wastewater without sugar added. For controlling under anoxic condition. The reactors A and C were toggled on / off the aerator for 6 hours by interval time. The reactor B was turned on the aerator all the time. It was found that average TKN before treatment of reactors A and B was 20.35 mg / l and the average TKN before treatment of reactor C was 20.27 mg / l. For reactor B, the air was constantly aerated, it was found that reactors A B and C were able to treat TKN 1.17, 1.38 and 0.94 mg / l respectively, indicating that all reactors could be treated for TKN. Average of nitrate-nitrogen before treatment of reactors A and B was 0.92 mg / l, and average of nitrate-nitrogen before treatment of reactor C was 0.46 mg / l while reactor B was constantly aerated. It was found that the reactors A, B and C were able to treat nitrate-nitrogen 1.27, 11.97 and 43.67 mg / l, respectively, indicating that within the reaction tank there were an accumulation of nitrate-nitrogen which was transformed from TKN. However, under anoxic condition in reactor A, nitrate-nitrogen treatment was better than reactor B, which was not operating under anoxic condition. Although the reactor C was controlled under anoxic condition, but low concentration of microorganisms in the reactor C caused the low efficiency of nitrate-nitrogen removal.รศ.กัลยกร ขวัญมา
นายพงศ์พสิษฐ์ จันทะลี
นายนิธิพงษ์ ทองนาค
286Env2020-02วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกำจัดสีน้ำล้างเรซินจากการฟอกสีน้ำตาลด้วยวิธีการโคแอกกูเลชัน
-โครงการนี้ศึกษาการกำจัดสีน้ำล้างเรซินจากการฟอกสีน้ำตาลด้วยวิธีการโคแอกกูเลชัน โดยศึกษาผลของพีเอช และความเข้มข้นของสารสร้างตะกอน เพื่อใช้ในการกำจัดสารอินทรีย์ในน้ำก่อนที่จะผ่านกระบวนการ นาโนฟิลเตรชัน จากการศึกษาประสิทธิภาพของสารที่ใช้ตกตะกอน ได้แก่ Alum, Poly aluminium chloride (PACl), Ferric chloride, Chitosan โดยน้ำล้างเรซินจากการฟอกสีน้ำตาล มีค่าพารามิเตอร์ ดังนี้ pH 4.45, ความขุ่น 35.2 NTU, สี 430 ADMI, การดูดกลืนแสง 2.51 cm-1, ซีโอดี 7529.47 mg/L และ ทีโอซี 1942 mg/L จากผลการทดลอง พบว่า สารเคมีที่สามารถกำจัดความขุ่นได้ดี คือ Ferric chloride ที่ pH 8 ประสิทธิภาพ การกำจัด ร้อยละ 97.2 และปริมาณความเข้มข้นที่ 2000 mg/L ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 98 สารเคมี ที่สามารถกำจัดสีได้ดี คือ Ferric chloride ที่ pH 6 ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 82.8 และปริมาณ ความเข้มข้นที่ 4000 mg/L ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 87.4 สารเคมีที่สามารถกำจัด UV254 ได้ดี คือ Ferric chloride ที่ pH 6 ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 70.4 และปริมาณความเข้มข้นที่ 4000 mg/L ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 69.9 สารเคมีที่สามารถกำจัดซีโอดีได้ดี คือ Chitosan ที่ pH 6 ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 7.4 และปริมาณความเข้มข้นที่ 4000 mg/L ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 7.4 และสารเคมีที่สามารถกำจัด ทีโอซีได้ดี คือ Ferric chloride ที่ pH 8 ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 14 และปริมาณความเข้มข้นที่ 4000 mg/L ประสิทธิภาพการกำจัด ร้อยละ 17.8
The project studied the color removal from resin spent water in sugar decolorization process using coagulation by studying the effects of pH and the coagulant dose for use in the removal of organic matter in water before nanofiltration process. According to the study of the effectiveness of precipitation substances including Alum, PACl, Ferric chloride, Chitosan for the purpose of remove the color in the resin in sugar decolorization process and to study type and quantity of coagulants suitable for removing color from resin in sugar decolorization process. According to the measurement of wastewater contains the following parameter values: pH 4.45, Turbidity 35.2 NTU, Color 430 ADMI, UV254 2.51 cm-1, COD 7529.47 mg/L and TOC 1942 mg/L. From the experiment, it was found that the good turbidity removal chemical was Ferric chloride at pH 8 97.2% removal efficiency and 2000 mg/L concentration 98% removal efficiency. The good color removal chemical was Ferric chloride at pH 6. The removal efficiency was 82.8% and the concentration at 4000 mg/L, the efficiency of the removal was 87.4%. The chemicals that were good at UV254 were Ferric chloride at pH 6, the removal efficiency of 70.4% and the concentration at 4000 mg / L. The removal efficiency was 69.9%. The chemicals that could remove COD well were Chitosan at pH 6, a 7.4% removal efficiency and a concentration of 4000 mg/L, the removal efficiency of 7.4% And TOC removal chemical well, it was Ferric chloride at pH 8, the removal efficiency of 14% and the concentration at 4000 mg/L, the removal efficiency of 17.8%.รศ.ธัญลักษณ์ ราษฎร์ภักดี
นางสาวสุธิดา ก่อมขุนทด
นางสาวกมลชนก ทองโสม
287Env2020-03วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการบำบัดสารอินทรีย์ในน้ำประปาด้วยถ่านกัมมันต์
-ผศ.พันวัตต์ พึ่งสาย
นายสิทธิพร ศิวะสุนทร
นายวรินทร์ ผิวเงิน
288Env2020-04วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนกากตะกอนจุลินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งเป็นไฮโดรชาร์
-อุตสาหกรรมเครื่องดื่มเบียร์ในประเทศไทยมีกากตะกอนเกิดขึ้นจำนวนมากจากระบบบำบัดน้ำเสีย โดยงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการเปลี่ยนกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียอุตสาหกรรมเครื่องดื่มให้เป็นพลังงานเชื้อเพลิงในรูปของแข็ง (ไฮโดรชาร์) ด้วยกระบวนการไฮโดรเทอร์มอลคาร์บอไนเซชัน โดยศึกษาปัจจัย ได้แก่ อุณหภูมิที่ (180 ถึง 250 °C), ระยะเวลาทำปฏิกิริยา (1, 5 และ 10 ชั่วโมง) และอัตราส่วนของกากตะกอนและน้ำ 1 : 0.25, 1 : 0.5, 1 : 1 และ 1 : 3 ที่ส่งผลต่อคุณสมบัติของไฮโดรชาร์ กากตะกอนและไฮโดรชาร์ที่ได้ถูกวิเคราะห์คุณสมบัติด้วยเทคนิคได้แก่ ค่าความร้อน (HHVs) องค์ประกอบธาตุ CHN และค่าโดยประมาณ (Proximate analysis) โดยพบว่าค่า HHVs และ energy densification ของไฮโดรชาร์ให้ค่าสูงสุดคือ 13.08 MJ/Kg และ 1.23 ตามลำดับที่สภาวะอัตราส่วนระหว่างกากตะกอนกับน้ำ 1 : 3 ที่อุณหภูมิ 220 °C ระยะเวลาทำปฏิกิริยา 5 ชั่วโมง ปริมาณองค์ประกอบคาร์บอนในไฮโดรชาร์มีปริมาณเพิ่มมากขึ้นในทางกลับกันปริมาณองค์ประกอบของธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจนของไฮโดรชาร์มีค่าลดลงหลังผ่านกระบวนการ HTC เนื่องจากปฏิกิริยา decarboxylation และ dehydration นอกจากนี้ยังพบว่าค่า energy yield และร้อยละน้ำหนักผลิตภัณฑ์ของไฮโดรชาร์ให้ค่าที่สูงกว่าเมื่ออุณหภูมิต่ำลง และปริมาณเถ้าหลังผ่านกระบวนการ HTC พบว่ามีปริมาณลดลง เนื่องจากการชะสารประกอบอนินทรีย์ที่มีอยู่ในกากตะกอนจะถูกสลายตัวออกมาปะปนในน้ำซึ่งสอดคล้องกับร้อยละน้ำหนักผลิตภัณฑ์ที่ลดลง
Brewery industry in Thailand generates high amount of sewage sludge obtained from wastewater treatment unit. This study was conducted on the conversion of brewery sewage sludge to solid fuel as hydrochar using hydrothermal carbonization (HTC). Operation parameters affecting on hydrochar properties were studied, including temperature (180 - 250 °C), time (1, 5 and 10 hours) and solid-to-liquid ratio (S:L, 1 : 0.25, 1 : 0.5, 1 : 1 and 1 : 3). The properties of feedstock and chars derived from brewery sewage sludge were evaluated by higher heating values (HHVs), elemental analysis and proximate analysis. The results showed that the maximum HHVs and energy densification of hydrochar were 13.08 MJ/Kg and 1.23, respectively over the condition of S : L is 1 : 3 at 220 °C and 5 hours reaction time. The carbon content of hydrochar increases, on the other hand, the composition of hydrogen and oxygen decrease after HTC process due to the decarboxylation and dehydration reactions. Besides, the energy yield and % mass yield of hydrochars have improved when the reaction temperature decreases. In addition, the ash content after HTC process was found to be reduced due to leaching the inorganic compounds in the sludge are decomposed into the water, corresponding to the reduced product weight percentageผศ.รัฐบาล ขันธ์โพธิ์น้อย
นางสาวชุติมา สีบูพิมพา
นางสาวปวีณา สุขสมร
289Env2020-05วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำระบบตะกอนเร่งมาใช้บำบัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น
-โครงการวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมเรื่องแนวคิดในการนำระบบตะกอนเร่งมาใช้สำหรับบำบัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวคิดในการนำระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งมาใช้ในการบำบัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น ออกแบบเบื้องต้น และองค์ประกอบหลักต่าง ๆ ของระบบ จากการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องในการออกแบบเบื้องต้นระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งสำหรับบำบัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ BOD เท่ากับ 100 มิลลิกรัมต่อลิตรและปริมาณน้ำเสีย 2400 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ซึ่งนำไปออกแบบเบื้องต้น พบว่า ถังปรับสภาพ จำนวน 1 ถัง มีปริมาตร 314 ลูกบาศก์เมตร เวลากักพัก 3.14 ชั่วโมง ถังเติมอากาศ จำนวน 2 ถัง แต่ละถังมีปริมาตร 107 ลูกบาศก์เมตร ระยะเวลากักตะกอน 10 วัน ความเข้มข้นที่รักษาไว้ในระบบ 4,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ใช้เวลาเติมอากาศ 2.14 ชั่วโมง F/M ของระบบเท่ากับ 0.28 วัน-1 ซึ่งเป็นอัตราการบำบัดธรรมดา ถังตกตะกอน จำนวน 2 ถัง แต่ละถังมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและความลึกเท่ากับ 8 และ 2.8 เมตร ตามลำดับ มีปริมาตร 141 ลูกบาศก์เมตร ระยะเวลากักน้ำ 2.81 ชั่วโมง อัตราไหลล้นผิว 1 ลูกบาศก์เมตรต่อตารางเมตรต่อชั่วโมง ถังเก็บตะกอน จำนวน 1 ถัง มีปริมาตร 26 ลูกบาศก์เมตร เวลาเก็บกักตะกอน 0.26 ชั่วโมง และลานตากตะกอน จำนวน 4 ลาน แต่ละลานตากมีพื้นที่ 55.25 ตารางเมตร และมีรอบการทำงาน 2 วัน จากการออกแบบเบื้องต้นและองค์ประกอบหลักต่าง ๆ ของระบบบำบัดน้ำเสียแบบตะกอนเร่งสำหรับบำบัดน้ำเสียมหาวิทยาลัยขอนแก่น พบว่าใช้พื้นที่ในการก่อสร้างระบบประมาณ 840 ตารางเมตรหรือ 0.6 ไร่ และและประเมินราคาเบื้องต้นที่ใช้ก่อสร้างมีราคารวม 2,741,685 บาท เครื่องจักรที่ต้องใช้ในระบบมีราคารวม 5,653,800 บาท คิดเป็นค่าก่อสร้างและเครื่องจักรทั้งสิ้น 8,395,485 บาท และอัตราค่าไฟในแต่ละเดือนเป็นเงินทั้งสิ้น 106,080 บาท คิดเป็นอัตราค่าไฟ 1.50 บาทต่อลูกบาศก์เมตร
This research aims to study the feasibility and preliminary design the activated sludge wastewater treatment plant in Khon Kaen University The wastewater was collected from the plant and the primary measurement to BOD was shown at 100 milligrams per liter based on the capacity of 2,400 cubic meter per day After having preliminary design, the result of a 314 cubic meters equalization tank with a retention time of 3.14 hours was obtain. Moreover, two aeration tanks of 107 cubic meters each with a hydraulic retention time of 2.14 hour and a sludge age of 10 days to maintain the sludge concentration of 4,000 milligrams per liter was proposed. The conventional rate of F/M ratio was satisfied at 0.28 day-1. For the sedimentation tank design, it was shown that two tanks are required and each tank is equipped with a diameter and depth to 8 and 2.8 meters respectively. Thus, the volume of 141 cubic meters, a retention time 2.81 hours, and a surface overflow rate of 1 cubic meter per square meter per hour was introduced. One sludge holding tank with a volume of 26 cubic meters, sediment storage time 0.26 hours, and there are 4 sludge drying beds, each of which has an area of 55.25 square meters with 2 days working cycle. From the result, it can be estimated the total area for the construction of this wastewater treatment system that requires approximately 840 square meters. The preliminary cost estimate used for construction is 2,741,685 baht, the machinery required to be used in the system has a total cost of 5,653,800 baht, the total installation and machinery cost is 8,395,485 baht and the monthly electricity expense is 106,080 baht, which electricity rate is based on 1.50 baht per cubic meterผศ.อาวุธ ยิ้มแต้
นางสาวนารีนาฏ รันทม
นางสาวจีรนันท์ พลเยี่ยม
290IChE2020-01วิศวกรรมเคมีการหาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการใช้เรซินกรดซัลโฟนิกเกรดการค้า สำหรับปฏิกิริยาดึงน้ำของซอร์บิทอลเพื่อได้ไอโซซอร์ไบด์
Optimization of the commercial sulfonic acid resins for the dehydration of sorbitol into isosorbide.
Isosorbide is someone the most interested component for present day, which applicable component for several purpose for example block building, medicine, plasticize, etc. The dehydration reaction of sorbitol was exhibited with an Bronsted acid catalyst introduced to enhance the reaction to occurs intramolecular of sorbitol. This present work was observed the reaction parameter that directly effects in the reaction including temperature in the range 120-180 ℃, catalyst loading in range 0-5 wt%, and reaction time for 2-12 h. with catalyst Purolite CT269 as commercial catalyst under vacuum condition, which is enhanced elimination of water from reaction. The reaction temperature shown the most performed at 150℃, while lower temperature (120-130℃) remains uncompleted conversion of sorbitol and 180 ℃ the yield of isosorbide become lower. The catalyst loading from 0-5 wt% did affected to yield of isosorbide by without catalyst loading exhibited no reaction occur, while increasing of catlyst loading remains higher of isosorbide yield, surprisingly, at 3 wt% of catalyst loading remains higher than 5 wt%. The reaction was prolonged for 12 h. and 1 h. sampling, then, found that the reaction reached highest yield of isosorbide at 7 h. Even though, the best performance for every parameter was observed, but the performance remains low for only 45.77% yield of isosorbide. Then, the experimental design and optimizing condition were study by using Box-Behnken design and Response surface methodology (RSM) with three-variable that level screening from first part of the study; Temperature from 120-160 ℃ / Catalyst loading from 1-5 wt% / and Reaction time from 2-8 h. The model result remains well-fitted with main effect of each parameter shown that increasing of temperature was the most significant to the reaction. The optimization condition was observed: Temperature at 159.6 ℃, Catalyst loading for 4.8 wt%, and reaction time for 7.75 h., but with this condition appeared the polymerization of isosorbide will be occurred, which could be discussed of unsuitable condition, when the researcher had to decease of expect isosorbide to reduce the temperature to avoid critical polymerization of isosorbide. Then, the optimization become: Temperature at 152.6 ℃, Catalyst loading for 5 wt%, and reaction time for 8 h. Finally, the heist yield of isosorbide remains of 65%, but suggestion condition has to finished within 4 h.รศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นายณัฐพงษ์ เลิศนา
นางสาวณิชกมล แสนสวาท
291IChE2020-02วิศวกรรมเคมีการสกัดไคโตซานจากเห็ดด้วยกระบวนการ Deacetylation เพื่อการบำบัดน้ำเสีย
The Extraction of Chitosan from mushroom by Deacetylation for Wastewater Treatmentในงานวิจัยนี้ได้นำเห็ดฟาง (SM) และเห็ดเข็มทอง (GM) ซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่นมาใช้เป็นวัสดุใหม่ในการสกัดไคโตซานและเปรียบเทียบเปอร์เซ็นต์ของไคโตซานที่สกัดได้จากแต่ละชนิด ไคโตซานที่สกัดได้ถูกนำมาใช้เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติและนำไปใช้ในกระบวนการบำบัดน้ำเสียเป็นตัวตกตะกอน ผลการศึกษาพบว่าไคโตซานที่สกัดได้จาก SM มีปริมาณสูงกว่าจาก GM คุณสมบัติของทั้งสองชนิดได้รับการตรวจสอบโดย FT-IR, TGA, XRD และได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีความคล้ายคลึงกับไคโตซานในเชิงพาณิชย์ ไคโตซานที่สกัดได้ถูกนำไปใช้เป็นสารตกตะกอนชีวภาพกับน้ำเสีย pH 3 และผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสารแขวนลอยทั้งหมด (TSS) ความต้องการออกซิเจนทางเคมี (COD) และความต้องการออกซิเจนทางชีวภาพ (BOD) ลดลง
In this research, Straw mushrooms (SM) and Golden mushrooms (GM), which are readily available in the local were are used as new materials to extract chitosan and to compare the percentage of chitosan extracted from each species. The extracted chitosan was used examined its properties and applied in the wastewater treatment process as the coagulant. The results showed that the amount of extracted chitosan from SM was higher than that from GM. Their properties were examined by FT-IR, TGA, XRD and was proved similarity to commercial chitosan. The extracted chitosan was utilized as biocoagulant with pH 3 wastewater and the results showed a decrease in total suspended solids (TSS), chemical oxygen demand (COD), and biological oxygen demand (BOD).ผศ.ดวงกนก ธนังธีรพงษ์
นายธัชพล นันโมง
292IE-1วิศวกรรมอุตสาหการการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ Advance Manufacturing (8140)
Enhancement of Safety Practice of Laboratory Advance Manufacturing (8140)ผศ.ศิรวดี อรัญนารถ
นายณัฐกฤษ โยธา
นางสาวสุธินี ธีรอำพน
293IE-10วิศวกรรมอุตสาหการสมบัติแรงดึงของวัสดุเชิงประกอบอลูมิเนียมผสมเกรด A356 / ซิลิคอนคาร์ไบด์
Tensile Properties of A356 / SiC Compositesผศ.สุขอังคณา แถลงกัณฑ์
นายปริญญา น้อยเนาลา
นางสาวลักขิกา ไชยกาล
นางสาวสโรชา ศรีษะ
294IE-11วิศวกรรมอุตสาหการการยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ Engineering Materials Laboratory (8204)
Enhancement of Safety Practice of Engineering Materials Laboratory (8204)รศ.ปาพจน์ เจริญอภิบาล
นางสาวฐิติวัลคุ์ มหิพันธุ์
นางสาวศิริลักษณ์ วงศ์ธวัชนุกูล
295IE-12วิศวกรรมอุตสาหการการปรับปรุงกระบวนการการให้บริการของแผนกจักษุวิทยา โรงพยาบาลกรณีศึกษา
The Improvement of Patient Services in an Ophthalmology Department : A Case Studyผศ.อภิชาติ บุญมา
นางสาวปราจรีย์ บัวกอง
นางสาวดรุณี อัคฮาด
นางสาววิภาดา มีโคตรกอง
296IE-13วิศวกรรมอุตสาหการหุ่นยนต์แขนกลอุตสาหกรรม
Industrial Robot Armรศ.ธนา ราษฎร์ภักดี
รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายติสรณ์ ยิ้มปุย
นายธนโชติ ปานาโต
297IE-14วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาตัวควบคุมตำแหน่งแขนกลอุตสาหกรรมด้วยวิธีประมวลผลภาพ
Development of Industrial Robot Arm Position Control by Image Processingรศ.ธนา ราษฎร์ภักดี
รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายพชรพล เขวาลำธาร
นายศุภพิชญ์ สถวีรยานนท์
นายณรงค์ศักดิ์ ประมวณ
298IE-2วิศวกรรมอุตสาหการการหา Break Even Distance ที่เหมาะสมในการขนส่งทางรถไฟของคลังพหลโยธิน – ท่าพระ
The Suitable Break Even Distance for Transportation by Train from Phahonyothin Bangkok Warehouse to Thapra Khon Kaen Warehouse)ผศ.ทวี นาครัชตะอมร
นางสาวเกณิกา ธงชัยพิมลกุล
นางสาวนภัสวรรณ สุดเฉลียว
299IE-3วิศวกรรมอุตสาหการการสำรวจเกณฑ์ในการตัดสินใจในการเลือกผู้ขนส่งสินค้า
A survey of criteria for logistic service provider selectionรศ.ปนิทัศน์ สุรียธนาภาส
นางสาวขวัญสิริ พจนา
นางสาวฐิติยากร ปานทอง
300IE-4วิศวกรรมอุตสาหการการบริหารจัดการสินค้าคงคลังประเภทวัสดุของการติดตั้งแผงโซลาเซลล์ประเภทหลังคา
Inventory Model for Solar Roof Installationศ.กาญจนา เศรษฐนันท์
นางสาวริญญาภัทร์ รัฐวิศาลวรกุล
นางสาวณัฏฐณิชา ทีคำแก้ว
301IE-5วิศวกรรมอุตสาหการอิทธิพลของการเติมเถ้าขี้เลื่อยไม้ยางพาราต่อสมบัติของแบบหล่อทรายชื้นและคุณภาพชิ้นงานเหล็กหล่อ
Effect of addition of Sawdust ash of rubber wood on Molding Sand Properties and The Quality of Cast Ironรศ.ชาญณรงค์ สายแก้ว
นางสาววริศรา คุณละ
นางสาวสปัน วีระผดุงผล
302IE-6วิศวกรรมอุตสาหการการจัดการวัสดุคงคลังสำหรับปูนซีเมนต์ : กรณีศึกษาร้านจำหน่ายวัสดุก่อสร้างแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
Inventory management for cements : A Case Study of a Building Material Store in Khon Kaen Provinceรศ.พรเทพ ขอขจายเกียรติ
นายวิสัยทัศน์ ชูชีพ
นายจิราพัชร ชาติอิศรานุวัฒน์
นายพุฒิภัทร ยางวัน
303IE-7วิศวกรรมอุตสาหการการพยากรณ์ราคาสันในหมูในแต่ละวัน
Forecasting of Pork Tenderloin Priceรศ.พรเทพ ขอขจายเกียรติ
นายชนาธิป อึ้งสำราญ
นายณัฐวัฒน์ แสนคำราง
304IE-8วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาและทดสอบวัสดุทางทันตกรรมและวัสดุแทนกระดูก
Development and Testing Material for Dental and Bone replacement Applicationsรศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นายชนรรทน์ กองแก้ว
นายอธิป เลิศปิยะ
305IE-9วิศวกรรมอุตสาหการการออกแบบ jig & fixture สำหรับประกอบเครื่อง UVC Station เพื่อฆ่าเชื้อโควิด 19
Design of jig and fixture for the UVC Station to Sterilize Covid-19รศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นายจิรพัทธ์ โมมขุนทด
นายทวีผล ตันภักดี
นายธนวัฒน์ คุณากรสิริ
306LE-1วิศวกรรมอุตสาหการ-ไม่มี-
Business Plan for Logistics Platform Business for Clothing Deliveryผศ.ฐิติพงศ์ จำรัส
นางสาวกมลรัตน์ นามบุรี
นางสาวณัฐชานันท์ จำเริญทรัพย์
นางสาววิสสุตา นาห้วยทอง
307LE-2วิศวกรรมอุตสาหการ-ไม่มี-
The Tourism Problems in Phuket Provinceอ.กฤษณรัช นิติสิริ
นางสาวเนตรนภาภรณ์ ยอดจันทร์
นางสาวรัชปพร สมรฤทธิ์
นางสาวณัฐธิดา นามโล
308LE-3วิศวกรรมอุตสาหการ-ไม่มี-
Raising The Safety Standard of The Machining Laboratoryผศ.ศิรวดี อรัญนารถ
นายเสฏฐวุฒิ แสนดวง
นายอภิวัฒน์ มูลมา
309LE-4วิศวกรรมอุตสาหการ-ไม่มี-
Design Distribution Strategy : Direct Shipment for TBLผศ.ทวี นาครัชตะอมร
นางสาวชลิดา วงษ์จันทอง
นายธนวัฒน์ วิจารจันทร์
นายปิยวัฒน์ คณาเสน
310ME2020-02วิศวกรรมเครื่องกลโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับสร้างแบบจาลองเครื่องบินแบบ ปีกบินขนาดเล็ก
Computer program for modelling a small flying wing aircraftศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นางสาววิภารัตน์ แก้วดอนรี
นายเตชนันท์ รัตนวิศิษฎ์กุล
311ME2020-03วิศวกรรมเครื่องกลการเปรียบเทียบซอฟต์แวร์ไฟไนต์เอลิเมนต์สำหรับวัสดุผสม
Comparative of finite element software for composite materialsศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายณรงค์ บุตรวิชัย
นางสาวภาณุมาศ แซ่อึ๊ง
312ME2020-04วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบตามแนวคิดโดยการหาค่าเหมาะสมที่สุดของอากาศยานปีกบินขนาดเล็ก
Optimum Design of a Small Flying Wing – Conceptual Designศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายติณระพี ศรีกงพาน
นายรัฐกานต์ ไปล่กระโทก
313ME2020-05วิศวกรรมเครื่องกลการวิเคราะห์โมเดลของคานยื่นโดยใช้ออร์โธโกนัลฟังก์ชัน
Modal analysis of beams using orthogonal functionsศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายกฤษกร ทองคุณ
นายศรัณย์ พลมณี
314ME2020-06วิศวกรรมเครื่องกลการวัดการสั่นสะเทือนเพื่อหาโมเมนต์ความเฉื่อย
Vibration-based measurement moments of inertiaศ.สุจินต์ บุรีรัตน์
นายบัญญพนต์ พลสิทธิ์
นายวสวัตติ์ เตชะตานนท์
315ME2020-07วิศวกรรมเครื่องกลการหาค่าเหมาะสมที่สุดด้านโทโปโลยีรูปร่างและขนาดของโครงถัก แบบหลายฟังก์ชันเป้าหมายโดยใช้เมตาฮิวริสติก
Truss topology shape and sizing multi-objective optimization by metaheuristics.ผศ.นที พนากานต์
นางสาวสุมาลี ชัยชุ่ม
316ME2020-08วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบกระดานห่อตัวที่สามารถใช้ประคองศีรษะสาหรับผู้ป่วยเด็กอายุ 3-5 ปีที่เข้ารักษาทางทันตกรรม
Design of papoose board with head stabilizer for Patient 3 to 5 year old Children for dental treatment.ผศ.จารุพล สุริยวนากุล
นายณัฐภูมินทร์ เพ็ชรโยธา
นายนพปกรณ์ ปาสกิจ
317ME2020-09วิศวกรรมเครื่องกลศึกษาความเป็ นไปได้ในการปลูกพืชเมืองหนาวในโรงเรือนโดยใช้ ระบบปรับอากาศจากน ้าเย็นเหลือทิ้ งของโรงงานน ้าแข็ง โดยใช้วิธีพลศาสตร์ของไหลเชิงค านวณ
The Feasibility study of winter crops for greenhouses using air conditioning systems from ice factory waste chilled water using computational fluid dynamics method.ผศ.จารุพล สุริยวนากุล
นายชลวิทย์ ประไพร
นายกิตติชัย อุ่นยา
318AE2019-01วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยการอบลดความชื้นฟิลเตอร์เค้กโดยใช้เครื่องอบลดความชื้นแบบถังหมุน
The Study of reducting moisture factors filter cake using a rotary dryerผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายพศวีร์ พลหาญ
นายศราวุฒิ พงศ์เรืองฤทธิ์
319AE2019-02วิศวกรรมเกษตรการศึกษาออกแบบและสร้างเครื่องให้ความร้อนแผงไข่ในกระบวนการเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด
Study and Development of heating machine for egg Trays in cricket farmingรศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นายนันทพงศ์ ศิวพรสมบัติ
นายกิตติเชษฐ์ น้ำเพชร
320AE2019-03วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของชุดสับย่อยใบอ้อยโดยเครื่องสับ
The study on factors affecting the sugarcane leaf chopping by cylinder type chopper machineรศ.สมโภชน์ สุดาจันทร์
นายรชต ปรีประดิษฐ์
นายธนภูมิ เกษามูล
321AE2019-04วิศวกรรมเกษตรการประเมินปริมาณกรดและ pH ของมะยงชิดในแปลงโดยใช้เทคนิคเนียร์อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี
Estimation of acid and H of Marin plum in-field using Near Infrared spectroscopy (NIRs)รศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาวกมลพรรณ รัตนะโสภา
นางสาวจันทร์จิรา กล้าพระจันทร์
322AE2019-05วิศวกรรมเกษตรการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี loT สำหรับการให้น้ำในไร่อ้อยแบบอัจฉริยะ
Application of loT Technology for Smart Sugar Cane Irrigationรศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
นายชายแดน ปาประโคน
นางสาวศิริวรรณ บุตรปาน
323AE2019-06วิศวกรรมเกษตรการพัฒนาระบบการให้น้ำอ้อยด้วยวิธีการเติมน้ำในชั้นน้ำใต้ดินระดับตื้น
Deveopment of sugarcane irrigation system using shallow aquifer recharge methodผศ.โพยม สราภิรมย์
นายกวี จิตภักดี
นายจตุพล มุกขะกัง
324AE2019-07วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก กข.6 ของเครื่องทำความสะอาดเมล็ดพันธุ์ข้าวเปลือก
Factors affecting the seed cleaning rice RD.6รศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นายเจนณรงค์ แพงไข่
นายนัฐพล บุรินรัมย์
325AE2019-08วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อขนาดอนุภาคของผงใบยางนา
The Study on factors affecting the size particles of the Dipterocarpus alatus powderผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายภูธิชย์ ภูเพ็งใจ
นายอภิสิทธิ์ โยตำแย
326AE2019-09วิศวกรรมเกษตรความเป็นไปได้ในการวัดปริมาณแป้ง ความชื้น และน้ำหนักแห้งในหัวมันสำปะหลังสดโดยไม่ทำลายต้นด้วยเทคนิคอินฟราเรดย่านใกล้
FEASIBILITY DETERMINATION OF STARCH CONTENT MOISTURE CONTENT AND DRY MATTER TEST IN FREASH CASSAVA TUBER WITH NON-DESTRUCTIVE BY TECHNIQUES NEAR INFRARED SPECTROSCOPYรศ.เจษฎา โพธิ์สม
นางสาวบรรณศร สุขุนา
นางสาวมุทิตา พริ้งศิรินันทกุล
นางสาวอาร์รียา ศรีภูมิ
327AE2019-10วิศวกรรมเกษตรการออกแบบอุปกรณ์เตือนภัยน้ำท่วมอัจฉริยะในพื้นที่เทศบาลนครขอนแก่น
Design of Intellignt Flood Warning Device in Khon Kaen Municipality Areaรศ.ศุภสิทธิ์ คนใหญ่
นายจักริน ศิริธนนันท์
นายศิรวิทย์ สิทธิเดช
328AE2019-11วิศวกรรมเกษตรการศึกษาอุปกรณ์ให้ปุ๋ยยูคาลิปตัสโดยติดตั้งกับเครื่องปลูกยูคาลิปตัส
Study of Eucalyptus Fertilizer Equipment by Installed with Eucalyptus Planhtersผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นางสาวสปันแก้ว หูตาชัย
นายอัครวิทย์ ปรุงเกียรติ
329AE2019-12วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยการอัดเม็ดเชื้อเพลิงชีวมวลจากฟิลเตอร์เค้ก
THE STUDY OF FACTORS AFFECTING BIOMASS PELLETING USING FILTER CAKEผศ.กิตติพงษ์ ลาลุน
นายศุภณัฐ เตียรถ์สุวรรณ
นายอภิวิชญ์ หาญพิชาญชัย
330AE2019-13วิศวกรรมเกษตรพัฒนาและประเมินผลเครื่องสับย่อยท่อนไม้
Machines wood chippersผศ.คำนึง วาทโยธา
นายเขมพัฒน์ ภู่เจริญศิลป์
นายพีรพัฒน์ แก้วพิลา
331AE2019-14วิศวกรรมเกษตรการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของชุดตีย่อยใบอ้อย
The Study on factors affecting the Sugarcane Leaf Hammer millรศ.สมโภชน์ สุดาจันทร์
นายธนธิษณ์ หงษ์ทอง
นายจักรกฤษณ์ นามะเสน
332AE2019-15วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและออกแบบเครื่องคัดแยกมอดในข้าวสาร
The Study and design on machinery for separating rice weevils from milled riceผศ.คำนึง วาทโยธา
นายวรรธนัย สรสุชาติ
นายสิทธิพล บุญสนอง
333AE2019-16วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและพัฒนาการบดลดขนาดกระดูกด้วยเครื่องบดแบบ Rotary
The Study and Developent of a Reducing Bone size-Rotary Cutter Machineผศ.คำนึง วาทโยธา
นางสาวรัชนี อนันต์
นายศิรวิทย์ โนนคำ
334AE2019-17วิศวกรรมเกษตรแรงลมในแรวราบที่มีผลต่อการตกของละอองสารเคมีที่ฉีดพ่นโดยอากาศยานไร้คนขับ
The horizontal wind force that affects the falling of the sprayed chemicals by UAVรศ.ขวัญตรี แสงประชาธนารักษ์
นายกิตติพล เนียนไธสง
นายนันทวัฒน์ วิกาสะโล
335AE2019-18วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและพัฒนาเครื่องบรรจุอาหารสัตว์แบบปริมาตร
The Study and Development of a Bulk Feed Packing Machineรศ.สมชาย ชวนอุดม
นางสาววรนาฏ เอกวงษา
นายศกายสิฎฐ์ สารวิทย์
336AE2019-19วิศวกรรมเกษตรศึกษาออกแบบและสร้างเครื่องคัดขนาดฝรั่งโดยใช้น้ำหนักเป็นเกณฑ์
Study design and construction of Guava Sizing Machine using criteria weightผศ.คำนึง วาทโยธา
นายพีรพล เพชรดี
นายนันทพงศ์ หาสีโน
337CE2019-01วิศวกรรมโยธาการศึกษาผลของแรงลมพายุฤดูร้อนที่มีผลกระทบต่อป้ายโฆษณา
Study of thunderstorm force affecting billboardsผศ.ปิยะวัชร ฝอยทอง
นายฐิติพัฒน์ รุ่งพัฒนาชัยกุล
นายอภิสิทธิ์ แก้วเมืองเพชร
338CE2019-02วิศวกรรมโยธาการเสริมกำลังเสาโดยการหุ้มด้วยปลอกคอนกรีตเสริมเหล็ก
Strengthening of reinforced concrete columns by reinforced concrete jacketingรศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายชวนากร ตั้งอุดมโชคไพศาล
นายอธิศ กนกนภากุล
นายอภิสิทธิ์ แว่นประชา
339CE2019-03วิศวกรรมโยธาผลของผนังก่ออิฐต่อพฤติกรรมของโครงข้อแข็งในการต้านทานแผ่นดินไหว
Effect of infill walls on behavior of frame structures under seismic loadingรศ.ธันยดา พรรณเชษฐ์
นายธวัชชัย เอมโกวิทย์
นายกรวิทย์ แหวนประดับ
นางสาวศศิวิมล สายโสม
340CE2019-04วิศวกรรมโยธาการออกแบบโครงสร้างที่พักอาศัยขนาดเล็กระบบเสาคานสำเร็จรูปเพื่อต้านทานแรงแผ่นดินไหว
Structural design of small-scale residence with precast concrete beam-column system under seismic loadingsรศ.เมธี บุญพิเชฐวงศ์
นางสาวธัญจิรา พงษ์จิระธนากุล
นายนครินทร์ หันจรัส
นายวริศรา ตันติรัตนานนท์
341CE2019-05วิศวกรรมโยธาการพัฒนาตารางการออกแบบคาน Cellular และ Castellated
Development of design table for cellular beam and castellate beamรศ.ณัฐพงษ์ อารีมิตร
นายโกมล ตั้งพูลผลวนิชย์
นายแมนสรวง โคตรรักษา
นายสุเมธิน คำประภา
342CE2019-06วิศวกรรมโยธาคานนาโนวางบนชั้นรองยืดหยุ่นที่มีผลกระทบจากหน่วยแรงที่ผิว
Nanobeam on elastic substrate medium with surface stress effectsอ.ศุภกร ติระพัฒน์
นายปรมินทร์ สินทร
343CE2019-07วิศวกรรมโยธากำลังรับน้ำหนักของฐานรากบนดินลมหอบขอนแก่นในสภาวะเปียกและแห้ง
Bearing Capacity of Isolate Foundation on Khon Kaen Loess under Wet and Dry Conditionsรศ.รัตมณี นันทสาร
นายศุภกฤษณ์ เหล่ากาสี
นายธนายุต โลขันธ์
นายวัชรพล ปลื้มจิตร
344CE2019-08วิศวกรรมโยธาผลกระทบของปริมาณความชื้นในการผสมดินซีเมนต์ต่อ ค่ากำลังรับแรงอัดแบบไม่มีขอบเขตจากการเตรียมตัวอย่างในห้องปฏิบั ติการ
Effect of Moisture Content on Unconfined Compressive Strength in Soil-cement Specimen Prepared in Laboratoryผศ.ดลฤดี หอมดี
นายศักย์ศรณ์ ไกรสอาด
นายเมทนี ศรีแปงวงค์
นายสุวสันต์ เทียบแก้ว
345CE2019-09วิศวกรรมโยธาผลกระทบของปริมาณความชื้นในการผสมดินซีเมนต์ต่อค่า กำลังรับแรงอัดแบบไม่มีขอบเขตจากการเตรียมตัวอย่างใน ห้องปฏิบัติการตามมาตรฐานกรมทางหลวง
Effect of Moisture Content on Unconfined Compressive Strength in Soil-Cement Specimen Prepared in the Laboratory According to Department of Highway Standardผศ.ดลฤดี หอมดี
นางสาวกัญญาภัค เอื้องกุศล
นายธนวิทญ์ สุวะมาตย์
นายอานนท์ แก้วศรีพันธุ์
346CE2019-10วิศวกรรมโยธาการดูดซับโลหะหนักด้วยดินเหนียวเบนโทไนท์ผสมกับวัสดุปอซโซลาน (1)
Adsorption of Heavy Metals on Bentonite Clay Mixed with Pozzalanic Materials (1)รศ.พงศกร พรรณรัตนศิลป์
นายศุภชัย ปิติธนสมบัติ
นายอานนท์ แก้วศรีพันธุ์
347CE2019-11วิศวกรรมโยธาการดูดซับโลหะหนักด้วยดินเหนียวเบนโทไนท์ผสมกับวัสดุปอซโซลาน (2)
Adsorption of Heavy Metals on Bentonite Clay Mixed with Pozzalanic Materials (2)รศ.พงศกร พรรณรัตนศิลป์
นายนิติเมธา วงศ์สีหา
นายภาณุภัทร พงษ์พิษณุ
นายรัฐพงศ์ กองสมบัติ
348CE2019-12วิศวกรรมโยธาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี BIM ในการจัดการอาคาร
Application of BIM technology in building managementรศ.กอปร ศรีนาวิน
นายทวีวัฒน์ เกษเมธีการุณ
นายธนบูรณ์ วิถาทานัง
นายพีระเสก พลค้อ
349CE2019-13วิศวกรรมโยธาการเปรียบเทียบฐานรากตื้นวางบนดินออกแบบโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานและวิธีกำลัง
Comparison between Shallow Spread Footing on Ground Design from Working Stress Design and Strength Designรศ.จารึก ถีระวงษ์
นายนวพล ประยูรชาญ
นางสาวศศิวิมล สีนุ้ย
นายอธิปดิ์ ประกอบนอก
350CE2019-14วิศวกรรมโยธาการใช้เศษไฟเบอร์ซีเมนต์ในส่วนผสมของมอร์ต้าร์
Use of Fiber Cement Waste in Mortarศ.วันชัย สะตะ
นายกัมปนาท บุริมาตร
นายวรเมศร์ ศิริเลิศเกรียงไกร
351CE2019-15วิศวกรรมโยธาการใช้เศษพลาสติกในส่วนผสมของมอร์ต้าร์
Use of Plastic Waste in Mortarศ.วันชัย สะตะ
นางสาวกฤติญา ภวนิธิบวร
นางสาวเปมิกา ทองฤทธิ์
นางสาวอารยา แสงมณี
352CE2019-16วิศวกรรมโยธาพฤติกรรมการรับแรงอัดตามแนวแกนของท่อสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขึ้นรูปเย็นเติมคอนกรีตที่มีกำลังคอนกรีตแตกต่างกัน
Axial compression behavior of concrete filled cold formed square steel tube, with difference concrete compressive strength.ศ.วีระ หอสกุลไท
นายก้าวกิจ โคตะ
นายทีปกร ญาติปราโมทย์
นายสถาพร ฉ่ำสระน้อย
353CE2019-17วิศวกรรมโยธาพฤติกรรมการรับแรงอัดตามแนวแกนของท่อสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขึ้นรูปเย็นเติมคอนกรีตที่มีความสูงชะลูดแตกต่างกัน
Axial compression behavior of concrete filled cold formed square steel tube, with difference slenderness ratio.ศ.วีระ หอสกุลไท
นายธนวัตน์ รุ่งเรืองภาวรรณ
นายสันติภาพ จิตรบรรจง
354CE2019-18วิศวกรรมโยธาการคัดเลือก​ระบบขนส่งสาธารณะ​ที่เหมาะสมสำหรับเส้นทางสายสีชมพูในเขตเทศบาล​นครขอนแก่น โดยวิธีกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์
Selection of the suitable public transport system for the Pink line in Khon Kaen City Municipality Using Analytic Hierarchy Process.ศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นายศตวรรษ ถาวร
นายSETTHA SOUVANNAPHONG
355CE2019-19วิศวกรรมโยธาการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนบนโครงข่ายถนนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Road safety audit in road network in Khon Kaen Universityศ.พนกฤษณ คลังบุญครอง
นายพิทยา พวงทอง
นายฐนิภัทร ตั้งสิทธิวงศ์
นายทวิช ภารัง
356CE2019-20วิศวกรรมโยธาการศึกษาสำรวจความต้องการเดินทางด้วยรถ Shuttle Busของนักเรียน นักศึกษาภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
-รศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล
นายปิติวิทย์ ศิริคำ
นายยุทธนา สถิตวิทยากูล
นายวิชยุตม์ หมอยา
357CE2019-21วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมการเลือกข้ามถนนของคนเดินเท้า บริเวณหน้าโรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
A Study of Pedestrian\'s Crossing Behavior in front of Srinagarind Hospital in Khon Kaenศ.วิชุดา เสถียรนาม
นางสาวจิรัชญา ศิริโฉม
นายพิสิฐพล โคตะนิวงษ์
นางสาวกัลยรัตน์ เข็มนาค
358CE2019-22วิศวกรรมโยธาการประยุกต์แนวคิดการป้องกันที่ทางแยกของรถจักรยานมาใช้กับรถจักรยานยนต์ กรณีศึกษาทางแยกถนนกลางเมือง
Application of bicycle\'s protected intersection used on motorcycle : Case study at Thanon Klang Meung,Khon Kaenศ.วิชุดา เสถียรนาม
นายเกริกภูมิ วุฒิสาร
นายณัฏฐ์ศักย์ แหมไธสง
นายดนัยศักดิ์ เปนาละวัด
359CE2019-23วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์บนช่วงถนน
A Study of Motorcycle Driving Behavior on the Roadศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายภูมินทร์ สุขโข
นายจักรภาณุ บูรณะปิยะวงศ์
นายศิวกร เอี่ยมสุนทรกุล
360CE2019-24วิศวกรรมโยธาการศึกษาพฤติกรรมการจอดรถจักรยานยนต์บริเวณทางแยกสัญญาณไฟจราจร กรณีศึกษาแยกหน้ากองป้องกันและรักษาความปลอดภัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น
A Study of Motorcycle Parking Behaviour at Signalized Intersection A Case Study of the Intersection in front of Security Division Khon Kaen University, Thailandศ.ธเนศ เสถียรนาม
นายเกียรติขจร แก่นลา
นายนราวิชญ์ คำดา
361CE2019-25วิศวกรรมโยธาการศึกษาการเปลี่ยนแปลงการกระจายปริมาณฝนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของลุ่มน้ำพอง
Studying of rainfall distribution due to climate change in Pong River Basin.รศ.เฉลิมชัย พาวัฒนา
นายจิรโชติ ใจเติบ
นายธันธร ศิริธรรม
นายพงศ์พนัส หารภูมิ
362CE2019-26วิศวกรรมโยธาการศึกษาการเปลี่ยนแปลงดัชนีความแห้งแล้งเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ของลุ่มน้ำพอง
Studying of standardized precipitation index due to climate change in Pong River basinรศ.เฉลิมชัย พาวัฒนา
นายณัฏฐ์ ศรีประเสริฐ
363CE2019-27วิศวกรรมโยธาการประเมินผลกระทบของภัยแล้งต่อผลผลิตพืชในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยสามหมอ
Assessment of drought impacts on crop yield in the Huai Sam Mo River Basinรศ.กิตติเวช ขันติยวิชัย
นายชยณัฐ สังวัง
นายพงษ์ศักดิ์ แก้วนา
นายพัสกร เหล่าไชย
364CE2019-28วิศวกรรมโยธาการประเมินความถูกต้องของการรังวัดด้วยจีเอ็นเอสเอสแบบจลน์สำหรับ การสั่นไหวของอาคารโดยการจำลองการเคลื่อนที่ในแนวราบ
Accuracy Assessment of the Kinematic GNSS Positioning for the Building Vibration by Horizontal Movement Simulationอ.สุรัตน์ ประมวลศักดิกุล
นายธนภัทร พลพิพัฒนพงศ์
นายพัชรพล เอมโอษฐ์
นายศตวรรษ สัจจพงษ์
365CE2019-29วิศวกรรมโยธาการประเมินความถูกต้องของการรังวัดด้วยจีเอ็นเอสเอสแบบจลน์สำหรับการขึ้นลงของน้ำทะเล โดยการจำลองการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
accuracy assessment of the kinematic GNSS positioning for the ocean tide by vertical movement simulationอ.สุรัตน์ ประมวลศักดิกุล
นายนันทวัฒน์ หงษ์คำ
นายสหรัฐ จันทศ
นายณัฐพล จรูญธรรม
366CE2019-30วิศวกรรมโยธาการใช้ข้อมูลภาพดาวเทียม Sentinel S1 และ Sentinel S2 ในการจำแนกการใช้ที่ดินเมืองขอนแก่น
Utilization of Sentinel S1 and Sentinel S2 for Classifying Land Use/Cover of Khon Kaen Cityรศ.ชาติชาย ไวยสุระสิงห์
นายคุณานนท์ ฉนานุกูล
นายปฏิภาณ เกียรตินามวิชัย
นายภชต วรรณโคตร
367CE2019-31วิศวกรรมโยธาผลของการแทนที่เถ้าลอยด้วยผงอิฐมอญและผงหินพัมมิส ที่มีผลต่อสมบัติของจีโอโพลิเมอร์เพสต์
Effect of fly ash replacement by clay brick and pumice powders on geopolymer paste properties.ผศ.อำพล วงศ์ษา
นายรัชชานนท์ ประเสริฐสุข
นายเอกพร วงคนวน
368ChE2019-01วิศวกรรมเคมีการออกแบบและพัฒนาอุปกรณ์ส่องตรวจและแอพพลิเคชั่นสาหรับคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง
Design and Development of a Low-Cost, Small-Size Device and a Smartphone Application for Self-Cervical Cancer Screeningอ.อรณัฐ ชูชื่น
นางสาวจิราพร อัสพันธุ์
นางสาววรรณศิกา สุริยนต์
369ChE2019-02วิศวกรรมเคมีการเตรียมถ่านกัมมันต์จากลูกยางนาและการศึกษาการดูดซับสีย้อม และโลหะหนัก
Preparation of activated carbon from Dipterocarpus alatus fruit and its adsorption study of dye and heavy metalรศ.ยุวรัตน์ เงินเย็น
นางสาวเกศรา ศิลาเกษ
นางสาวฉันทกร ปาทวาท
370ChE2019-03วิศวกรรมเคมีการผลิตไบโอชาร์จากกากใบอ้อยที่ผ่านกระบวนการไฮโดรไลซิสด้วยกรด
Biochar production from residue sugarcane leaves through acid hydrolysisรศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวฐิติชญาน์ พละพงศ์
นายศาสตราวุธ ภาโนมัย
371ChE2019-04วิศวกรรมเคมีตัวดูดซับรูพรุนขนาดกลางชนิดใหม7 จากผลิตภัณฑ=พลอยไดAของอุตสาหกรรมน้ำตาล
New mesoporous carbon-silica composite from by-product of sugar industry.รศ.ยุวรัตน์ เงินเย็น
นางสาวณัฐพัชร์ จันทรสมบัติ
นางสาวบุญญิสา อุ่นพิกุล
372ChE2019-05วิศวกรรมเคมีเปรียบเทียบกระบวนการผลิตไบโอดีเซลระหว่างวิธีการอิเล็กโทรไลซิสและวิธีการดั้งเดิม
Comparison of biodiesel production process between electrolysis and conventional methodsรศ.ชัยภัทร เครือหงส์
นางสาวพิมลพรรณ บัวใหญ่รักษา
นางสาววนัชยา สายสุริยา
373ChE2019-06วิศวกรรมเคมีประสิทธิภาพของแบตเตอรี่อะลูมิเนียมไอออนในอิเล็กโทรไลต์เกลือหลอมเหลวโดยใช้ขั้วแคโทดคาร์บอนจากการสังเคราะห์ด้วยวิธีการลนเปลวเทียน
Performance of aluminum-ion battery in molten salt electrolyte using carbon cathode from candle frame combustion synthesisรศ.ชัยภัทร เครือหงส์
นางสาวแก้วใจ แสงมณี
นางสาวฐิติรัชต์ รังสีรัตนโชติ
374ChE2019-07วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์อนุภาคนาโนซิลเวอร์จากสารสกัดใบอ้อยด้วยวิธีที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเพื่อประยุกต์ใช้เป็นตัวตรวจวัด
Green synthesis of silver nanoparticles using extracted sugar cane leaves for sensing applicationอ.อธิป เหลืองไพโรจน์
นายสิทธิชัย อามาตย์สมบัติ
นายกฤษณะ เทพไทสงค์
นายวัชรพัฐ นามศักดิ์
375ChE2019-08วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์ไอโซซอร์ไบด์จากซอบิทอลบนตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงการค้า
Synthesis of isosorbide from sorbitol over commercial catalystรศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นางสาวพรธีรา วงศ์ภาคำ
นางสาวอรปรียา แสบงบาล
376ChE2019-09วิศวกรรมเคมีเครื่องพิมพ์เซรามิกสามมิติ
3D Printer Ceramicอ.ทินกร คำแสน
นายบุญสิน อินชู
นางสาวอรญา คำพันธ์
377ChE2019-10วิศวกรรมเคมีการสกัดดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมจากเครื่องสกัดน้ำมันหอมระเหยไมโครเวฟ
Extraction from pleasant smelling flowers using microwave hydrodistillator for essential oilผศ.พนมกร ขวาของ
นายกิตติศักดิ์ ทรวงทองหลาง
นายจตุรนต์ ทาพิมพ์
378ChE2019-11วิศวกรรมเคมีการปรับปรุงตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์บนตัวรองรับซิลิกอนไดออกไซด์และอะลูมิเนียมออกไซด์เพื่อใช้ในปฏิกิริยารีดักชันการใช้แสงร่วมของคาร์บอนไดออกไซด์เป็นเมทานอล
Modification of TiO2 supported on SiO2-Al2O3 for photocatalytic reduction of CO2 to methanolรศ.สุธาสินี เนรมิตตกพงศ์
นายนครินทร์ ดวงแก้ว
นางสาวนันทฉัตร สุภารี
379ChE2019-12วิศวกรรมเคมีการกำจัดสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (เมทานอล) ด้วยระบบบำบัดแบบเปียก ร่วมกับปฏิกิริยาเฟนตัน
Evaluation of VOCs (Methanol) removal by using wet scrubber couple with fenton reactionรศ.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์
นายเศรษฐพงศ์ ภูสง่า
นายธวัชชัย คุลบุตร
380ChE2019-13วิศวกรรมเคมีการศึกษาวัสดุภายในเพื่อผลิตเตาเผาพลาสมาสาหรับกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์
Internal materials for electronic waste plasma furnaceอ.ทินกร คำแสน
นางสาววณิชยา บุญยวุฒิ
นางสาวหทัยรัตน์ หาริกัน
381ChE2019-14วิศวกรรมเคมีการผลิตซอร์บิทอลจากน้ำตาลซูโครส
sorbitol production from sucrose by nickel catalystรศ.อาทิตย์ เนรมิตตกพงศ์
นางสาวพิมพิภาภัชญ์ จิงหะรานนท์
นางสาวปพิชญา เฉลยพนิต
382ChE2019-15วิศวกรรมเคมีการออกแบบและสร้างเครื่องซีทีสแกนแบบออปติคัลขนาดพกพาด้วยต้นทุนต่่า
Design and Construction of a Low-Cost Portable Optical Computed Tomography (CT) Scannerอ.อรณัฐ ชูชื่น
นางสาวมุกดาวรรณ พลแสน
นางสาวศศิกาญจน์ บวรโมทย์
383ChE2019-16วิศวกรรมเคมีตัวดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์จากถ่านกัมมันต์ที่สังเคราะห์จากเศษไม้ยางนาโดยการกระตุ้นด้วยสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์และสารละลายกรดฟอสฟอริก
CO2 Adsorbents Preparing from Yang Na-derived Activated Carbon Produced by Potassium Hydroxide solution and phosphoric acid solutionผศ.วรินรำไพ เศรษฐ์ธณบุตร
นางสาวพนมพร ขุนสร้อย
นายศุภวิชญ์ จ่ายพงษ์
384ChE2019-17วิศวกรรมเคมีศึกษาการใช้ประโยชน์ผักตบชวาในรูปของเส้นใยในการดูดซับคราบน้ามัน
Adsorption of water hyacinth fiber for remove oil stain.ผศ.พนมกร ขวาของ
นางสาวกาญจนา แจ้งเจริญ
นางสาวปภัทราพร จันทรมหา
385ChE2019-18วิศวกรรมเคมีผลของขนาดบีดส์ที่มีแบคทีเรียสาหรับจีโอโพลิเมอร์
Effect of encapsulate particle size containing bacteria for geopolymerผศ.ดวงกนก ธนังธีรพงษ์
นางสาวธนพร มาตะราช
นางสาวนลินี ศรีใส
386ChE2019-19วิศวกรรมเคมีสมบัติของไคโตซาน/พอลิไวนิลแอลกอฮอล์ไฮโดรเจลที่เติมอนุภาคซิลเวอร์ นาโนด้วยวิธีการสังเคราะห์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Properties of chitosan/polyvinyl alcohol hydrogel incorporated silver nanoparticles via green synthesisรศ.พรนภา เกษมศิริ
นางสาวขวัญฤทัย บุญซื่อ
นางสาวธนัชชา อดุลสุทธานนท์
387ChE2019-20วิศวกรรมเคมีการผลิตกรดซักซินิกจากใบอ้อยด้วยยีสต์ยาร์โรเวียร์ ไลโปลิติกา
Production of succinic acid from sugarcane leaves by Yarrowia Lipolytica yeast.รศ.ขนิษฐา คำวิลัยศักดิ์
นางสาวณัฐพร โชคสวัสดิ์ธนะกิจ
นางสาวสุชัญญา ไชยสิริ
388ChE2019-21วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์และวิเคราะห์คุณลักษณะ ของตัวเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง SrTiO3 ต่อลักษณะทางกายภาพและเคมี รวมถึงประสิทธิภาพ : ศึกษาตัวตั้งต้น Sr
Synthesis and characterization of SrTiO3 photocatalyst on physical and chemical properties and their efficiencies: Effect of strontium precursors.รศ.กิติโรจน์ หวันตาหลา
นางสาวพีรยา สุขสุรทิน
นางสาวสิริยากร คำสีแก้ว
389ChE2019-22วิศวกรรมเคมีการห่อหุ้มแบคทีเรียสายพันธุ์ Bacillus pseudofirmus ATCC700159 สาหรับการรักษารอยร้าวในจีโอโพลิเมอร์
Encapsulating Bacillus pseudofirmus ATCC700159 for self-healing geopolymerผศ.ดวงกนก ธนังธีรพงษ์
นางสาวขวัญนภัส บุปผาวารินทร์
นางสาวพิกุลแก้ว จิโนสวัสดิ์
390ChE2019-23วิศวกรรมเคมีการใช้คลื่นไมโครเวฟในการสกัดว่านนางคา
Microwave-Assisted Extraction from curcuma aeroginosa.ผศ.อภิชาติ อาจนาเสียว
นายภาคภูมิ จงเอกสิทธิ์
นายเชษฐ์ชวาล บุญศักดิ์
391ChE2019-24วิศวกรรมเคมีการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพจากน้ำมันปาล์มโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา แคลเซียม แมกนีเซียมออกไซด์ที่เตรียมจากของเสียยิปซัม
Bio-fuel production from palm oil over Mg-Ca oxide catalyst prepared from gypsum wasteรศ.กิติโรจน์ หวันตาหลา
นายจีรวัฒน์ โชตยาธิวัฒน์
นายธัญญวัชร์ บัวทอง
392ChE2019-25วิศวกรรมเคมีการผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากยางไม้มะฮอกกานีด้วยการไพโรไลซิสร่วมตัวเร่งปฏิกิริยา
Catalytic pyrolysis of Mahogany resin for the production of liquid fuelผศ.วรินรำไพ เศรษฐ์ธณบุตร
นางสาวภนิตา พัชรพัฒนชัย
นางสาวพัชกร หล่อประจักษ์ศิริ
393ChE2019-26วิศวกรรมเคมีการสังเคราะห์ PVA/Ag นาโนคอมโพสิตด้วยวิธีไอโอโทรปิคเจเลชั่นเพื่อใช้ในการบ้าบัดน้า
Synthesis of PVA/Ag nano composites using ionotropic gelation for water purificationผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นางสาวพัทธ์ธีรา สิมมาเคน
นางสาววรัญญา สุยะ
394ChE2019-27วิศวกรรมเคมีอิทธิพลของการเคลือบไฮโดรคอลลอยด์ที่มีผลต่อคุณสมบัติกายภาพ และการดูดซับน้ามันของมันม่วงทอดสุญญากาศ
Effect of hydrocolloids coating on the physical properties and oil absorption of vacuum-fried blue potatoผศ.อภิชาติ อาจนาเสียว
นายวัชรากร บัวชุม
นางสาวจิตราภรณ์ ไชยคุณ
395ChE2019-28วิศวกรรมเคมีบรรจุภัณฑ์นาโนคอมโพสิตที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพสาหรับการหน่วงการสุกของผลไม้
Biodegradable packaging nanocomposite for retarding of fruit ripeningรศ.พรนภา เกษมศิริ
นางสาวฉัตราภรณ์ ทวีศิลป์
นางสาวณัฏฐ์นรี ศรีเชียงสา
396ChE2019-29วิศวกรรมเคมีปุ๋ยธาตุอาหารรองปลดปล่อยช้าผสมไบโอชาร์จากใบอ้อยโดยวิธีไอออโนทรอปิกเจเลชั่น
Slow released micronutrient fertilizer containing biochar derived from sugarcane leaves prepared by ionotropic gelationผศ.แก้วตา เจตศรีสุภาพ
นางสาวกมลนิตย์ อมรรัตนวรรณ์
นางสาวมัตติกา แสนโคตร
397CoE2019_01_CMวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การเรียนรู้ของเครื่องเพื่อการวินิจฉัยโรคเบื้องต้นสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดในสมอง
Machine Learings for stroke patients pre-diagnosticalผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายณฐกฤต เชื้อจีน
นายสพล อภิวัฒนกุล
398CoE2019_02_CMวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การทํานายประสิทธิภาพนักศึกษาโดยใช้การเรียนรู้ของเครื่อง
Student performance prediction using machine learningผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
รศ.ชัชชัย คุณบัว
ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
นายมารุต เมืองรี
นายวันชนะ อนุรักษ์มนตรี
399CoE2019_03_CMวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบตรวจสอบคุณภาพของแหอวนด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ
Fishing net defect detection.ผศ.ภาณุพงษ์ วันจันทึก
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นายธนดล อุดมเวช
นายประพัฒน์ ผาสุโพธิ์
400CoE2019_04_HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การควบคุมแขนกลอย่างง่ายด้วยระบบปฏิบัติการหุ่นยนต์ ระยะ2
A Simple Robotics Arm Controlling via ROS Phase 2ผศ.ดารณี หอมดี
ผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
รศ.ชัชชัย คุณบัว
นางสาวกฤษฎาภรณ์ ขารพ
นายธีร์สิทธิ์ โพธิปัสสา
401CoE2019_05_HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์สเปกโทรมิเตอร์ราคาถูก
Low cost spectrumอ.นวภัค เอื้ออนันต์
ผศ.ชวิศ ศรีจันทร์
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายดิศรา อุดมบุณยลักษณ์
นางสาวลักษณา อังวัฒนานนท์
402CoE2019_06_HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เครื่องกำจัดควันธูป
Incense Smoke Eliminatorอ.นวภัค เอื้ออนันต์
รศ.ชัชชัย คุณบัว
ผศ.ดารณี หอมดี
นางสาวปริณดา แก้วคำแสน
นางสาวศศิตาภรณ์ วงศ์ผาบ
403CoE2019_07_HWวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาระบบควบคุมและแสดงผลสถานะของปั๊มน้ําและประตูน้ําผ่าน Internet
System to control and display the status of water pump and water gate through the internetอ.วสุ เชาว์พานนท์
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
อ.วาธิส ลีลาภัทร
นายภควัชร ทองจันดา
นายพิสุภา คำเครือ
404CoE2019_08_HCวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Data Visualization in VR
Data Visualization in VRอ.วสุ เชาว์พานนท์
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
นางสาวศิริรัตน์ จันทร์ลา
นางสาวศิริสกุล ศรีกลาง
405CoE2019_09_ISวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เว็บแอปพลิเคชันสําหรับเก็บข้อมูลพืชไร่
Progressive Web App for Field Data Collectionรศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นายภูนล โกยสวัสดิ์
นายชยานนท์ บุญประกอบ
406CoE2019_10_ISวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบรายงานผลผลิตสําหรับฟารมอัจฉริยะ
Smart Farm Chatbotผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
รศ.ชัชชัย คุณบัว
นายเทวพร บรรหารวุฒิไกร
นายสุรวิช วิริยะศรีสุวัฒนา
407CoE2019_11_ISวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บแอปพลิชันสำหรับบริหารคลังสินค้า ร้านซ่อมมอเตอร์ไซค์
Development of Web Application for Managing Inventory of Motorbike Repair Shopผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
ผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
นายปุณยวีร์ วิจิตรโกสุม
นายวีรภัทร พิมสาร
408CoE2019_12_NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การควบคุมระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตผ่านซอฟต์แวร์ด้วย เทคโนโลยีระบบปฏิบัติการโอนอส
SOFTWARE-DEFINED NETWORKING IN OPEN NETWORK OPERATING SYSTEM (ONOS)รศ.ชัชชัย คุณบัว
อ.วสุ เชาว์พานนท์
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นายธนากรณ์ สร้างดี
นายไพโรจน์ นิกรสังขพินิจ
409CoE2019_13_NTวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การควบคุมระบบเครือข่ายผ่านซอฟต์แวร์ด้วยเทคโนโลยีโอเพนเดย์ไลท์
Software-defined networking in Open Daylightรศ.ชัชชัย คุณบัว
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นางสาวแทนขวัญ ทักษะวรบุตร
นายพรสุพัฒน์ ชื่อมี
410CoE2019_14_SPวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การพัฒนาระบบเว็บแอพพลิเคชั่นแสดงข้อมูลสภาพอากาศภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่นที่จัดเก็บข้อมูลโดยบล็อคเชน
KKU weather via Blockchainอ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
รศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
นายฌานิศ ชอบใหญ่
นางสาวบุณยวีร์ ฐานะบำรุง
411CoE2019_15_SPวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การศึกษาการแชร์กุญแจส่วนบุคคลในอาร์เอสเอ
Study of private key sharing in RSA cryptosystemรศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล
อ.กิตติ์ เธียรธโนปจัย
ศ.วนิดา แก่นอากาศ
นางสาวนภัสสินี ขัดสีใส
นายนรภัทร คงธาดากุล
412CoE2019_16_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์โมเดลระบบนําทางสําหรับแท็บเล็ตเพื่อผู้พิการทางสายตา
Navigation system model for tablet for visually impairedผศ.จิระเดช พลสวัสดิ์
รศ.กานดา สายแก้ว
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
นายกัมปนาท ท้าวอนนท์
นายณัฐพรรษ ภูมิพันธ์
413CoE2019_17_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์Difficult Intubation Detection Mobile App
Difficult Intubation Detection Mobile Appศ.วนิดา แก่นอากาศ
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
นายสิรวิชญ์ ศรีสุริยานุกูล
นายสิรภพ จารุธัญลักษณ์
414CoE2019_18_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ระบบควบคุมสัญญาณ​ไฟจราจรตามปริมาณความหนาแน่นของการจราจร : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Traffic light control system based on traffic density : A case study of KhonKaen Universityอ.วาธิส ลีลาภัทร
อ.นวภัค เอื้ออนันต์
อ.วสุ เชาว์พานนท์
นายอนุสรณ์ แปลกจังหรีด
415CoE2019_19_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เกมการเอาชีวิตรอดจากภัยอันตรายในชีวิตสำหรับเด็กวัยประถมศึกษา
Encounter danger in daily lifeผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
อ.วสุ เชาว์พานนท์
ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
นายภีมวัจน์ เตียงพลกรัง
416CoE2019_20_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์เว็บแอปพลิเคชั่นเพื่อดูแลพืชสวนและจัดการไร่สวนสำหรับกษตรกร
Web Application for Farm Management and Farm Tendingรศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
รศ.กานดา สายแก้ว
ผศ.ภัทรวิทย์ พลพินิจ
นางสาวบุญญาภรณ์ มีแก้ว
นางสาวบุณยาพร สุดจันฮาม
417CoE2019_21_SEวิศวกรรมคอมพิวเตอร์การจัดการนิติบุคคลหมู่บ้านราชาซิตี้
Mobile Application for the Juristic Management (J.P.M)ผศ.อนัตต์ เจ่าสกุล
ผศ.วิชชา เฟื่องจันทร์
รศ.วิโรจน์ ทวีปวรเดช
นายพงศธร ตองติดรัมย์
นางสาวเมธิตา พงษ์สังข์
418EE2019-2/01วิศวกรรมไฟฟ้าการแจ้งเตือนการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ผ่านโมบายแอพพลิเคชั่น
The notification of motorcycle theft using mobile applicationโครงการนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาและออกแบบระบบแจ้งเตือนการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ผ่านโมบาย แอพพลิเคชั่น เพื่อลดความเสี่ยงที่จะถูกโจรกรรมรถจักรยานยนต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการแจ้งเตือนภัยหากเกิด เหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับรถจักรยานยนต์ โดยระบบแจ้งเตือนมายังสมาร์ทโฟนที่ติดตั้งแอพพลิเคชั่นผ่านระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ระบบแจ้งเตือนนี้ประกอบไปด้วย 4 ส่วนหลัก 1) NodeMCU ESP8266 สาหรับควบคุมการทางาน ของระบบ 2) แอพพลิเคชั่น Blynk ที่ใช้เป็นตัวแสดงผลและแจ้งเตือนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อีกทงั้ เป็นเครื่องมือ ควบคุมสัญญาณแตรแจ้งเตือนอีกด้วย 3) เซ็นเซอร์วัดการสั่นสะเทือนและเซ็นเซอร์วัดความเร่ง เพื่อตรวจสอบสถานะของ รถจักรยานยนต์ โดยใช้เซ็นเซอร์วัดการสั่นสะเทือนเพื่อตรวจสอบสถานะรถจักรยานยนต์ขณะมีการสตาร์ทเครื่อง และ เซ็นเซอร์วัดความเร่งเพื่อตรวจสอบในสถานะดังนี้ สถานะรถจักรยานยนต์จอดนิ่ง,สถานะรถจักรยานยนต์ยกขาตั้งขึ้น ,สถานะยกรถจักรยานยนต์(เฉพาะล้อหน้า) และสถานะยกรถจักรยานยนต์ทั้ง 2 ล้อ 4) สัญญาณแตรแจ้งเตือนในระยะใกล้ โดยสามารถปิดผ่านแอพพลิเคชั่นได้หากเป็นเจ้าของรถจักรยานยนต์ ส่วนผลการศึกษานนั้ พบว่าระบบนี้สามารถแจ้งเตือน ให้เจ้าของรถจักรยานยนต์ทราบถึงสถานะของรถจักรยานยนต์ได้
This project was created to study and design a motorcycle theft alarm system through mobile application. To reduce the risk of motorcycle theft by alerting you if any events occur to your motorcycle. The system will send message to smartphones that install application through the internet. The prototype system consists of 4 main parts 1) NodeMCU ESP8266 for system operation control. 2) Blynk application used as a display and notification through the internet. It is also a tool to control alarm signals. 3) Vibration sensor and accelerometer sensor to check the status of motorcycles. The system uses a vibration sensor to check the motorcycle status whether the engine is starting or not and use acceleration sensor to check in the following status stationary motorcycle status, stand-up motorcycle status, motorcycle lifted status (only for the front wheels) and the status for both 2-wheel lifted. 4) Buzzer signal is used to alert at short range closed through the application if you are the motorcycle owner. Test results show that the prototype system can notify motorcycle owners as expected.ผศ.บุญยิ่ง เจริญ
นายปณวัฒน์ แก่นนาค
นายปวริศ โคตรชุม
419EE2019-2/02วิศวกรรมไฟฟ้าพัดลมควบคุมการทางานด้วยเสียง
Voice Control Fanโครงงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาและออกแบบพัดลมสั่งงานด้วยเสียง เพื่อช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการใช้งานพัดลมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยในการอานวยความสะดวกในการสั่งการทางานของพัดลม พัดลมสามารถสั่งการเปิดได้ในระดับต่างกัน 3 ระดับและล็อคไม่ให้พัดลมส่าย โดยสามารถควบคุมการทางานของพัดลมได้โดยทาการเขียนโปรแกรมควบคุมฝังไว้ในไมโครคอนโทรลเลอร์และรับอินพุตเป็นเสียงพูดผ่านไมโครโฟนหรือสมาร์ทโฟน แล้วนาเสียงนั้นมาวิเคราะห์เพื่อส่งสัญญาณไฟฟ้าไปสั่งการหมุนของมอเตอร์ต่อไป ซึ่งพัดลมนี้สามารถสั่งงานได้ที่ระยะไกลที่สุด 1.6 เมตรผ่านไมโครโฟนที่ติดกับตัวพัดลมและ 10 เมตรผ่านแอพพลิเคชั่นในสมาร์ทโฟนซึ่งทาให้มีความสะดวกสบายในการใช้งานมากยิ่งขึ้น
This project was created to study and design the fan with voice commands, with the objective to help increase the convenience of using the fan. The fan can be switched on at 3 different levels and locked the fan to shake. You can control the operation of the fan by writing a control program embedded in the microcontroller and receiving the input as a speech through a microphone or smartphone. Then analyze that sound and send electrical signals to operate the motor rotation. This fan can be operated at a maximum distance of 1.6 meters through the microphone attached to the fan and 10 meters through the application using Bluetooth on the smartphone, which makes it more convenient to use.ผศ.บุญยิ่ง เจริญ
นายปองพล กุดทิง
นายพิชญ์วัฒน์ กาญจนปภากูล
420EE2019-2/03วิศวกรรมไฟฟ้าสนามไฟฟ้าพัลส์
Pulse Electric Fieldโครงการนี้เปJนการทดลองการใช5สนามไฟฟTาแบบพัลส;เพื่อใช5ในการเพิ่มคุณภาพอาหาร โดยได5ศึกษาและ ออกแบบวงจรที่ใช5ในการสร5างสนามไฟฟTาแบบพัลส;ขึ้น ปกติแล5วการสร5างวงจรพัลส;แรงดันสูงสามารถออกแบบ วงจรได5จากการใช5ตัวเก็บประจุร)วมกับขดลวดเหนี่ยวนำและความต5านทานหรือที่เรียกว)า RLC circuit โดยอาศัย การสวิตช;เพื่อเปJนการปล)อยพลังงานออกมา ในโครงการนี้ได5ใช5วงจร Pulse Forming Network (PFN) เปJน วงจรไฟฟTาที่จะสะสมพลังงานไฟฟTาในช)วงเวลานาน แล5วปล)อยพลังงานที่สะสมไว5ในรูปของพัลส;รูปสี่เหลี่ยมผืนผ5า ในระยะเวลาสั้น ๆ การใช5สนามไฟฟTาแบบพัลส;กับอาหาร เปJนวิธีการที่ไม)ใช)ความร5อน แต)มีประสิทธิภาพในการ ทำลายจุลินทรีย; สารพิษ และเอนไซม; เหมือนกับวิธีดั้งเดิมที่ใช5ความร5อน ส)งผลทำให5รสชาติของอาหารนั้นไม)เกิด การเปลี่ยนแปลง และยังใช5พลังงานน5อยกว)าการใช5ความร5อน หากเปรียบเทียบกับการใช5ความร5อนในแบบเดิม พบว)า การใช5สนามไฟฟTาแบบพัลส;ใช5ต5นทุนที่ต่ำกว)า อีกทั้งไม)ส)งผลกระทบต)อสิ่งแวดล5อมอีกด5วย
รศ.อำนาจ สุขศรี
นายธณิศร เสริฐนวลสวัสดิ์
นายวชิรพงศ์ กาญจน์วิเศษศรี
421EE2019-2/04วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์เสมือนมนุษย์ : การพัฒนาการเดิน
Humanoid robot walking improvementรศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นายธนกร แสงคำ
นายวัชรพงศ์ เพชรประไพ
422EE2019-2/05วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์สมาร์ทฟาร์ม : ห่นยนต์สำรวจแปลงพืช
Smart Farming Robot : Plant Survey Robotรศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นางสาวแพรพรรณ ปะระทัง
นางสาวไพลินธัญรดา เหลืองอร่าม
423EE2019-2/06วิศวกรรมไฟฟ้าการออกแบบระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำในอาคารเรียนรวม
Low-Voltage Electrical System Design for an Academic Buildingศ.อภิรัฐ ศิริธราธิวัตร
นายยศพล ศรีละพันธุ์
นายสิทธิพร มหาโยธี
424EE2019-2/07วิศวกรรมไฟฟ้าการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านผ่านโทรศัพท์มือถือ
Home Application Control using mobile phoneบทคัดย่อ โครงงานนี้เป็นการนาเทคโนโลยีด้านการสื่อสารมาประยุกต์ใช้ ในการควบคุมเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านผ่านโทรศัพท์มือถือ โดยระบบควบคุมทางานร่วมกับบอร์ด Arduino ที่มี WiFi module และแผงรีเลย์ ควบคุมการเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถแสดงสถานะของอุปกรณ์บนแอปพลิเคชันในโทรศัพท์มือถือได้ นอกจากนั้นระบบยังสามารถทางานร่วมกับสวิตช์ปิด-เปิดด้วยมือภายในบ้านซึ่งมีการติดตั้งอยู่ก่อนแล้ว ในเบื้องต้นอุปกรณ์ที่จะควบคุมการเปิด-ปิด ประกอบด้วย หลอดไฟ ดีซี มอเตอร์ ปิด-เปิดรั้วจาลอง
ABSTRACT This project was to develop a communication technology to control home electrical appliances via a smart phone. The system comprises of Arduino microcontroller board with WiFi buit-in module and relay module. It can show states of electrical appliances on application name “Blynk”. The system can also work with the existing manual control switches. Scope of appliances in this project is only light bulbs and a DC motor.รศ.วิระสิทธิ์ อิ่มถวิล
นายรัฐศาสตร์ วุฒวัณณ
นายพีรัช เข็มแก้วมะลี
425EE2019-2/08วิศวกรรมไฟฟ้าระบบแสดงสถานะผู้ใช้งานโต๊ะอ่านหนังสือของห้องสมุด
Seat Availability Monitoring System in a Librบทคัดย่อ โครงการนี้เป็นการออกแบบและสร้างระบบแสดงสถานะผู้ใช้งานโต๊ะอ่านหนังสือของห้องสมุด (Seat Availability Monitoring System in a Library)โดยใช้บอร์ด MCU และใช้ Motion Infrared sensor เพื่อทาการเก็บค่าและสถานะการใช้โต๊ะอ่านหนังสือในโซนอ่าน 24 ชั่วโมง ว่ามีผู้ใช้งานโต๊ะอ่านหนังสือหรือไม่ ผ่านทางแอพพลิเคชั่น Blynk โดยใช้เทคโนโลยี IoTเข้ามาช่วยให้การแสดงสถานะเป็นไปด้วยความแม่นยาและทางานอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งแสดงสถานะผ่านจอ LCD ให้ผู้ที่ต้องการใช้งานรู้ว่าโต๊ะนั่งอ่านหนังสือว่างหรือมีการจองที่นั่งทิ้งไว้เป็นระยะเวลาที่เกินกาหนด ผลการดาเนินงานของโครงการนี้คืออุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับผู้ใช้งานได้และแสดงค่าสถานะได้อย่างแม่นยารวมถึงสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตและแสดงค่าสถานะการนั่งอ่านหนังสือได้อย่างต่อเนื่อง
ABSTRACT This project was to design and build a seat availability monitoring system in a library using a microcontroller unit (MCU) and motion infrared sensor. The system is capable of string and monitoring seat availability in 24 hours reading zone via IoT technology and Blynk application. The LCD displaying the seat available is also mounted on the desk. The result of this project can accurately and continuously the status of were whether or not there are some seat available in this reading zone.รศ.วิระสิทธิ์ อิ่มถวิล
นายธนภัทร แก้วมีศรี
นายปภิณวิช ปั้นอุดม
426EE2019-2/09วิศวกรรมไฟฟ้าระบบตรวจจับสำหรับปัญหาสุขาภิบาลและโครงสร้างพื้นฐานสาธารณะ
Object Detection for Public Sanitation and Infrastructureโครงการนีม) ีวตั ถปุ ระสงค์เพ6ือศึกษาและพฒั นาโมเดลและสว่ นประสานระหวา่ งซอฟต์แวร์กบั ผ้ใู ช้ (API) สาํ หรับตรวจจบั วตั ถสุ าํ หรับปัญหาสขุ าภิบาลและโครงสร้างพืน) ฐานในสาธารณะร่วมกบั ห้องปฏิบตั กิ ารระบบ จราจรอจั ฉริยะ(ITS lab) ศนู ย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เพ6ือศึกษาข้อดีและ ข้อเสียหากจะนำไปพฒั นาตอ่ ยอดร่วมกับแอพพลิเคชน6ั สาํ หรับรายงานปัญหา ตา่ ง ๆ ภายในเมือง จากผลการทดลองโดยอาศยั ข้อมลู ภาพในการฝึกสอนท6ีได้รับจากห้องปฏิบัติการระบบจราจรอัจฉริยะ จำนวน 31 ภาพ ได้ผลลพั ธ์คา่ ความถกู ต้อง 87% สาหรับข้อมลู ภาพในการทดสอบจานวน 8 ภาพ ได้ผลลพั ธ์คา่ ความถกู ต้อง 50% คาํ สาํ คัญ : โมเดลตรวจจับวัตถุ ปัญหาสุขาภิบาลและโครงสร้างพืน) ฐานในท6ีสาธารณะ ส่วนประสานระหว่างผู้ใช้ กับซอฟต์แวร์
This project aims to study and develop the object detection model as well as Application programming interface (API) service for city’s public sanitation and infrastructure problems, in association with “Intelligent Transport System” laboratory (ITS), to examine the advantage and disadvantage of the prototype as a feature, in consideration of further development and incorporating into the existing app for city public sanitation and infrastructure problem report, namely, “Traffy Fondue”. As the consequence of the experiment using 31 image samples from the dataset provided by the laboratory, the model was able to obtain 87% performing on train dataset, however, the model obtained only 50% on test set Keyword: Object detection, city’s public sanitation and infrastructure problem, Application programming interface (API)รศ.อานุภาพ มีสมบูรณ์
นายณัฐพงษ์ แซ่เล็ก
427EE2019-2/10วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องผัดกะเพราอัตโนมัติ
Stir-Fried Basil Cooking Machineผศ.นิยม พินิจการ
นายพงษ์สิทธิ์ คำมะโนชาติ
นายวรุฒ เหล่าชัย
428EE2019-2/11วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์หยอดเมล็ดกล้าข้าว
Rice Seed Planting Robotการจัดทาโครงงาน เรื่องหุ่นยนต์หยอดเมล็ดกล้าข้าว มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ที่ช่วยเรื่องการหยอดเมล็ดข้าวแทนการใช้แรงงานของมนุษย์ให้มีระยะที่สม่าเสมอ มีการควบทิศทางโดยการใช้ระบบการควบคุมจากระยะไกล ภายในโครงงานประกอบไปด้วย การศึกษาระบบสมองกลฝังตัวผ่านการเขียนโปรแกรมควบคุมไมโครคอนโทรเลอร์ ศึกษาและพัฒนาระบบการขับเคลื่อนหุ่นยนต์โดยใช้การควบคุมจากระยะไกล ออกแบบและพัฒนาระบบการหยอดเมล็ดกล้าข้าวให้มีประสิทธิภาพ ผลการทดสอบการออกแบบเครื่องหยอดเมล็ดกล้าข้าว โดยการควบคุมระบบจากไมโครคอนโทรลเลอร์ ใช้ถังแกลลอนขนาด 3.5 ลิตรเป็นที่สาหรับบรรจุเมล็ดกล้าข้าวให้ไหลลงมาสู่ระบบกลไกที่ทาหน้าที่เปิดปิดให้เมล็ดข้าวออก หรือหยุด จากการทดสอบโดยทาการทดลองให้ระบบหยอดเมล็ดทางานจานวน 20 ครั้งต่อเนื่อง จะได้ว่าถังบรรจุเมล็ดที่ 1 จะให้เมล็ดกล่าข้าวออกมาเฉลี่ย 9.2 เมล็ด ถังบรรจุเมล็ดที่ 2 ให้เมล็ดกล้าข้าวออกมาเฉลี่ย 7.9 เมล็ด การทดสอบจานวนเมล็ดที่ใช้งานเมื่อปล่อยให้ระบบหยอดเมล็ดทางานต่อเนื่องเป็นเวลา 30 นาที ผลการทดสอบคือจานวนเมล็ดที่ออกจากถังบรรจุเมล็ดที่ 1 มีน้าหนักรวม 64.5 กรัม จานวนเมล็ดที่ออกจากถังบรรจุเมล็ดที่ 2 มีน้าหนักรวม 87.0 กรัม และการทดสอบระบบการขับเคลื่อนของส่วนขับเคลื่อนโดยทาการสร้างเส้นทางสมมติขึ้นมาแล้วบังคับให้หุ่นยนต์ขับเคลื่อนไปตามเส้นทางที่ได้เตรียมไว้ผลคือหุ่นยนต์สามารถเคลื่อนที่ไปตามเส้นทางที่กาหนดได้
ผศ.นิยม พินิจการ
นายชานนท์ ศรีวรสาร
นายภาสกร อินไชยา
429EE2019-2/12วิศวกรรมไฟฟ้าระบบอัตโนมัติโดยใช้อะดุยโน่พีแอลซี
Project Tittle: Automation Using Arduino PLCโครงการนีไ้ ด้จัดทาขึน้ เพื่อศึกษา อะดุยโน่ พีแอลซี (Arduino PLC) หรือคอนโทรลลิโน่ (Controllino) ซงึ่ เป็น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ที่น่าสนใจนามาประยุกต์ใช้ควบคุมระบบอัตโนมัติ โดยใช้โปรแกรม Arduino IDE และยังมี โปรแกรมที่สามารถใช้ควบคุมได้หลากหลาย และเป็นการเปิดเผยข้อมูลทางซอร์ฟแวร์ (Open Source) ทาให้ง่ายต่อ การใช้งานสา หรับผู้ที่เริ่มต้น ภายในโครงการนีไ้ ด้มีการศึกษาการใช้งานพืน้ ฐานของ อะดุยโน่ พีแอลซี ในภาคเรียนต้น เช่น การรับส่งสัญญาณแบบอนาล็อกและแบบดิจิตอล การใช้ฟังก์ชั่นต่างๆ และภาคเรียนปลายนีจ้ ะนา อะดุยโน่ พีแอลซี มาประยุกต์ใช้ควบคุมระบบอัตโนมัติ คือ Home Automation อะดุยโน่ พีแอลซี มีกาลังไฟฟ้าที่สูงกว่าอะดุยโน่ธรรมดา จึงสามารถใช้ขับมอเตอร์ได้โดยตรง อะดุยโน่ พีแอลซี มีอินพุตและเอาต์พุตจานวนมากให้เลือกใช้ นอกจากนียั้งมีรีเลย์ (Relay) สายอีเทอร์เน็ต (Ethernet) ทาให้ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ควบคุมระบบ Home Automation ได้อย่างน่าสนใจ
This project was conducted to study the Arduino PLC or Controllino, a new electronic device of interest applied to the automatic control system. It can be used with other software solutions and combines the flexibility and open-source, easy to use default user. The purpose of this project is to study the basic functions of analog and digital signal processing and using functions. The final learner will use a complex automatic control system. The power of Arduino PLC is higher than the arduino. It can be used to drive a motor directly. Arduino PLC has a lot of input and output options. There is also relay, Ethernet and RS485 can be applied to the automatic control system that is very interesting.ผศ.อนุชา แสงรุ่ง
นางสาวภัคจิรา กำเลิศกล้า
นางสาววิรัตน์ดา มหาโพธิ์
430EE2019-2/13วิศวกรรมไฟฟ้าแขนกลหุ่นยนต์สาหรับอุตสาหกรรม
Industrial Robot Armโครงงำนเรื่องแขนกลหุ่นยนต์สำ หรับอุตสำหกรรมจัดทำ ขึ้นมำโดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษำเกี่ยวกับแขน กลหุ่นยนต์สำ หรับอุตสำหกรรมท่มี ีอยู่ในห้องปฏิบัติกำรของภำควิชำวิศวกรรมไฟฟ้ำ 2.เพื่อเรียนรู้และออกแบบสร้ำง ระบบอัตโนมัติโดยใช้แขนกลหุ่นยนต์สำ หรับอุตสำหกรรมไปช่วยทำ งำนในด้ำนอุตสำหกรรม โดยแบ่งขั้นตอนกำร ดำ เนินงำนเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ด้ำนฮำร์ดแวร์ โดยทำ กำรศึกษำส่วนประกอบหลักของแขนกลหุ่นยนต์ และ ออกแบบสเตชั่นสำ หรับใช้ตั้งกล้องเพื่อจับภำพ ตอนที่ 2 ด้ำนกำรควบคุม กำรศึกษำกำรใช้คำ สั่งเพื่อนำ ไปควบคุม แขนกลและศึกษำกำรเชื่อมต่อพีแอลซี ตอนที่3 ด้ำนซอฟแวร์ เริ่มจำกกำรติตั้งโปรแกรมที่ใช้ในกำรควบคุมของแขกล และพีแอลซีรวมไปทงั้ กำรตั้งค่ำก่อนกำรเชื่อมต่อกับแขนกลของมิตชูบิซิจำกนนั้ ทำ กำรออกแบบอย่ำงง่ำยเพ่อื ทดสอบ กำรทำ งำนของแขนกล จำกกำรดำ เนินงำนทงั้ 3 ตอน ได้ผลกำรศึกษำดังนี้ แขนกลหุ่นยนต์ในห้องปฏิบัติกำรภำควิชำ วิศวกรรมไฟฟ้ำสำมำรถรับอินพุตจำกภำยนอกเพื่อใช้ในกำรสั่งกำรแขนกลหุ่นยนต์ได้ โดยจะสำมำรถรับอินพุตจำก ภำยนอกได้โดยกำรเชื่อมต่ออินพุตนนั้ เข้ำกับชุดพีแอลซีที่เชื่อมต่อกับชุดควบคุมแขนกลหุ่นยนต์ ซึ่งผลกำรทำ งำนที่ได้ พบว่ำแขนกลหุ่นยนต์สำมำรถทำ งำนจำกกำรรับอินพุตภำยนอกได้ดี ข้อผิดพลำดที่เกิดขึ้นโดยรวมเกิดจำกกำรที่ โปรแกรมในกำรประมวลผลทำงกำยภำพของอินพุตภำยนอกประมวลผลผิดพลำด
The project of robotics for the industry was created with the objective of 1. To study about robotics for industrial robots that exist in the laboratories of the Department of Electrical Engineering. 2. To learn and design and build automation systems by using industrial robotics robots to help with industrial work. By dividing the operation process into 3 steps as follows by studying the main components of the robot arm and designed a station for using to set the camera to capture images. Study of using commands to control the robot arm and studying PLC connection. Part 3. The software starts with the programming of the control program of guest and PLC including Both the pre-connection setting with the Mitsubishi robot arm and then a simple design to test the operation of the robot arm From the 3 steps of operations, the results of the study are as follows: The robot arm in the laboratory of the Department of Electrical Engineering can accept external input for commanding the robot arm. The external input can be obtained by connecting that input to a PLC connected to the robot arm controller. The result shows that the robot arm can work well from external input. The overall error is caused by the NI Vision Builder program being processed incorrectly.ผศ.อนุชา แสงรุ่ง
นางสาวภัทราภรณ์ ดีเลิศ
นายโภคิน เสวาภพ
431EE2019-2/14วิศวกรรมไฟฟ้าระบบอัตโนมัติสำหรับงานเกษตรกรรม
Automation for Agricultureผศ.อนุชา แสงรุ่ง
นายจีรศักดิ์ ชาวชอบ
นายณัฐภัทร หมวกสกุล
432EE2019-2/15วิศวกรรมไฟฟ้าระบบอัตโนมัติที่มีจักรกลวิทัศน์
Automation With Machine Visionโครงกำรนี้เป็นกำรออกแบบ สร้ำงระบบอัตโนมัติและประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์กับระบบอัตโนมัติที่มีจักรกลวิทัศน์เพื่อตรวจสอบควำมถูกต้องของชิ้นงำนและสำมำรถคัดแยกชิ้นงำนได้ โดยใช้โปรแกรมวิชั่นบิลเดอร์ (VBAI : NI Vision Builder for Automated Inspection) เป็นตัวควบคุมระบบผ่ำนโดย DAQ (Data Acquisition Card) เพื่อรับคำสั่งจำกเซนเซอร์แล้วเข้ำสู่กระบวนกำรประมวลผลภำพและส่งคำสั่งไปยังรีเลย์เพื่อสั่งมอเตอร์ให้คัดแยกชิ้นงำนที่ไม่สมบูรณ์ออกไป โดยวิชั่นบิลเดอร์จะประมวลผลจำกภำพถ่ำยที่ถูกนำเข้ำมำและส่งผลที่ได้ไปยังซอฟต์แวร์ที่ออกแบบไว้เพื่อสั่งกำรให้มอเตอร์ทำงำนแล้วจึงคัดแยกชิ้นงำนตำมกรณีที่ได้ จำกกำรออกแบบ สร้ำงระบบอัตโนมัติและประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์กับระบบอัตโนมัติที่มีจักรกลวิทัศน์ พบว่ำสำมำรถเขียนโปรแกรมให้มีกำรทำงำนร่วมกันได้ระหว่ำงระบบอัตโนมัติและจักรกลวิทัศน์ กำรทดลองประมวลผลภำพเพื่อตรวจสอบควำมถูกต้องและคัดแยกชิ้นงำน ส่วนใหญ่มีกำรประมวลผลภำพที่ถูกต้องโดยปัจจัยที่มีผลคือ แสงสว่ำงจำกแหล่งกำเนิดแสง ซึ่งหำกมีแสงสว่ำงเพียงพอจะสำมำรถตรวจสอบได้ถูกต้องและจะส่งผลให้กำรคัดแยกชิ้นงำนถูกต้องตำมไปด้วย แต่ยังพบควำมผิดพลำดจำกกำรทดลอง คือ กำรเขียนซอฟต์แวร์ที่ไม่ละเอียดเพียงพอ
This project is designed, designed and applied software to automation with machine vision to verify the accuracy and pick out of workpieces. Using VBAI (NI Vision Builder for Automated Inspection) as a system controller via DAQ (Data Acquisition Card) to receive commands from the sensor and enter the image processing and send commands to relays to order the motor to pick out the incomplete workpieces. VBAI will process the imported photos and send the results to the designed software to order the motor operate and then pick out workpieces according to the case was received. From the design, build and apply software to automation with machine vision found that it was able to write programs to work together between automation and machine vision. Image processing experiment to check the accuracy and pick out of workpieces, in the most case, the image processing is correct. The factor that affects the experiment is light from light source. Which, if there is enough light, will be able to check correctly and will result in the separation of the workpieces correctly as well but still found errors in the experiment was writing software that is not detailed enough.ผศ.อนุชา แสงรุ่ง
นางสาวเมธาวี หัตถพรหม
นางสาวลักษิกา ธิมา
433EE2019-2/16วิศวกรรมไฟฟ้าโคมไฟเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ด้วย LED
LED Lamp for Purple non-sulfur Bacteria Bioreactorเนื่องจากในปัจจุบันในประเทศไทยเรามีอุณหภูมิที่สูงและมีแสงแดดที่แรงทาให้การเลี้ยงจุลินทรีย์ที่ต้องใช้แสงแดดและอุณหภูมิที่เหมาะสมนั้นเป็นเรื่องที่ควบคุมได้ยาก จึงได้มีการนาจุลินทรีย์ไปเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการโดยใช้แสงจากหลอดตะเกียบ(CFL) คณะผู้จัดทาจึงต้องการออกแบบและสร้างโคมไฟด้วย LED ที่สามารถเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ได้อย่างเหมาะสมและประหยัดพลังงาน ซึ่งหลอดไฟLEDนั้นประหยัดพลังงานมากกว่าหลอดตะเกียบ(CFL)และให้แสงสว่างที่ดีกว่า โดยแสงสว่างที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์คือ4000 – 10000 Lux คณะผู้จัดทามองว่าเป็นโครงงานที่มีความท้าทายความรู้ด้านวิศวกรรมเพราะใช้ความรู้ทางไฟฟ้า การออกแบบให้ได้มีโครงสร้างที่เหมาะสม
ผศ.ปานหทัย บัวศรี
นายทศพล ผาบจันดา
434EE2019-2/17วิศวกรรมไฟฟ้าการส่งพลังงานไฟฟ้าแบบไร้สาย
Wireless electrical energy transmissionปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การส่งผ่านพลังงานแบบไร้สายเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาขึ้น การส่งพลังงานในรูปแบบนี้ไม่จำเป็นต้องใช้สายไฟในการนำพลังงานไฟฟ้า ทำให้ลดอันตรายจากการเสื่อมของสายไฟฟ้าลงได้ รวมถึงความปลอดภัยจากการโดนสัตว์ฟันแทะที่ทำลายสายไฟฟ้า โครงงานนี้ศึกษาการส่งผ่านพลังงานแบบไร้สาย ปัจจัยที่ผลต่อการส่งผ่านพลังงาน และออกแบบพร้อมสร้างชุดทดลองการส่งผ่านพลังงานแบบไร้สาย การทดลองแบ่งเป็น 2 ส่วนคือวงจรภาคส่ง และวงจรภาครับ วิธีการทดลองคือ วงจรภาคส่งทำหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับให้ได้ความถี่ตามที่ต้องการ แล้วส่งพลังงานไฟฟ้าผ่านขดลวดในรูปแบบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีตัวกลางเป็นอากาศและแกนเฟอร์ไรต์ ไปยังขดลวดของวงจรภาครับเพื่อใช้ขับโหลดทางไฟฟ้าต่อไป ผลการทดลองความถี่ที่ใช้ในการส่งผ่านพลังงานไฟฟ้านี้คือ 100 kHz โหลดที่ใช้ในการทดสอบคือหลอดไฟ LED ขนาด 3V, 3W; 12V, 5W และ 12V, 9W โดยระยะห่างระหว่างขดลวดภาคส่งและภาครับที่ระยะ 1 cm จนถึง 10 cm ประสิทธิภาพสูงสุดที่ได้จากการทดสอบที่ระยะ 1 cm หลอดไฟ LED ขนาด 3V, 3W โดยใช้แกนเฟอร์ไรต์, หลอดไฟ LED ขนาด 3V, 3W โดยใช้แกนอากาศ, หลอดไฟ LED ขนาด 12V, 5W โดยใช้แกนอากาศ และ หลอดไฟ LED ขนาด 12V, 9W โดยใช้แกนอากาศ คือ 0.193%, 4.16%, 7.38% และ 8.52% ตามลำดับ ประสิทธิภาพสูงสุดที่ได้คือ 8.52% ที่ระยะ 1 cm ประโยชน์ของโครงงานเรื่องนี้คือเข้าใจหลักการ ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อการส่งผ่านพลังงาน และได้ชุดทดลองเครื่องส่งผ่านพลังงานแบบไร้สาย
Nowadays, the advancement of technology is the rapid development Wireless power transmission is one of the developed technology, The transmission of energy in this type does not require the power cable in the electric power system. The electric cable is integrated to be safe from rodents that destroy the electric cable. This project studies the wireless power transmission, design and build a wireless power transmission experiment kit. We divided the experiment into 2 parts; electrical circuit design, and electric current transmission. As required and then transmit electrical energy through the coil in the form of electromagnetic waves. The frequency transmission in experiment is 100 kHz. The load used in the test is 3V, 3W; 12V, 5W and 12V, 9W LED lamps. The distance between the coil and the receiver is at 1 cm to 10 cm. The highest efficiency at 1.0 cm received from testing 3V, 3W LED lamps using a ferrite core, LED lamps of 3V, 3W using an air core, LED lamps of 12V, 5W using an air core and LED lamp of 12V, 9W using air core is 0.193%, 4.16%, 7.38% and 8.52%, respectively. The maximum efficiency received is 8.52% at the distance of 1 cm. The benefit of this project is understanding that wireless power transmission principles and the experimental set are received.รศ.อาคม แก้วระวัง
นายอาทิตย์ แสวงสุข
นางสาวบุณยานุช ปทุมถิ่น
435EE2019-2/18วิศวกรรมไฟฟ้าอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอรี่แบบไร้สาย
Wireless Chargerปัจจุบันการใช้สมาร์ทโฟนเป็นเรื่องปกติของทุกคนบนโลก ปัญหาของการใช้สมาร์มโฟนที่ผู้จัดทาโครงงานเล็งเห็นถึงคือปัญหาเกี่ยวกับสายชาร์จซึ่งปัญหาการชารุดเสียหายเป็นปัญหาที่พบเจอได้มาก ผู้จัดทาโครงงานจึงเลือกทาโครงงานอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอรี่แบบไร้สายขึ้น วัตถุประสงค์คือศึกษาระบบการส่งผ่านพลังงานแบบไร้สายและลดการชารุดเสียหายของสายชาร์จสมาร์ทโฟน โครงงานนี้กล่าวถึงการออกแบบ และสร้างอุปกรณ์แบตเตอรี่แบบไร้สาย (wireless charger) สาหรับการใช้งานทั่วไป โครงงานนี้มุ่งเน้นไปที่การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อระบบส่งกาลังไฟฟ้าแบบไร้สาย (WRT) และระบบชาร์จแบตเตอรี่ไร้สาย (wireless batteries charging : WBC) ในอุปกรณ์ต้นแบบ มีความถี่ในการใช้งานที่100-250 kHz ตามมาตรฐาน QI ซึ่งเป็นมาตราฐานที่กาหนดการถ่ายโอนพลังงานแบบไร้สาย พัฒนาโดย Wireless Power Consortium ระบบจะใช้แผ่นรองชาร์จ และอุปกรณ์รองรับซึ่งวางอยู่ด้านบนแผ่นรองชาร์จ ผ่านการเชื่อมต่อแบบเหนี่ยวนา ผู้จัดทาโครงงานแบ่งการทดลองเป็น 2 ส่วน คือภาคส่ง (Transmitter) และภาครับ (Receiver) ผลการทดลองสาคัญ ภาคส่งคือสัญญาณไซนูซอยด์ (Sinusoidal waveform) ที่แรงดันมากกว่า 7.5 Vในความถี่ 100–250 kHz ภาครับคือไฟฟ้ากระแสตรงแรงดัน 5 V เพื่อส่งเข้าแบตเตอรี่ของสมาร์ทโฟนต่อไป จากการทดลองผู้จัดทาโครงงานสังเกตได้ว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลต่อการชาร์จ เช่น ระยะห่างระหว่างชดลวด ระยะเหลื่อมระหว่างขดลวด หรือกระทั่งสัญญาณดิจิตอลที่ป้อนเข้าสู่โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ล้วนส่งผลต่อการกระแสที่เข้าสู่แบตเตอรี่ของโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนทั้งสิ้น ผู้จัดทาโครงงานพยายามควบคุมปัจจัยที่กล่าวไปข้างต้นให้ได้ประสิทธิภาพมากที่สุด และจะพัฒนาต่อไปโดยปัจจุบัน ผลการทดลองสาคัญที่ได้คือ กระแสที่เข้าสู่แบตเตอรี่โทรศัพท์สมาร์ทโฟนเท่ากับ 0.85 A การชาร์จแบตเตอรี่ในช่วง 20% ถึง 80% ด้วยอุปกรณ์ชาร์จแบตเตอรี่ไร้สาย ใช้เวลาประมาณ 1ชั่วโมง 15 นาที
Nowadays, a smartphone is used for everyone in the world. The common problem with using a smartphone is the charging cable damage. Therefore, project organizers chose to work on a project for wireless battery chargers. The objectives are to study the wireless power transmission system and reduce the damage of the smartphone charging cable. This project designs and builds a wireless charger for general uses this project focuses on the study of factors that affect the wireless power transmission system (WRT) and wireless batteries charging (WBC) in the prototype equipment. It has a frequency of 100–250 kHz according to the QI standard, that is a standard for wireless power transfer, developed by the Wireless Power Consortium. The support devices are placed on top of the charging pad via inductive connection. The project organizer divided the experiment into 2 parts the transmitter and receiver. The transmitter is a sinusoidal waveform at a voltage higher than 7.5 V in the frequency of 100–250 kHz. The receiver is a DC voltage of 5 V to continue to send to the smartphone battery. From the experiments, the project organizer noticed that there are many factors that affect on the charging, such as the distance between the wire cover, the distance between the coils and digital signals entered into mobile phones and smart phones. All of the above are affect on battery of mobile phones. The authors try to control the factors mentioned above to be the most effective and it will be continued to develop. The important results of the experiment are the current entering the smartphone battery is 0.85 A and charging the battery in the range of 20% to 80% with wireless charger takes about 1 hour 15 minutes.รศ.อาคม แก้วระวัง
นางสาวยุพารัตน์ นพคุณโพธิ์สว่าง
นายศิร เกษมปรียาดา
436EE2019-2/19วิศวกรรมไฟฟ้าผลของสนามแม่เหล็กภายนอกที่มีต่อการวัดพลังงานไฟฟ้าของ Kilowatt-hour meter ชนิดเหนี่ยวนำ
Effect of Magnetic Fields on the Electrical Energy Measurement of an Induction Type Kilowatt-Hour Meterรศ.อาคม แก้วระวัง
นายจตุรเดช บุตรดา
นายพิพัฒน์ พรหมสวัสดิ์
437EE2019-2/20วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องสังเคราะห์เสียงแบบโมดูล
Modular Synthesizerผศ.กิตติพิชญ์ มีสวาสดิ์
นายธนากร ภูธรศรี
นายธนินทร์ชัย โคตรวงค์
438EE2019-2/21วิศวกรรมไฟฟ้าการพัฒนา Particle Swarm Optimization (PSO) สา หรับการลดค่าราคาเชื้อเพลิงการ ผลิต (fuel cost) ในระบบไฟฟ้ากำลัง 14 บัส และ 30 บัส
Development of Particle Swarm Optimization (PSO) for reducing the cost of fuel in a 14-bus power system and 30-bus power systemบทคัดย่อ บทความนี้นา เสนอวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรกระบวนการผลิตไฟฟ้าในการจ่ายโหลดเพื่อใหมี้ ค่าใช้จ่ายที่ถูกที่สุด โดยพัฒนาจากวิธีหาค่าที่เหมะสมที่สุด Particle Swarm Optimization (PSO) โดยจะ ทดสอบกับระบบไฟฟ้ากา ลังจา ลองIEEE14-busและIEEE30-busโดยที่จะได้ผลลัพธ์คือPSOแบบปรับปรุง ทา ให้ได้ค่าfuelcost ลดลงเมื่อเทียบกับค่าPSOต้นแบบโดยPSO 14 บัสมีค่าลดลง=0.0088%และPSO 30 บสั มีค่าลดลง=7.7892%ผลปรากฏว่าค่าfuelcostมีค่าที่ลดลงเล็กน้อยและ PSO 30 บัส สามารถลดค่าfuel cost ได้ ดีกว่าPSO14บัส
ศ.อภิรัฐ ศิริธราธิวัตร
นายสิรภพ ถาวรกฤชรัตน์
นายจิตริน ภู่สำเภา
439EE2019-2/22วิศวกรรมไฟฟ้าแบบจาลองรีเลย์ระยะทางแบบนิวเมอริคอลสาหรับจาลองผล ระบบป้องกันสายส่งในโปรแกรม MATLAB Simulink
Numerical distance relay models for simulating transmission line protection in MATLAB Simulinkโครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจา ลองรีเลย์ระยะทางแบบนิวเมอริคอลรีเลย์ เพื่อใช้จา ลองผล ระบบไฟฟ้ากา ลังในการป้องกันสายส่ง และสร้างแบบจา ลองรีเลย์ระยะทางที่สามารถจา ลองผลการป้องกันระบบ ไฟฟ้ากาลังในโปรแกรม MATLAB Simulink โดยทาการออกแบบรีเลย์ระยะทาง 3 ประเภท ประกอบด้วย 1) อิมพิแดนซ์รีเลย์ ทา งานโดยใช้การเปรียบเทียบของขนาดอิมพิแดนซ์ที่โปรแกรมวัดได้กับค่าปรับตั้งการทา งาน ของรีเลย์ และสามารถสร้างขอบเขตการป้องกันเป็นรูปวงกลม จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกา เนิด 2) โมห์รีเลย์ ทา งาน โดยเปรียบเทียบขนาดและมุมของค่าอิมพิแดนซ์กับค่าปรับตั้งการทา งานของรีเลย์ และสร้างขอบเขตการป้องกัน เป็นรูปวงกลม จุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดใด ๆ โดยเส้นรอบวงสัมผัสจุดกา เนิด 3) รีเลย์สี่เหลี่ยมคางหมู ทา งานโดยใช้ ค่าจานวนจริงและจานวนจินตภาพของอิมพิแดนซ์ที่โปรแกรมคานวณได้เปรียบเทียบกับค่าปรับตั้งการทางาน และสร้างขอบเขตการป้องกันโดยใช้ค่าจา นวนจริงกับค่าจา นวนจินตภาพของอิมพิแดนซ์ สา หรับการทดสอบทา การจาลองการเกิดการลัดวงจรในระบบส่งจ่ายกาลังไฟฟ้าทั้ง 4 กรณีประกอบด้วย การลัดวงจรระหว่างเฟสทั้ง 3 เฟส, การลัดวงจรระหว่างเฟสลงดิน , การลัดวงจรระหว่างเฟสลงดิน และการลัดวงจรเฟสลงดิน พบว่ากรณีที่เกิด เปอร์เซ็นต์คลาดเคลื่อนของค่าอิมพิแดนซ์ที่โปรแกรมวัดได้เทียบกับการคานวณทางทฤษฎีมากที่สุดคือ การ ลัดวงจรแบบเฟสลงดิน และกรณีที่เกิดเปอร์เซนต์คลาดเคลื่อนของค่าอิมพิแดนซ์น้อยที่สุด คือ สามเฟส และได้ ตรวจสอบการทางานที่ถูกต้องของรีเลย์ระยะทางแต่ละชนิดโดยสร้างขอบเขตการป้องกันพบว่า รีเลย์ทั้ง 3 ประเภทสามารถทา งานได้ถูกต้องตามขอบเขตที่กา หนด
This project presents a design of Numerical distance relay models for simulating the results of power system protection in MATLAB Simulink program. There are 3 types of distance relay model included in this project, i.e. (1) Impedance relay which works based on the comparison of the impedance value calculated by its processor and predetermined setting value having the protective zones as circles centered at the origin (2) Mho relay which works based on the comparison magnitude and phase of impedance value calculated by its processor and impedance setting value characterized by circles whose circumferences touch the origin (3) Quadrilateral relay working on the comparison real and imaginary value of impedance value calculated by the processor and impedance setting values with the protection boundary in quadrilateral shapes. For testing the relay models, simulation of short circuit faults on transmission line including three-phase fault, phase to phase fault, phase to phase to ground fault and phase to ground fault are performed. The results showed that the relay can detected the fault impedance with the highest error in the case of phase to ground fault case and the lowest error in the case of three-phase fault. All implemented relay model can operate correctly in simulated fault scenarios and successfully detected the location of fault with all specified protection zones.ผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นายเปรมศักดิ์ อ้วนศรีเมือง
นางสาววิลาสินี คำเสนาะ
440EE2019-2/23วิศวกรรมไฟฟ้าแบบจาลองรีเลย์กระแสผลต่างเปอร์เซนเตจไบแอสแบบนิวเมอริคอลสาหรับการจาลองผลการป้องกันหม้อแปลงในโปรแกรม MATLAB Simulink
Numerical percentage-bias differential relay models for simulating transformer protection in MATLAB Simulinkบทคัดย่อ โครงการนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับนิวเมอริคอลรีเลย์กระแสผลต่างแบบเปอร์เซนเทจไบแอสเพื่อสร้างและออกแบบแบบจาลองนิวเมอริคอลรีเลย์กระแสผลต่างแบบเปอร์เซนเทจไบแอสมาป้องกันระบบสายส่งแรงดันสูง โดยใช้โปรแกรม MATLAB Simulink ในการสร้างแบบจาลองรีเลย์กระแสผลต่างแบบเปอร์เซนเทจไบแอสที่เหมาะสาหรับการจาลองและวิเคราะห์ระบบไฟฟ้าในภาวะชั่วครู่และสภาวะคงตัว และแบบจาลองมีความยืดหยุ่นสามารถปรับตั้งค่าและนาไปใช้กับหม้อแปลงกาลังไฟฟ้าแบบอื่นๆได้ จากการทดสอบนี้พบว่าเมื่อมีกระแสลัดวงจรภายในขอบเขตการป้องกันของรีเลย์กระแสผลต่างแบบเปอร์เซนต์เทจไบแอส โดยกระแสผลต่างมีกระแสมากกว่ากระแสเฉลี่ย รีเลย์จะรับรู้ได้และส่งสัญญาณไปที่เบรกเกอร์เพื่อให้เบรกเกอร์ทางาน แต่ถ้าเกิดกระแสลัดวงจรนอกเขตการป้องกัน รีเลย์กระแสผลต่างแบบเปอร์เซ็นต์เทจไบแอสจะไม่ทางาน
Abstract This project deals with Numerical percentage biased differential relay for simulating a transformer protection system in power system based on MATLAB Simulink program. The relay model is designed for steady state or transient simulations with user-friendly interface and ability to use with different transformer connections. Basically, the differential relay will only operate when any fault occurs in the specified protected zone by considering the differential current and the bias current. From the simulated case studies, the designed relay model can always accurately operate.ผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นายคุณัชญ์ แสนทวีสุข
นายธนภัทร เชิดสูงเนิน
441EE2019-2/24วิศวกรรมไฟฟ้าการพัฒนาแบบจาลองหม้อแปลงเครื่องมือวัดสาหรับการจาลองผลระบบไฟฟ้ากาลังในโปรแกรม MATLAB SIMULINK
Development of Instrument Transformer models for Power system simulation in MATLAB Simulinkบทคัดย่อ โครงงานนี้นาเสนอเรื่องการพัฒนาแบบจาลองหม้อแปลงเครื่องมือวัดโดยใช้โปรแกรม MATLAB SIMULINK ผู้จัดทาโครงงานมีความสนใจในการพัฒนาแบบจาลองหม้อแปลงเครื่องมือวัด หม้อแปลงเครื่องมือวัดมี 2 แบบคือ หม้อแปลงกระแสและหม้อแปลงแรงดัน ในการพัฒนาหม้อแปลงกระแสและหม้อแปลงแรงดัน พบว่าโปรแกรม MATLAB SIMULINK ยังไม่มีแบบจาลองหม้อแปลงกระแส จึงได้พัฒนาและออกแบบแบบจาลองหม้อแปลงกระแสขึ้นมาเพื่อใช้งาน และพัฒนาแบบจาลองหม้อแปลงแรงดันให้มีความสะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น ผู้จัดทาโครงงานได้นาแบบจาลองหม้อแปลงเครื่องมือวัดนี้ไปทดสอบแบบต่างๆดังนี้ 1.ทดสอบอัตราส่วน อัตราส่วนมีความแม่นยาสูง คลาดเคลื่อนเล็กน้อยในบางกรณี 2.ทดสอบขั้ว ให้ผลของกระแสและแรงดันฝั่ง Secondary กลับเฟส 180 องศา 3.ทดสอบการต่อใช้งาน ได้ผลตามทฤษฎีของการต่อหม้อแปลงกระแสและหม้อแปลงแรงดัน 4.ทดสอบการอิ่มตัว ให้ผลคือเกิดการอิ่มตัวเมื่อกระแสที่ไหลในแกนเหล็กมีค่าถึงจุด Knee point
ABSTRACT This project presents the development of instrument transformer models based on Matlab Simulink program. There are two types of instrument transformer model, current transformer and voltage transformer, implemented for simulation. The main purpose of this project is to implement instrument transformer model for power system simulation using Simulink program because Simulink has only power transformer model. To verify accuracy of the developed transformer models, the following tests have been performed. (1) Ratio test (2) Polarity test (3) Different connections of instrument transformer for 3-phase power system, (4) Saturation of transformer’s core due to fault event. The results from the simulations shows that the implemented transformer models can simulate the characteristic of practical transformer in general situation with acceptable error.ผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นายเจษฎา อุภัยพรม
นายชูชาติ คุณโดน
442EE2019-2/25วิศวกรรมไฟฟ้าแบบจำลองรีเลย์กระแสเกินแบบนิวเมอร์ริคอลสำหรับจำลองผลระบบ ป้องกันในโปรแกรม MATLAB Simulink
Numerical overcurrent relay models for simulating power system protection in MATLAB Simulinkโครงการนี้เป็นการออกแบบรีเลย์กระแสเกินแบบนิวเมอร์ริคอลในโปรแกรม MATLAB Simulink ซึ่ง แบ่งเป็นรีเลย์ป้องกันกระแสเกินเฟสและกระแสเกินลงดินแบบทา งานทันที (50) และ (50N) รีเลย์ป้องกันกระแส เกินเฟสและกระแสเกินลงดินแบบหน่วงเวลา (51) และ (51N) รีเลย์ป้องกันกระแสเกินเฟสและกระแสเกินลงดิน แบบมีทิศทาง (67) และ (67N) การออกแบบประกอบด้วยส่วนประกอบที่สา คัญ คือ ตัวกรองสัญญาณแบบอ นาล๊อก ระบบแปลงสัญญาณอนาล๊อกเป็นสัญญาณดิจิตอลหรือระบบ A/D ระบบแปลงค่าเป็น RMS และ ระบบ Microprocessor ซึ่งจะวิเคราะห์ข้อมูลของกระแสเกิน ระบุค่าและชนิดของความผิดพร่อง และส่งสัญญาณให้ เซอร์กิตเบรกเกอร์ทา งาน โดยรีเลย์ทุกชนิดจะอ้างอิงการปรับตั้งจากรีเลย์ที่ใช้งานจริง ทดสอบการทา งานของ รีเลย์โดยศึกษาเวลาที่รีเลย์ทา งานเมื่อเกิดความผิดพร่องขึ้นและเปรียบเทียบผลการทา งานแบบจา ลองรีเลย์และ รีเลย์ที่ใช้งานจริง ผลการทดสอบพบว่าแบบจา ลองรีเลย์ทุกชนิดสามารถป้องกันความผิดพร่องได้ตามที่กา หนด ไว้ และมีเวลาทา งานที่ใกล้เคียงกับรีเลย์ที่ใช้งานจริง
This project presents the design of Numerical Overcurrent Relay model in MATLAB Simulink. The relay models are classified into Instantaneous Overcurrent Relay (50, 50N), Time-delay Overcurrent Relay (51, 51N) and Directional Overcurrent Relay (67, 67N). The essential components of the numerical relay model are analog filter, analog to digital converter or A/D system, RMS calculator, and Microprocessor. Basically, overcurrent relay analyzes current measurement to detect faults and then send control signal to circuit breaker for trip circuit. The design of overcurrent relay models is based on a practical overcurrent relay. Using simple power system cases, various simulated case studies have been performed to demonstrate operation of the designed relay when short circuit faults occurred in the system and to compare the practical overcurrent relay. The results showed that all designed relay models can accurately operate under simulated faults.ผศ.วรายุทธ คัมภีราวัฒน์
นายปวริศ ปุ้มแพง
นายปวีณ โชติพันธุ์
443EE2019-2/26วิศวกรรมไฟฟ้าการจัดสมดุลการใช้ไฟฟ้าของหม้อแปลงจาหน่ายไฟฟ้า โดยพิจารณาการเข้ามาของยานยนต์ไฟฟ้า
Load Balancing of Distribution Transformer Considering Electric Vehicle Penetrationบทคัดย่อ โครงการนี้เป็นการศึกษาและการวิเคราะห์การจัดสมดุลการใช้ไฟฟ้าของหม้อแปลงจาหน่ายไฟฟ้า โดยการพิจารณาการเข้ามาของยานยนต์ไฟฟ้าในระบบไฟฟ้าแรงดันต่า ผลกระทบที่พิจารณาในการวิเคราะห์ในระบบไฟฟ้าแรงดันต่า ประกอบด้วย ผลกระทบด้านแรงดันตกในสายจาหน่าย ผลกระทบด้านกาลังไฟฟ้าสูญเสียในระบบ โดยระบบไฟฟ้าที่ใช้ในโครงการนี้เป็นระบบจาหน่ายไฟฟ้าแรงดันต่าของหมู่บ้านฉัตรเพชร ซึ่งเป็นหมู่บ้านจัดสรรในจังหวัดขอนแก่น โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์หาผลกระทบ คือโปรแกรม DigSILENT PowerFactory ซึ่งสามารถใช้สาหรับวิเคราะห์การไหลของกาลังไฟฟ้าในระบบ รวมไปถึงการวิเคราะห์ผลกระทบของยานยนต์ไฟฟ้าที่มีต่อระบบไฟฟ้า นอกเหนือจากนี้ โครงการนี้ยังได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาด้วยการจัดสมดุลการใช้ไฟฟ้าเพื่อลดผลกระทบของยานยนต์ไฟฟ้าที่มีต่อระบบไฟฟ้า
ABSTRACT This project studies and analyzes load balancing of a distribution transformer considering electric vehicle penetration. The focused impacts from electric vehicles consist of the voltage drop at each distribution line and power loss in the system. The low voltage electrical system from Chatpetch village in Khon Kaen, Thailand is used as the test system for this study. DigSILENT PowerFactory program is used to analyze the power flow of the system and the impact of electric vehicle on the system. The project also proposes the simple solution by using load balancing to reduce the mentioned impacts from electric vehicles on the power system.ผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายธนดล เจริญยุทธ
นายธนวัฒน์ ตระกูลสันติรัตน์
444EE2019-2/27วิศวกรรมไฟฟ้าการออกแบบสายอากาศระบบ 5G แบบสองแถบความถี่ โดยใช้เทคโนโลยี MIMO สาหรับใช้ภายในอาคาร
Design of Dual-band MIMO indoor antennas for 5G systemในโลกปัจจุบันนี้เทคโนโลยีมีความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง พัฒนาอย่างรวดเร็ว และแพร่หลาย รวมไปถึงเครือข่ายไร้สายที่เข้าสู่รุ่นที่ 5 หรือ 5G โครงงานนี้จึงได้มุ่งเน้นการออกแบบสายอากาศระบบ 5G แบบสองแถบความถี่โดยใช้เทคโนโลยี MIMO สาหรับใช้ภายในอาคาร โดยตอบสนองที่ย่านความถี่ต่า 700 MHz ย่านความถี่กลาง 2600 MHz และ 3500 MHz โดยจาลองการตอบสนองคลื่นความถี่ด้วยโปรแกรม CST STUDIO SUITE 2018 ในการทดลองปรับขนาดของสายอากาศ เพื่อดูผลการตอบสนองของสายอากาศขนาดต่าง ๆ ว่าครอบคลุมความถี่ที่ช่วงใดบ้าง และสายอากาศรูปแบบใด เหมาะสมในการนามาออกแบบสายอากาศ 5G ในอนาคต เมื่อดาเนินการทดลองพบว่าขนาดของสายอากาศมีผลต่อการตอบสนองของความถี่ และสายอากาศแต่ละประเภทมีผลต่อการครอบคลุมช่วงความถี่ เพื่อประสิทธิภาพที่ต้องการ ควรออกแบบขนาดของสายอากาศให้เหมาะสม และสร้างสายอากาศที่มีขนาด และโครงสร้างที่ให้ผลการจาลองตามที่ต้องการ วัดผลการสร้างโดย Network Analyzer พบว่าสายอากาศครอบคลุมช่วงความถี่ที่ต้องการ แต่เพื่อความแม่นยาควรสร้างสายอากาศโดยเครื่องมือที่เหมาะสม และวัดผลในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากสัญญาณรบกวน
Nowadays the technology is continuously progressing, Developed increasingly and extensively. Including wireless networks that entered the 5th or 5G model. So this project focused on the Design of Dual-band MIMO indoor antennas for 5G system by responding at low frequencies of 700 MHz, medium frequency range of 2600 MHz and 3500 MHz. Simulating the frequency response using program CST STUDIO SUITE 2018 to adjust the antenna size, to see the response of various size antennas that covers the frequency in which range and what type of antenna suitable to be used in designing the 5G antenna in the future. When conducting the experiment, It is found that the size of the antenna affects the frequency response and each type of antenna affects the frequency range coverage but can be controlled to achieve the desired efficiency by adjusting the size of the antenna appropriately. Measuring the results by the Network Analyzer found that the antenna covers the desired frequency range. But for precise, the antenna should be built with the appropriate equipment and measure in a noiseless environment.รศ.ศราวุธ ชัยมูล
นางสาวเบญญาภา แสงวิจิตร์
นางสาวปวรวรรณ พุกหน้า
445EE2019-2/28วิศวกรรมไฟฟ้าระบบเฝ้าระวังอัจฉริยะผ่านเครือข่าย LoRaWAN
Smart monitoring system using LoRaWANในยุคโลกไร้พรมแดน ( Globalization ) การทาให้อุปกรณ์สามารถติดต่อสื่อสารกันผ่านเครือข่าย แนวคิดนี้เรียกว่า Internet of Things (IOT) เครือข่ายที่ได้รับคือนิยมคือเครือข่าย LoRaWAN เนื่องจากใช้กาลังส่งต่า จึงยืดอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ได้ โครงการนี้จึงมุ่งเน้นพัฒนา Internet of Things (IOT) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาออกแบบ และสร้างระบบอัจฉริยะผ่านระบบเครือข่าย LoRaWAN เพื่อนาระบบเผ้าระวังอัจฉริยะผ่านเครือข่าย LoRaWAN มาประยุกต์ใช้งานกับ เพาเวอร์มิเตอร์อัจฉริยะ (Smart power meter) ฟาร์มอัจฉริยะ (Smart farm) และเพื่อศึกษาการใช้งานเซนเซอร์ (Sensor) ชนิดต่างๆ โดยทางคณะผู้จัดทาได้เริ่มศึกษาและทดลองวัดค่าจากเซนเซอร์ (Sensor) จากนั้นนาข้อมูลที่ได้ส่งผ่านเครือข่าย LoRaWAN และแสดงผลในรูปของกราฟบนเว็บไซต์ ThingSpeak โครงการนี้ศึกษาและทดลองวัดค่าจากเซนเซอร์ (Sensor) 3 ชนิด คือ ดิจิตอลเพาเวอร์มิเตอร์ SDM120M (Digital Power Meter SDM120M) เซนเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น DHT22 และเซนเซอร์วัดความเข้มแสง LDR Phototrasistor เขียนโปรแกรมควบคุมลงในบอร์ด Arduino และส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย LoRaWAN โดยใช้เกตเวย์เป็นอุปกรณ์ส่งต่อข้อมูลจากเซนเซอร์ไปยังเครือข่าย LoRaWAN จากนั้นแสดงข้อมูลในรูปของกราฟบนเว็บไซต์ ThingSpeak พบว่าการส่งข้อมูลผ่านเครือข่าย LoRaWAN นั้น จะส่งต่อเนื่องกันเป็นแพ็คเกจ แต่ละแพ็คเกจมีเวลาต่างกันประมาณ 3 นาที เมื่อใช้ความถี่ 923.2 MHz และใช้ Spreading factor เท่ากับ 10
In the age of globalization (Globalization) Communication via the internet helps the so-called Internet of Things (IOT). The popular network is the LoRaWAN network of batteries. This project focuses on the development of the Internet of Things (IOT). This project aims to study design. And build intelligent systems for apply intelligent surveillance systems via the LoRaWAN network to apply to Smart power meter, smart farm, and to study the use of different types of sensors, which the management team has started to study and experiment with sensor measurements. Transmitted over the LoRaWAN network and displayed in graphs on the ThingSpeak website This project studied and experimented with the measurement of 3 types of sensors, Digital Power Meter SDM120M (Digital Power Meter SDM120M), Temperature and Humidity Sensor, DHT22 and LDR Phototransistor. Write a control program on the Arduino board and send data through the LoRaWAN network, using a gateway as a device to transfer data from the sensor to the LoRaWAN network. Then display the data in a graph on the ThingSpeak website. Found that data transmitted through the LoRaWAN network will be delivered in succession as a package. Each package lasts approximately 3 minutes when using the 923.2 MHz frequency and the Spreading factor is equal to 10.รศ.ศราวุธ ชัยมูล
นางสาวศิริรัตน์ บุญสูง
นายกันตพิชญ์ อรรคศรีวร
446EE2019-2/29วิศวกรรมไฟฟ้าระบบการส่งกาลังงานไร้สาย 4 คอยล์ที่ใช้การเชื่อมต่อแบบแม่เหล็กเรโซแนนซ์ที่ความถี่ 13.56 เมกะเฮิร์ต
Four Coils Wireless Power Transfer System Using Magnetic Resonance Coupling at 13.56 MHzโครงงานนี้ได้นาเสนอการส่งผ่านกาลังงานไร้สายแบบ 4 คอยล์ที่ใช้การเชื่อมด้วยการเหนี่ยวนาสนามแม่เหล็กแบบเรโซแนนซ์ที่ความถี่ 13.56 MHz รูปแบบ SISO และ รูปแบบ SIMO โดยการส่งผ่านกาลังงานไร้สายนั้นจะขึ้นอยู่กับวงจรขดลวดภาคส่งและภาครับ พลังงานนี้จะถูกส่งไปยังวงจรภาครับซึ่งโดยทั่วไปจะส่งพลังงานในรูปแบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เมื่อดาเนินการทดลองแล้วพบว่าการส่งผ่านกาลังงานไร้สายสามารถส่งผ่านกาลังงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ระยะห่างถึง 700 มิลลิเมตร สาหรับวงจร 4 คอยล์รูปแบบ SISO ระยะทาง 500 มิลลิเมตรสาหรับวงจร 4 คอยล์ในรูปแบบ SIMO และระบบ SISO จะสามารถส่งกาลังงานได้สูงกว่าระบบ SIMO เนื่องจากขนาดของตัวคอยล์ที่ใหญ่กว่า
This Project presents a 4-coils wireless power transfer system by using resonant coupling technique at frequency 13.56 MHz with Single input single output (SISO) and Single input multiple output (SIMO), so the transmission is depending on transmitter coil and receiver coil circuit. The transmitted power is appearance electromagnetic wave result of this experiment summarize that 4-Coils WPT SISO system have maximum efficiency on distance to 700 mm but in 4-Coils WPT SIMO the maximum efficiency on distance 500 m and receive power is less than SISO system.รศ.ศราวุธ ชัยมูล
นายมีชัย พงศ์ชัยสถาปัตย์
นายอมรศักดิ์ รัตนวงศ์สวัสดิ์
447EE2019-2/30วิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องทดสอบความต้านทานการเกิดร่องรอยการนำไฟฟ้าและการกัดกร่อนที่ผิว ตามมาตรฐาน IEC 60587/2007
Surface Tracking Insulation Tester According to IEC 60587/2007บทคัดย่อ โครงงานนี้เป็ นโครงงานที่ศึกษาเกี่ยวกับการจัดสร้างและออกแบบชุดทดสอบการเกิด ร่องรอยการนาํ ไฟฟ้าและการกดั กร่อนที่ผิวเพื่อใหไ้ ดต้ ามมาตรฐาน IEC60587/2007 และนาํ ผลการ ทดสอบที่ไดม้ าพฒั นาฉนวนแข็งที่สามรถต่อตา้ นการเกิดร่องรอยบนพื้นผิวฉนวนและประยุกตใ์ ช้ งานต่างๆ โดยจะทาํ การศึกษากระบวนการเสียสภาพของฉนวนไฟฟ้าเนื่องจากการเกิดร่องรอยการ นำไฟฟ้าและการกัดกร่อนที่ผิว เมื่อป้อนแรงดัน 4 kV ให้กับอิเล็กโทรดที่หนีบจับด้านบนและ ด้านล่างของชิ้นงานทดสอบซึ่งเป็นซิลิโคน และทำการหยดสารละลาย Nacl ลงบนแผน่ ซิลิโคนตาม ความเร็วรอบของ Stepper motor ไวผ้ ลการทดลองจะแสดงการเกิดร่องรอยการนาํ ไฟฟ้าและการกดั กร่อนที่ผวิ โดยจะมีชุดตรวจวดั กระแสรั่วไหลที่ผวิ ของฉนวน
รศ.อำนาจ สุขศรี
นายธนกฤต วรรณะ
นายเลิศศิลป์ วานมนตรี
448EE2019-2/31วิศวกรรมไฟฟ้าอุปกรณ์สร้างลำอาร์กพลาสมาเพื่อกำจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์
-รศ.อำนาจ สุขศรี
นายบุญสิต โคตะนิวงษ์
นายภาณุพงศ์ ใครบุตร
449EE2019-2/32วิศวกรรมไฟฟ้าระบบปลดและสับอุปกรณ ์ Drop out fuse แบบอัตโนมัติ
Automatic drop out fuse changing systemโครงงานน้ีเป็นโครงงานที่ศึกษาเกี่ยวกับการสร้างและออกแบบอุปกรณ์ช่วยปลด-สับ อุปกรณ์ Drop out fuse แบบอัตโนมัติ โดยการใช้อุปกรณ์ช่วยปลด-สับ ควบคุมโดยการเขียน โปรแกรมออกคา สั่งให้กับ อุปกรณ์ควบคุม micro controller และสั่งการจากระยะไกลด้วยรีโมท คอนโทรล ผลการทดลองแสดงผลลัพธ์ของการปลดและสับจากการส่งสัญญาณจากระยะไกลด้วย รีโมทคอนโทรล อุปกรณ์ที่สร้างข้ึนเป็นอุปกรณ์ระดบั ห้องปฏิบตัิการ ซ่ึงเป็นตน้แบบในการสร้าง อุปกรณ์ช่วยในการปลด-สับ ต่อไป
รศ.อำนาจ สุขศรี
นายภูมิพัฒน์ บุศยพงศ์ชัย
นายวุฒิพงศ์ ทบประดิษฐ์
450EE2019-2/33วิศวกรรมไฟฟ้าหุ่นยนต์สมาร์ทฟาร์ม : หุ่นยนต์เก็บผลไม้
Smart Farming Robot : Fruit Picking Robot Ms.โครงงานนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา และพัฒนาหุ่นยนต์เก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรในส่วนของการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ จะอาศัยการทางานร่วมกันระหว่างมอเตอร์ บอร์ดขับมอเตอร์ และบอร์ดอาร์ดูโน่ เพื่อให้หุ่นยนต์สามารถเคลื่อนที่ได้แม้ว่าจะรับน้าหนักถึง 6 กิโลกรัม ซึ่งจะเคลื่อนที่ตามโดยใช้จอยสติ๊กเป็นตัวบังคับทิศทาง ไปข้างหน้า และถอยหลัง ในส่วนของแขนกลจะอาศัยการเคลื่อนที่ด้วยมอเตอร์ดีซี เซอร์โวมอเตอร์ และบอร์ดวงจรขับมอเตอร์ โดยจะควบคุมการทางานผ่านทางจอยสติ๊กเช่นเดียวกับการเคลื่อนที่ของหุ่นยนต์ ซึ่งสามารถดูตาแหน่งของผลไม้ได้จากการดูผ่านทางกล้องที่เชื่อมต่อกับบอร์ดราสเบอร์รี่พาย โดยตัวราสเบอร์รี่พายจะส่งภาพจากกล้องมาที่คอมพิวเตอร์ โดยคอมพิวเตอร์และ raspberry pi จะเชื่อมต่อผ่าน WIFI กับตัวสมาร์ทโฟน
The purpose of this project is to study And develop robots to harvest agricultural products in terms of the movement of robots Will rely on the interaction between motors Motor driver board And the Arduino board In order for the robot to be able to move, even if it supports a weight of up to 6 kilograms, which will follow by using the joystick as a forward and backward force controller, the robot arm relies on the movement of the DC motor. Servo motor And motor driver circuit board By controlling the operation via a joystick as well as the movement of the robot Which can see the position of the fruit by looking through the camera connected to the raspberry pi board In which the raspberry pi will send the image from the camera to the computer By computer and The raspberry pi will connect via WIFI to the smartphone.รศ.ประมินทร์ อาจฤทธิ์
นางสาวชลิตา ศรศักดา
นางสาวอัญมณี สุคนธ์วิมลมาลย์
451EE2019-2/34วิศวกรรมไฟฟ้าระบบปลดล็อคประตูด้วยอุปกรณ์บลูทูธ
Door Locking System using Bluetoothศ.อภิรัฐ ศิริธราธิวัตร
นายกวี บุญโพธิ์
นายณัฐศรัณย์ ศิริมา
452EE2019-2/35วิศวกรรมไฟฟ้าการตรวจวัดระดับน้ำและวัดค่า pH ในน้ำแบบ Real Time
-รศ.วิระสิทธิ์ อิ่มถวิล
นายกฤติพงษ์ พีรจรูญรุ่งเรือง
นายหริภัทร พงษ์สุวรรณ
453EE2019-2/36วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาค่าวัดของแบตเตอรี่ต่อกับเซลล์แสงอาทิตย์
A study of PV-battery measurementเนื่องจากพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานที่มีความสาคัญมีผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ เซลล์แสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้ากระแสตรงจากแสงอาทิตย์โดยอาศัย Photovoltaic effect เซลล์แสงอาทิตย์จะแปลงแสงอาทิตย์เป็นไฟฟ้าได้เฉพาะเวลากลางวันที่มีแสงอาทิตย์เท่านั้นไม่สามารถเก็บพลังงานไว้ใช้ภายหลังได้ จึงต้องใช้ร่วมกับแบตเตอรี่เพ่อกักเก็บพลังงานไฟฟ้าในรูปพลังงานเคมี ในงานวิจัยนี้ ผู้จัดทาได้ใช้เซลล์แสงอาทิตย์ 1 แผงกาลังผลิต 10W- แรงดันสูงสุด (17.4V) × กระแสสูงสุด (0.58A) ต่อกับแบตเตอรี่แบบตะกั่วกรด 12V , 4A
Because electric power is an important energy affecting human being. A solar cell is a device that produces direct current from the sun using Photovoltaic effect. Solar cells can convert sunlight into electricity only during daylight hours where sunlight cannot be stored for later use. Must be used with batteries to store electrical energy in the form of chemical energy In this research The organizer uses 1 solar panel with a capacity of 10W- maximum voltage (17.4V) × maximum current (0.58A) connected to a 12V, 4AH lead-acid battery.ผศ.ปานหทัย บัวศรี
นายณัฐชนน จารุบัณฑิต
454EE2019-2/37วิศวกรรมไฟฟ้าการแจ้งเตือนฝุ่นละออง ผ่านอินเทอร์เน็ต
Dust notification via internetในปัจจุบันสภาพอากาศของประเทศไทยรวมถึงจังหวัดขอนแก่นประสบปัญหาฝุ่นละอองอยู่บ่อยครั้ง ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพและการดำเนินชีวิตค่อนข้างมาก โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ออกแบบและตรวจวัดค่าฝุ่นละอองในอากาศ ภายในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ระบบประกอบไปด้วย 3 ระบบย่อย คือ ตัวตรวจวัดฝุ่นละออง จอแสดงผล และ NodeMCU (ESP8266) เพื่อเป็นแผงควบคุมหลักและใช้ส่งค่าไปยังอินเทอร์เน็ต ผลการทดสอบแบ่งออกเป็น 2 การทดสอบ คือ การทดสอบระบบย่อยและการทดสอบระบบรวม การทดสอบระบบย่อยแบ่งออกเป็น 3 การทดสอบ คือ การทดสอบตัวตรวจวัดฝุ่นละออง การทดสอบจอแสดงผล และการทดสอบ NodeMCU การทดสอบตัวตรวจวัดฝุ่นละอองประกอบด้วย การทดสอบตัวตรวจวัดฝุ่นละอองและการทดสอบตัวตรวจวัดฝุ่นละออง 2 ตัวกับตัวตรวจวัดฝุ่นละอองของหน่วยงานมหาวิทยาลัยขอนแก่น ผลการทดสอบพบว่า ค่าความผิดพลาดของฝุ่นละออง PM2.5 จาก Laser Dust Sensor PMS3003 มีค่าความผิดพลาดน้อยกว่า Air Dust Sensor Detector Module with Sharp GP2Y1010AU0F และแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.001 จึงเลือกใช้ตัวตรวจวัดฝุ่นละออง Laser Dust Sensor PMS3003 เป็นตัวตรวจวัดที่นำไปใช้ประกอบระบบ การทดสอบจอแสดงผล สามารถทำให้ข้อความที่ต้องการปรากฏบนหน้าจอได้สำเร็จ และ การทดสอบโมดูลรวม จะทดสอบการทำงานของโมดูลรวมและทดสอบค่าฝุ่นละอองกับกรมควบคุมมลพิษฯ ผลการทดสอบการทำงานของโมดูลรวม คือ โมดูลรวมสามารถทำงานและตรวจวัดค่าฝุ่นละออง โดยส่งข้อมูลไปยังอินเทอร์เน็ตผ่านเว็ปไซต์ ThingSpeak เพื่อทราบข้อมูล ณ เวลานั้นหรือเก็บข้อมูลเป็นแผนภูมิ ผลการทดสอบค่าฝุ่นละอองเทียบกับกรมควบคุมมลพิษฯ ณ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563 เวลา 14.00 – 17.00 น. บริเวณกรมอุทกวิทยา จังหวัดขอนแก่น ได้ค่าฝุ่นละอองเฉลี่ย 3 ช่วงเวลาของชิ้นงานคิดเป็น 56.08, 53.38 และ 54.38 μg/m3 ตามลำดับ ค่าฝุ่นละอองเฉลี่ยของกรมควบคุมมลพิษฯ 3 ช่วงเวลาคิดเป็น 56, 57 และ 57 μg/m3 ตามลำดับ ค่าความผิดพลาดของฝุ่นละอองเฉลี่ย 3 ช่วงเวลาคิดเป็นร้อยละ 5.91, 6.34 และ 4.86 ตามลำดับ ค่าฝุ่นละอองของตัวตรวจวัด 2 ชนิด ไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ 0.001
Nowadays, the weather conditions in Thailand and Khon Kaen are frequently encountered with dust problems. Causing quite a lot of health and lifestyle problems. This project aims to study, design and measure the dust in the air within the Mueang District, Khon Kaen Province. The system consists of 3 sub-modules: dust sensor, display and NodeMCU (ESP8266) to be the main control panel and used to send values to the internet. The test results are divided into 2 tests, which are sub-modules testing and module testing. Sub-modules testing is divided into 3 tests, namely the dust sensor test, the display test and the NodeMCU test. The dust sensor test consists of the dust sensor test and the 2 dust sensor test compared with the dust sensor of the Khon Kaen University. The test results show that the PM2.5 dust from the Laser Dust Sensor PMS3003 is less than the Air Dust Sensor Detector Module with Sharp GP2Y1010AU0F and the difference is significant at 0.001. Therefore choose the Dust Sensor PMS3003 Laser Dust Sensor as a sensor used to assemble the module. Testing the display can successfully make the desired text appear on the screen. NodeMCU tests include usability tests and internet connectivity tests. The result displayed via Serial Monitor shows that NodeMCU can use and connect to the internet. The module test will test the operation of the integrated module and test the dust value with the Pollution Control Department. The module test results are that the module can operate and measure the dust value by sending data to the internet via the ThingSpeak website. Dust test results compared with the Pollution Control Department on 13 March 2020 from 2.00 pm. - 5.00 pm. In the Department of Hydrology at Khon Kaen Province, received 3 times average dust values of the specimens, accounting for 56.08, 53.38 and 54.38 μg/m3. The average dust values of the Pollution Control Department of the 3 periods were 56, 57. and 57 μg/m3. The average error in 3 periods is 5.91, 6.34 and 4.86 percent. The calculation of the variance of the equipment shows no difference at the significant level 0.001.รศ.อาคม แก้วระวัง
นายชยพจน์ ป้องกันภัย
นายศรัณญ์ สารการ
455EE2019-2/38วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาการวิเคราะห์วัสดุด้วยวิธีวิเคราะห์การสั่นสะเทือน
The Study of Material Analysis by using the Method of Vibration Analysisวัตถุประสงค์ของโครงการนี้ เพื่อตรวจหาความต่างของความสุก-ดิบของแตงโมโดยวิธีการนาเสียงที่ได้จากการเคาะผลแตงโมด้วยแรงคงที่ไปวิเคราะห์ด้วยซอฟแวร์ที่มีชื่อว่า GNU Octave เพื่อแปลงสัญญาณเสียงจากสัญญาณในโดเมนเวลา (time domain) ไปเป็นโดเมนความถี่ (frequency domain) แล้วนาผลที่ได้จากการแปลงมาเทียบหาความต่างของความสุก-ดิบของผลแตงโม อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง คือ ลูกแก้ว เอ็นตกปลา ตลับเมตร ตาชั่งผลไม้ และแตงโม โดยได้ทาการเลือกแตงโมมาก่อนมีทั้ง ลูกที่ สุก ดิบ และไส้ล้ม แล้วนาไปชั่งหาน้าหนักซึ่งอยู่ในช่วงประมาณ 2-3 กิโลกรัม การทดลองได้ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและการติดตั้งการทดลองที่ง่ายสามารถทาได้ในที่ ๆ มีเสียงรบกวนน้อย กลุ่มทดลองใช้แตงโม 90 ลูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ กลุ่มผลสุก กลุ่มผลดิบ และกลุ่มผลที่ไส้ล้มหรือเน่า ใช้วิธีการเทียบหาความต่างกันโดยการเคาะให้เกิดเสียงที่ดังมาในระดับหนึ่งและบันทึกเสียงที่ได้จากการเคาะ การเคาะแต่ลูกจะเคาะทั้งหมด 4 จุดรอบแตงโมห่างกัน 90 องศา จุดละ10 ครั้ง จากนั้นนาไปวิเคราะห์สัญญาณด้วยคาสั่ง FFT ในซอฟแวร์ GNU Octave จากการทดลองพบว่าค่าของการแปลงสัญญาณในโดเมนเวลาไปเป็นสัญญาณในโดเมนความถี่ของแตงโมแต่ละประเภท ผลที่ได้คือสัญญาณในโดเมนความถี่ของแตงโมแต่ละประเภทมีแอมพลิจูดที่ต่างชัดเจนในบางความถี่ อาจกล่าวได้ว่าสามารถแยกความสุก - ดิบของแตงโมได้ที่ช่วงความถี่นั้น ๆ
รศ.นรารัตน์ เรืองชัยจตุพร
นางสาวจิราวรรณ สุวรรณสม
นายปณุพงศ์ อินทวงศ์
456EE2019-2/39วิศวกรรมไฟฟ้าชุดสาธิตการรับส่งข้อมูลแบบ 2x2 ไมโม
Demonstration model for 2x2 MIMO transceiverระบบการสื่อสารแบบไมโมคือระบบสื่อสารสมัยใหม่ที่ใช้เสาอากาศในการรับส่งมากกว่า1 เสาระบบดังกล่าวสามารถทาให้อัตราการรับส่งที่มีความเร็วได้มากกว่าการส่งสัญญานด้วยเสาเดียว ไมโมช่วยทาให้ระบบสื่อสารมีความเร็วในการรับส่งข้อมูลเพิ่มขึ้น โดยใช้แบนด์วิดเท่าเดิม ปัจจุบันไมโมจึงถูกประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลาย ผู้จัดทาโครงงานจึงมีความสนใจที่จะสร้างชุดสาธิตสาหรับระบบสื่อสารแบบไมโม ชุดสาธิตดังกล่าวจะจาลองการทางานของระบบสื่อสารแบบไมโม 2x2 ผู้จัดทาจะทาการสร้างชุดสาธิตให้อยู่บนบอร์ดขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถช่วยให้ผู้ที่สนใจเรียนรู้หลักการในการรับและส่งข้อมูลแบบไมโมได้อย่างง่ายได้ด้วยตนเอง อีกทั้งผู้เรียนยังสามารถปรับค่าพารามิเตอร์ที่สาคัญ เช่น สภาพแวดล้อมของช่องสัญญาณ ระดับความแรงของสัญญาณรบกวน เป็นต้น เพื่อศึกษาผลกระทบต่อระบบการสื่อสารแบบไมโม ได้ด้วยตนเอง
Topically, MIMO wireless communication system is a new technology that use more than one antenna for transceiver data. this system speeds up the data rate better than a single antenna system. Nowadays, MIMO is interested by wireless communication. MIMO system use bandwidth equal single antenna. That is why the provider was interested and made the demonstration model for MIMO 2X2 transceiver and will simulate how MIMO works in 2X2. Then it will be built on a big board which helps the students who were interested in MIMO or those who are studying about MIMO by their selves. Students can adjust important parameters, including both fading and noise. Furthermore, learning effect of MIMO environment can be done by yourself.ผศ.ภูริพงศ์ สุทธิโสภาพันธ์
นายภัทรปิยะ อินทร์ขลิบ
457EE2019-2/40วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาหาวิธีลดค่า surge impedance ในเสาส่งไฟฟ้าแรงสูง เพื่อลดผลกระทบจากฟ้าผ่า
-ผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นางสาวกัญจนพร บริสุทธิ์
นางสาวภัทรภร สุขรัตน์
458EE2019-2/41วิศวกรรมไฟฟ้าการศึกษาระบบการจัดการพลังงานไฟฟ้าในหมู่บ้านที่มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ แบบติดตั้งบนหลังคา โดยการประยุกต์ใช้โปรแกรม DIgSILENT
A Study of Energy Management System for a Village with Integrated Solar PV Rooftop by using DIgSILENT Softwareบทคัดย่อ โครงการฉบับนี้เป็นการศึกษาระบบการจัดการพลังงานไฟฟ้าในหมู่บ้านที่มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา โดยใช้โปรแกรม DIgSILENT ในการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้า โดยโครงการฉบับนี้ได้พิจารณาผลกระทบจากระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่มีต่อระบบไฟฟ้า ประกอบไปด้วย ผลกระทบด้านแรงดันในแต่ละบัส ผลกระทบด้านกาลังสูญเสียในระบบที่สูงขึ้น โดยระบบไฟฟ้าที่ใช้ทดสอบในโครงการนี้เป็นระบบจาหน่ายไฟฟ้าแรงดันต่าของหมู่บ้านจัดสรร เลอ เซลลินี ในจังหวัดอุดรธานี ประเทศไทย นอกเหนือจากนี้โครงการนี้ได้เสนอแนวทางการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าอย่างง่ายเพื่อลดผลกระทบของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคาที่มีผลต่อระบบไฟฟ้าของหมู่บ้าน
Abstract This project studies energy management system for the village which installs rooftop solar photovoltaic by using the DIgSILENT program for analyzing power system. The impacts of rooftop solar photovoltaic on village system which are considered in this study are voltage of each bus and power loss in the system. The test system used in this project is a low voltage electricity distribution system named Le Cellini’s village in Udon Thani province, Thailand. Moreover, this project also proposes a simple solution of energy management system for the village in order to reduce the impact of rooftop solar photovoltaic on the village system.ผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นางสาวปัณฑิกา กองเงินนอก
นางสาววรกมล เอียดแก้ว
459EE2019-2/42วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โดยใช้ ระบบระบายความร้อนด้วยนา้
Efficiency Increasing of Solar Photovoltaic System By Using Water Cooling Systemโครงการฉบับนีเ้ป็นการศึกษาถึงวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โดย ใช้ระบบระบายความร้อนด้วยนา้ เนื่องจากอุณหภูมิเป็นปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า ของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กล่าวคือเมื่อระดับอุณหภูมิที่แผงของระบบ ผลิตไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์มีค่าสูงขึน้ จะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าลดลงแต่เมื่อระดับอุณหภูมิที่แผงของระบบผลิต ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มีค่าลดลงจะส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึน้ โครงงานฉบับนีจึ้งได้ ศึกษาเกี่ยวกับระบบระบายความร้อนด้วยนา้ โดยการติดตัง้ ท่อทองแดงบริเวณใต้ตัวแผงเซลล์แสงอาทิตย์จานวน 1 แผง เพื่อช่วยลดอุณหภูมิของแผง โดยแผงที่ใช้เป็นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดโพลีคลิสตัลไลน์ (Poly Crystalline Solar Cell) ซงึ่ มีขนาดกาลังการผลิตสูงสุดเท่ากับ 20 วัตต์ โดยติดตัง้ ทามุม 15 องศากับแนวระนาบ และหันหน้าแผงไปทางทิศใต้ โดยมีช่วงเวลาในการทดสอบตัง้ แต่เวลา 9.00 – 16.00 น. โดยในการทดลองได้มี การเปรียบเทียบประสิทธิภาพกาลังการผลิตของระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์กรณีที่มีระบบระบายความ ร้อนด้วยนา้ และกรณีที่ไม่มีระบบระบายความร้อนด้วยนา้
This project studies the method to increase the efficiency of solar photovoltaic (solar PV) by using water cooling system. Since temperature is an important factor affecting the electricity generation efficiency of the solar PV. In other words, when the temperature level at the solar panel is high, the efficiency of the solar PV generation will be low. However, when the temperature level of the solar panel is low, the efficiency of the solar PV generation will be high. This project studies and proposes the water cooling system by installing copper pipes under the solar panel to reduce the temperature at the panel. The 20 W polycrystalline solar PV is used to test in this study. The solar PV is installed with the tilt angle of 15 degree from the horizontal plane and oriented to the south. The testing results are collected from 09.00 to16.00 hrs. Finally, the generation efficiencies of the solar PV with and without the installation of proposed water cooling system are compared.ผศ.รองฤทธิ์ ฉัตรถาวร
นายกันตพล อิ่มแสง
นายชานน พรรณพลีวรรณ
460EE2019-2/43วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรชนิด สวิตซ์ฟลักซ์
Efficiency Improvement of Switched flux permanent magnet generatorเนื่องจากในปัจจุบันมีการนาพลังงานหมุนเวียนรูปแบบต่างๆ มาผลิตพลังงานไฟฟ้า โดยเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรเป็นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าที่ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากในการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเพราะมีความหนาแน่นของแรงบิดสูง ทาให้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าไม่มีการกระตุ้นจากกระแสสนาม ทาให้ไม่มีการสูญเสียกาลังไฟฟ้าในขดลวด ส่งผลให้เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรมีประสิทธิภาพสูงกว่าเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดอื่นๆ เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรแบบสวิตซ์ฟลักซ์เป็นหนึ่งในเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรซึ่งมีข้อดีคือ มีคุณสมบัติการระบายความร้อนที่ดี มีแรงบิดสูง มีความสามารถในการต่อต้านลบล้างอานาจแม่เหล็ก ประสิทธิภาพสูง ความหนาแน่นพลังงานสูงและค่าแรงดันไฟฟ้าเป็นคลื่นไซน์ ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้นาโครงสร้างของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าชนิดนี้มาศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกาเนิดไฟฟ้าแม่เหล็กถาวรแบบสวิตซ์ฟลักซ์ สาหรับใช้งานความเร็วต่าในช่วงความเร็ว 0 ถึง 500 รอบต่อนาที วิธีการที่ใช้วิเคราะห์ในโครงการคือ Finite element method โดยมีพารามิเตอร์ที่จะพิจารณาคือการใช้เทคนิค Rotor pole number , Split ratio , Rotor pole width และมีพารามิเตอร์เอาต์พุตที่จะพิจารณาคือ Electromotive force (emf), Cogging torque, Efficiency, Magnetic flux distribution, Voltage regulation จากผลการพัฒนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าวิธีแรกคือ การเปลี่ยนโครงสร้างจาก 12 เฟส เป็นโครงสร้าง 15 เฟส พบว่ามีแรงเคลื่อนไฟฟ้า 347.41 Vและแรงต้านการบิด 181.84 Nm จากผลการพัฒนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าโดยวิธีการปรับจานวนขั้วของโรเตอร์ พบว่าโครงสร้างที่มีจานวนขั้วของโรเตอร์ 29, 31, 32 และ 34 ขั้ว เป็นโครงสร้างที่มีจานวนขั้วโรเตอร์เหมาะสมที่สุด สามารถผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า 448.03 V, 474.22 V, 480.91 V และ 480.28 V ซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากโครงสร้างต้นแบบ 2.87%, 8.88%, 10.42% และ 10.28 % ตามลาดับ จากผลการพัฒนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าโดยวิธีการปรับ Split ratio พบว่า โครงสร้างที่ดีที่สุดทั้ง 4 โครงสร้างคือ 30/29, 30/31, 30/32 และ 30/34 ที่มี Split ratio เท่ากับ 0.8 สามารถผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า 448.03 V, 474.22 V, 480.91 V และ 480.28 V ซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากโครงสร้างต้นแบบ 2.87%, 8.88%, 10.42% และ 10.28% ตามลาดับ จากผลการพัฒนาเครื่องกาเนิดไฟฟ้าโดยวิธีการปรับ Rotor pole width พบว่าโครงสร้างที่ดีที่สุดทั้ง 4 โครงสร้างคือ 30/29 ที่มี rotor pole width 1.6 , 30/31 ที่มี rotor pole width 1.6 , 30/32 ที่มี rotor pole width 1.5 และ 30/34 ที่มี rotor pole width 1.5 สามารถผลิตแรงเคลื่อนไฟฟ้า 485.94 V, 463.44 V, 442.92 V และ 416.44 V จากนั้นได้นาโครงสร้างที่ดีที่สุดนี้มาหาประสิทธิภาพภายใต้เงื่อนไขการพิจารณาที่ค่า Copper loss เท่ากันทุกโครงสร้าง ที่พิกัดกาลังไฟฟ้า 10 กิโลวัตต์ และพิกัดแรงดัน 220 โวลต์ จากการจาลองพบว่าโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุดคือ โครงสร้าง 30/29 ขั้ว ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 1.04 % มีค่า Electromotive force เพิ่มขึ้น 10.98% มีค่า Voltage regulation ลดลง 14.22 % และมีค่า Output power เพิ่มขึ้น 13.03 % เมื่อเทียบกับโครงสร้างต้นแบบ 24/22 ขั้ว ดังนั้นโครงสร้าง 30/29 ขั้ว จึงเป็นโครงสร้างที่ดีที่สุดจากการจาลองในโครงการนี้
รศ.พิรัสม์ คุณกิตติ
นายกนกพล ไกรโสดา
นางสาวสิริภัทร สมจิต
461EE2019-2/44วิศวกรรมไฟฟ้าการเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องกา เนิดไฟฟ้ าแม่เหล็กถาวร ชนิดดับบลี้-ซาเลี่ยน
Efficiency Improvement of Doubly salient permanent magnet Generatorเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำแบบแม่เหล็กถำวรเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำที่นิยมนำมำใช้ในกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำจำก พลังงำนทดแทน เนื่องจำกไม่มีกำรสูญเสียพลังงำนในแกนเหล็ก ทำให้ประหยัดพลังงำนในกำรผลิตมำกกว่ำเครื่องกำเนิด ไฟฟ้ำแม่เหล็กถำวรชนิดแปลงถ่ำน เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำแม่เหล็กถำวรชนิดดับบลี้-ซำเลี่ยนเลี่ยน เป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ แม่เหล็กถำวรชนิดนึ่ง ซึ่ง มีข้อดีคือมีน้ำหนักเบำ , แรงเฉือนต่ำ , ควำมเร็วต่ำ เหมำะกับกำรใช้กับพลังงำนทดแทนที่มี ควำมเร็วต่ำ ดังนนั้ โครงงำนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพของเครื่องกำ เนิดไฟฟ้ำแม่เหล็กถำวรชนิดดับบลี้-ซำ เลี่ยน เพื่อประยุกต์ใช้กับกังหันลมควำมเร็วต่ำ โดยควำมเร็วของเครื่องกำ เนิดไฟฟ้ำแม่เหล็กถำวรชนิดดับบลี้-ซำเลี่ยน 400 รอบต่อนำที วิธีกำรที่ใช้วิเครำะห์เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำในโครงงำนนี้คือ Finite Element Method โดยมีพำรำมิเตอร์ที่ พิจำรณำในกำรเพิ่มประสิทธิภำพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำคือ จำนวนขดลวด ควำมยำวสเตเตอร์ ขนำดแม่เหล็กถำวร และ มุมของขั้วสเตเตอร์ โดยมีเอำท์พุตพำรำมิเตอร์ที่จะวิเครำะห์คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้ำ แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ โวลท์เตจ กำร กระจำยของเส้นแรงแม่เหล็ก และ ประสิทธิภำพ จำกกำรเพิ่มประสิทธิภำพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำแม่เหล็กถำวรชนิดดับบ ลี้-ซำเลี่ยน โดยกำรปรับควำมยำวของสเตเตอร์ พบว่ำควำมยำวของสเตเตอร์ที่ให้ผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้ำและแรงต้ำนกำร เคลื่อนที่ดีที่สุด คือขนำดควำมยำวสเตเตอร์ 98.85 มิลลิเมตร จำกกำรปรับขนำดแม่เหล็กถำวรโดยกำรหำขนำดที่ เหมำะสม พบว่ำโครงสร้ำงที่มีขนำดแม่เหล็กถำวรที่เหมำะสม ให้ผลแรงเคลื่อนไฟฟ้ำเพิ่มขึ้น 10.73 % จำกตัวต้นแบบ และ ผลแรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ลดลง 20.94 % จำกตัวต้นแบบ จำกนั้นนำโครงสร้ำงที่มีขนำดของแม่เหล็กถำวรที่เหมำะสมไปหำ ขนำดของมุมของขั้วสเตเตอร์ที่เหมำะสม พบว่ำโครงสร้ำงที่มีมุมของขั้วสเตเตอร์ที่เหมำะสม ทำให้ได้ผลแรงเคลื่อนไฟฟ้ำ เพิ่มขึ้น 26.55 % จำกตัวต้นแบบ และได้ผลแรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ลดลง 19.82 % จำกตัวต้นแบบ หลังจำกกำรปรับ โครงสร้ำงเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำทั้งหมด ได้ทำกำรคำนวณกำลังไฟฟ้ำ กำรสูญเสียและประสิทธิภำพของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำที่ พิกัดกำลัง 200 วัตต์ และแรงดันพิกัดที่ 100 โวลต์ พบว่ำ โครงสร้ำงที่มีประสิทธิภำพดีที่สุดคือโครงสร้ำงที่มีควำมยำวสเต เตอร์ 95 มิลลิเมตร มุมขั้วของสเตเตอร์ 9.51 องศำ ควำมหนำแม่เหล็กถำวร 6.7 มิลลิเมตร มีประสิทธิภำพเท่ำกับ 77.04 % เพิ่มขึ้นเป็น 47.7 % จำกโครงสร้ำงต้นแบบ
รศ.พิรัสม์ คุณกิตติ
นายกรชนก สุวรรณไพบูลย์
นายภูษณ ศรีคำฝั้น
462ENV2019-01วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการศึกษาการดูดซับสีน ้าเสียสังเคราะห์จากใบหูกวาง และกาแฟโดยใช้ถ่านกัมมันต
A study of synthetic waste water color adsorption from Terminalia catappa leaves and coffee using activated charcoalโครงงานเรื่องการศึกษาการดูดซับสีน ้าเสียสังเคราะห์จากใบหูกวางและกาแฟโดยใช้ถ่านกัมมันต์มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบค่าความเข้มสีระหว่างค่าความเข้มสีท่ไีด้จากใบหูกวาง และค่าความเข้มสีของ สนีา ้ตาลท่ไีด้จากกาแฟในหน่วย ADMI และศึกษาหาระยะเวลาท่เีข้าส่สู มดุล และเปรียบเทียบประสิทธิภาพการ ดูดซับสีสังเคราะห์ด้วยถ่านกัมมันต์ท่ีมีขายตามท้องตลาด ชนิดเกล็ด นอกจากนี้ได้ท าการศึกษาไอโซเทิร์ม การดูดซับสขีองถ่านกมั มนั ตท์ ่มีขีายตามท้องตลาด ชนิดเกลด็ โดยการทดลองพบว่าค่าสีสังเคราะห์จากใบหูกวาง และกาแฟ จากการเตรียมโดยใช้น ้าหนัก 5 กรัม ผสมน ้า RO ท่ปีริมาตร 500 มิลลิลิตร มีค่าสีเท่ากับ 2,700 และ 11,725 ADMI ตามล าดับ นอกจากนี้ยังพบว่าจากการศึกษาระยะเวลาเข้าสู่สมดุลของการดูดซับสีทั้ง 2 ชนิดท่คี่าความเข้มสี 85 ADMI ด้วยถ่านกัมมันต์ ชนิดเกล็ดมีค่า 60 นาที โดยประสิทธิภาพการบ าบัดสีจาก ใบหูกวาง และกาแฟ มีค่า 70% และ 71% ตามล าดับ และจากการศึกษาไอโซเทิร์มการดูดซับสีสังเคราะห์จาก ใบหูกวาง และกาแฟ พบว่ามีรูปแบบการดูดซับสัมพันธ์กับรูปแบบแลงเมียร์ทั้งการดูดซับสีสังเคราะห์ จากใบหูกวาง และกาแฟ
The project about a study of synthetic wastewater color adsorption from Terminalia catappa leaves and coffee using activated charcoal has the objective to study the comparison of the Saturation color between the color from Malabar leaves And the brown color from coffee in the ADMI unit. Moreover this project study about the equilibrium time of adsorption and efficiency of color removal by commercial Activated carbon, In addition, this project investigated the adsorption isotherms of the commercial granular activated charcoal. The experiment showed that the synthetic color from the Malabar leaves and the coffee from the preparation using the weight of 5 grams, mixed with the RO water at 500 milliliters, had the color values of 2,700 and 11,725 ADMI respectively, And the equilibrium time of adsorption of both synthetic wastewater at 85 ADMI color intensity is 60 minutes. The efficacy of color treatment from Malabar leaves and coffee were 70% and 71%, respectively. And from isotherm studies, the adsorption of synthetic colors from Malabar leaves and coffee showed that the adsorption patterns were related to the form. Langmauir, both the synthetic color adsorption from Malabar leaves and coffeeรศ.กัลยกร ขวัญมา
นางสาวกมลวรรณ สิงคะเสลิต
463ENV2019-02วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการประยุกต์ระบบดีเอชเอสเพื่อบ้าบัดน้าเสียจากกระบวนการย้อมสีในการผลิตผ้าไหมมัดหมี่
Application of Down-flow Hanging Sponge System for Ikat Silk Dye Processed Wastewaterในงานวิจัยนี ได้ศึกษาการเปรียบเทียบการก้าจัดสีและซีโอดีของน้าเสียจากกระบวนการย้อมสี ผ้าไหมมัดหมี่ โดยระบบดีเอชเอส ( Down-Flow Hanging Sponge System; DHS ) ที่บรรจุด้วยตัวกลางฟองน้าที่แตกต่างกันระหว่างตัวกลางฟองน้าที่สามารถจัดหาได้ในท้องถิ่นในประเทศไทยกับตัวกลางฟองน้าเฉพาะส้าหรับระบบดีเอชเอส จาก ประเทศญี่ปุ่น โดยท้าการทดลองในถังปฎิกรณ์ดีเอชเอส ขนาด 50 ลิตรป้อนด้วยน้าเสียสีย้อมผ้าไหมมัดหมี่จริงปริมาตร 10 ลิตร ซึ่งมีค่าพีเอช 6.93 ซีโอดี 1,900 มก./ล. และค่าสี 171,000 เอดีเอ็มไอ เดินระบบแบบกะ ด้วยระยะเวลาการทดลอง 4 วัน ภายใต้อุณหภูมิห้องเฉลี่ย 26 - 29 องศาเซลเซียส พบว่า ในสภาวะการทดลองที่เติมอากาศและเติมกูลโคสนั นระบบดีเอชเอสที่บรรจุตัวกลางฟองน้าญี่ปุ่นมีประสิทธิภาพการก้าจัดซีโอดีสูงกว่าระบบดีเอชเอสที่บรรจุตัวกลางฟองน้าไทยร้อยละ 6.4 ในขณะที่ระบบดีเอชเอสที่บรรจุตัวกลางฟองน้าไทยมีประสิทธิภาพการก้าจัดสีสูงกว่าระบบดีเอชเอสที่บรรจุตัวกลางฟองน้าญี่ปุ่นร้อยละ 4.0 ส้าหรับในสภาวะการทดลองที่ไม่เติมอากาศและไม่เติมกูลโคสนั นตัวกลางฟองน้าไทยมีประสิทธิภาพการก้าจัดซีโอดีและสีสูงกว่าตัวกลางฟองน้าญี่ปุ่นร้อยละ 3.3 และร้อยละ 4.0 ตามล้าดับ
In this paper aims to compare color and Chemical Oxygen Demand (COD) removal efficiencies of DHS system media using locally sourced sponge in Thailand and specific sponge for DHS system from Japan with Ikat silk dye processed wastewater. Using 50 liters of DHS batch reactor for a period of 4 days treated with 10 L of real Ikat silk dye processed wastewater with pH 6.93, COD of 1,900 mg/L and color of 171,000 ADMI tested under ambient temperature average at 26 - 29 oC. From the results, it was found that DHS installed with Japanese sponge media had COD removal efficiency higher than DHS installed with Thai sponge media by 6.4 %. However, DHS installed with Thai sponge media had color removal efficiency higher than with Japanese sponge media by 4.0% under the experimental condition with aeration and adding carbon source. However, under the experimental condition with non-aeration and non-carbon source, DHS installed with Thai sponge media had COD and color removal efficiency higher than DHS installed with Japanese sponge media by 3.3%.รศ.ไปรยา เฉยไสย
นายกฤษฎา มูลธิมา
464ENV2019-03วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสีของถ่านกัมมันต์ ที่กระตุ้นด้วยโซเดียมคลอไรด์ กับ ถ่านกัมมันต์ที่กระตุ้นด้วยแคลเซียมคลอไรด์
Comparative study of color adsorption efficiency of activated carbon Activated with sodium chloride and calcium chloride Thisโครงงานครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดูดซับสีแอสิดของถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวโดยกระตุ้นด้วยสารโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) และสารแคลเซียมคลอไรด์ (CaCl2) เพื่อทาการศึกษาประสิทธิภาพการดูดซับและศึกษาไอโซเทิร์มของถ่าน 3 ชนิด ที่ โดยจะทาการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับสีแอสิดสีแดง ขั้นตอนในการเตรียมถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าว จะประกอบด้วย การล้างทาความสะอาด การอบไล่ความชื้นที่อุณหภูมิ 103 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง การเผาที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง การบดถ่านให้มีขนาดเล็ก การกระตุ้นด้วยสารเคมีโดยใช้การละลายที่สารละลายอิ่มตัวและเผากระตุ้นที่อุณหภูมิ 600 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง ซึ่งการศึกษาการเข้าสู่สมดุลพบว่า ถ่านกะลามะพร้าวจะใช้เวลาดูดซับ 60 นาที ถ่านกัมมันต์ที่ถูกกระตุ้นด้วย NaCl และ CaCl2 จะใช้เวลาที่ 45 นาทีเท่ากัน และเมื่อทาการเปรียบเทียบไอโซเทิร์ม ที่เวลา 60 นาทีเท่ากัน โดยใช้ความเข้มข้นของสารละลายสีแอสิดสีแดงที่ 5, 7.5, 10, 12.5 และ 15 มก./ล. ปริมาตร 300 มล. ใช้ปริมาณตัวดูดซับ 15 กรัม จะพบว่าถ่านกะลามะพร้าวและถ่านกัมมันต์ที่กระตุ้นด้วย NaCl มีรูปแบบลักษณะการดูดซับแบบ Freundlich model เทียบจากค่า R2 จะพบว่า เท่ากับ 0.914 และ 0.9499 ซึ่งสูงกว่าค่า R2 ของ Langmuir model ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.7232 และ 0.3816 ตามลาดับ ส่วนถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวที่ถูกกระตุ้นด้วยสารโซเดียมคลอไรด์ ( CaCl2) พบว่า การดูดซับจะสอดคล้องกับรูปแบบ Langmuir model มากกว่า Freundlich model เนื่องจากมีค่า R2 เท่ากับ 0.9746 ซึ่งสูงกว่าค่า R2 ของ Freundlich model ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.9531 ดังนั้นจึงสรุปพฤติกรรมของการดูดซับของถ่านกัมมันต์จากกะลามะพร้าวที่ถูกกระตุ้นด้วยสารโซเดียมคลอไรด์ ( CaCl2) ว่าสอดคล้องกับ Langmuir Isotherm ซึ่งมีลักษณะการดูดซับเป็นแบบชั้นเดียว (monomolecular layer)
The objective of this project aimed to investigate the acid dye adsorption using the activated carbon from coconut sell which was activated by sodium chloride (NaCl) and calcium chloride (CaCl2) for this research also the adsorption efficiency and Isotherm of 3 type activated carbons. By compare of activated carbon’s efficiency of color removal red acid dye. Preparation stages of activated carbon from used coconut sell such as washing, drying at 103 ͦ to overnight, carbonization at 600ͦ to 3 hr., grind to small, activated with NaCl and CaCl2 at be stuffed followed to carbonization again. So the equilibrium time study showed the coconut carbon went to equilibrium time at 60 minutes another went to equilibrium time at 45 minutes. So I had researched Isotherm at 60 minutes same. that was using cconcentrations such as 5, 7.5, 10, 12.5 and 15 mg/l. that has volume 300 ml. and using adsorbent 15 g. that showed coconut carbon and activated carbon with activate by NaCl had type adsorption is Freundlich model compare to R2 that have 0.914 and 0.9499 so high than Langmuir model that have 0.7232 and 0.3816 respectively. The aactivated carbon with activate by CaCl2 had type adsorption is Langmuir model compare to R2 that have 0.9746 but of Freundlich model have 0.9531.รศ.พนมชัย วีระยุทธศิลป์
นางสาวกิตติณัฐ สุขนาค
465ENV2019-04วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกาจัดสารซีลีเนียมโดยใช้วัสดุเหล็กประจุศูนย์นาโนยึดเกาะบนซีโอไลต์
Selenate Removal Using Zeolite – Supported Nanoscale Zero Valent Ironวัสดุซีโอไลต์ Na-P1ที่ถูกปรับปรุงด้วยเหล็กประจุศูนย์ขนาดนาโนเมตร (Z-NZVI) ถูกสังเคราะห์ขึ้น และกลายมาเป็นเทคโนโลยีทางเลือกสาหรับการกาจัดสารซีลีเนต (Se(VI)) ที่ปนเปื้อนในน้าเสีย ซึ่งในการพิสูจน์เอกลักษณ์ของวัสดุซีโอไลต์ เหล็กประจุศูนย์ขนาดนาโนเมตร (NZVI) และ Z-NZVI สามารถทาได้ด้วยเทคนิค X-ray Diffraction (XRD) การวิเคราะห์ Point of zero change (PZC) เทคนิค FT-IR spectrum และ การใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านกาลังขยายสูงต่อกับชุดวัดรังสีเอกซ์ชนิดกระเจิงพลังงาน (HR-TEM-EDS) จากผลการวิเคราะห์ลักษณะสัณฐานวิทยาและการวิเคราะห์จากภาพถ่าย พบว่า NZVI มีการกระจายตัวอย่างสม่าเสมอบนพื้นผิวของซีโอไลต์ Na-P1 แสดงให้เห็นว่าสามารถลดการจับตัวกันได้และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการรีดิวซ์ ในการศึกษาจลนพลศาสตร์ของสารซีลีเนตพบว่าเป็นปฏิกิริยาแบบ pseudo-first-order จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าปฏิกิริยาการดูดซับสอดคล้องกับไอโซเทอร์มแบบฟรุนดิช ซึ่งมีความสามารถในการดูดซับเท่ากับ 0.157 (mg/g) (L/mg)1/n และจากค่าพารามิเตอร์ทางอุณหพลศาสตร์แสดงให้เห็นว่าการดูดซับสารซีลีเนตของ Z-NZVI นั้นเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นได้เอง และกระบวนการเกิดปฏิกิริยาเป็นแบบดูดความร้อน จากการที่ Z-NZVI มีความจุที่สูงแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มที่จะสามารถกาจัดสารซีลีเนตในสารละลายได้
The nanoscale zero-valent iron supported zeolite Na-P1 (Z-NZVI) was synthesized and became the technology for the selenate (Se(VI)) removal from water remediation. Zeolite Na-P1, NZVI, and Z-NZVI were characterized using X-ray Diffractometer (XRD), Point of Zero Change (PZC), Fourier-Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR), Transmission Electron Microscopy and Energy Dispersive X-ray Spectroscopy (TEM-EDS) techniques. The characterization of morphology and visualizing analysis indicated that NZVI was uniformly distributed on the surfaces of zeolite Na-P1, which apparently reduced the aggregation of NZVI and thereby increased the reduction activity. The adsorption kinetic of selenate the pseudo-first-order kinetic model. The experimental data indicated that the adsorption isotherms were well described by the Freundlich equilibrium isotherm equation and the calculated adsorption capacity was 0.157 (mg/g) (L/mg)1/n. Thermodynamic parameters showed that the adsorption of selenate onto Z-NZVI was feasible, spontaneous, and endothermic under the studied conditions. The high capacity of Z-NZVI demonstrated the promising technology for the removal ability of selenate from aqueous solutions.รศ.วิษณุ แทนบุญช่วย
นายปรวรรต ภาระหอม
466ENV2019-05วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมคุณภาพน้าและสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายที่ย่อยสลายทางชีวภาพในระบบท่อน้าประปาของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
Water quality and biodegradable dissolved organic carbon of Khon Kaen University distribution systemมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีระบบประปาขนาดกาลังการผลิตน้า 10,000 m3/day เพื่อรองรับการเรียนการสอนและการอยู่อาศัยของบุคลากรและนักศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่นประมาณ 50,000 คน ระบบท่อน้าประปาที่จ่ายน้าไปยังผู้ใช้งานจึงมีความสาคัญต่อประชากรในมหาวิทยาลัยขอนแก่นคุณภาพของน้าประปาก็ต้องคานึงถึงเป็นสาคัญ ดังนั้นโครงงานนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพน้าประปาในระบบท่อน้าประปามหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยตรวจวัดพารามิเตอร์ทั่วไป 4 ชนิด ความขุ่น(Turbidity) , สภาพด่าง(Alkalinity) , ความเป็นกรด-ด่าง(pH) และคลอรีนคงหลือ( as ClO2 )นอกจากนี้ยังได้ศึกษาสารคาร์บอนอินทรีย์ละลาย (Dissolved organic carbon ; DOC) และสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายย่อยสลายทางชีวภาพ (Biodegradable dissolved organic carbon ; BDOC)ในระบบท่อน้าประปามหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีการตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างน้า 5 จุด ตั้งแต่ออกจากระบบผลิตน้าประปาไปจนถึงปลายเส้นท่อในแต่ละฤดูกาล (ฤดูฝนและฤดูแล้ง) ผลที่ได้พบว่า ส่วนใหญ่ความขุ่นมีค่าไม่คงที่ตามระยะทางค่าอยู่ในช่วง 0.46-3.88 NTU สภาพด่างมีค่าอยู่ในช่วง 56-172 mg/L as CaCO3 ซึ่งทุกที่พารามิเตอร์ที่กล่าวมาอยู่ตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าประปาส่วนภูมิภาค, pH อยู่ในช่วง 6.06-7.67 โดยมีค่าต่าสุดที่มีคาวมเป็นกรด-ด่างที่เป็นกรดอ่อนและไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าประปาส่วนภูมิภาค คลอรีนคงเหลือส่วนใหญ่มีค่าลดลงตามระยะทางตามเส้นท่อค่าคลอรีนคงเหลืออยู่ในช่วง < 0.1 – 0.1 mg/L as ClO2 ซึ่งทุกจุดเก็บตัวอย่างค่าไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้าประปาส่วนภูมิภาค โดยเกณฑ์กาหนดต้องมีคลอรีนคงเหลือในเส้นท่อคือไม่น้อยกว่า 0.2 mg/L as ClO2 , DOC ส่วนใหญ่ค่าเพิ่มขึ้นตามระยะทางท่อน้าประปาแต่มีบางจุดเก็บตัวอย่างที่ลดลงค่า DOC อยู่ในช่วง 4.49-6.90 mg/L และBDOC ค่าส่วนใหญ่ไม่คงที่ตามระยะทางเส้นท่อค่าอยู่ในช่วง 0.81-2.63 mg/L สาหรับผลของฤดูกาลที่มีต่อความขุ่น พบว่าความขุ่นที่สูงสุดอยู่ในช่วงฤดูแล้ง
Khon Kaen University has a water supply system with a capacity of 10,000 m3/day to support the teaching and living of approximately 50,000 personnel and students in Khon Kaen University. As the water is fed to population of Khon Kaen University, the quality of tap water is very important. This project aims to monitor the basic water quality parameters in the water supply pipe system of Khon Kaen University including turbidity, alkalinity, pH and chlorine residual (as ClO2) In addition, dissolved organic carbon (DOC) and biodegradable DOC (BDOC) were analyzed for water samples in the distribution system, Khon Kaen University. There were 5 sampling points located from the water supply system to the end of the pipe. The sampling period was conducted to cover rainy to dry season (October 2019-January2020).The results showed that most of the turbidity is not constant by distance. The turbidity ranged from 0.46-3.88 NTU. The alkalinity was in the range of 56-172 mg/L as CaCO3. Where all the above parameters are in accordance with the regional water quality standards, pH values were in the range 6.06-7.67. Note that some pH values did not met the provincial waterworks authority (PWA) standards. Most residual chlorine decreased with distance along the pipe line, residual chlorine values were in the range <0.1 - 0.1 mg / L as ClO2, in which every sampling point did not meet PWA standards (0.2 mg/L as ClO2). Most of the DOC increased according to the distance of the water supply, but at some points the sample decreased. The DOC values were in the range 4.49-6.90. mg/L. For BDOC, most of the values were not stable according to the piping distance. The BDOC values were in the range 0.81-2.63 mg/L. For seasonal effects, the highest turbidity was observed during the dry season.รศ.ธัญลักษณ์ ราษฎร์ภักดี
นางสาวรัตน์ทิวา ดีวัน
467ENV2019-06วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการพัฒนาวัสดุแลกเปลี่ยนไอออนบวกที่สามารถเปลี่ยนสีได้สาหรับการใช้งาน ในระบบกาจัดน้ากระด้าง
Development of Color Changing Cation Exchange Resin for Water Softening Processโครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบกาจัดน้ากระด้างให้มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนสูงสุดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม นวัตกรรมของระบบนี้ประกอบไปด้วย เรซินแลกเปลี่ยนไอออนบวกที่สามารถเปลี่ยนสีได้ ซึ่งการเปลี่ยนสีของเรซินจะบ่งบอกถึงอายุการใช้งานหรือประสิทธิภาพในการกาจัดน้ากระด้าง สาหรับการศึกษาในส่วนที่ 1 ทาการเดินระบบ(Service run) พบว่าเรซินแลกเปลี่ยนไอออนบวกที่สามารถเปลี่ยนสีได้ 30 มิลลิลิตร สามารถกาจัดน้าประปามข. ที่มีความกระด้างทั้งหมด 78 mg/l as CaCO3 ได้ประมาณ 1300 Bed Volume หรือ 39 L ซึ่งสีของเรซินจะเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีเหลืองที่ 500 Bed Volume เรซินสามารถใช้งานและกาจัดน้ากระด้างได้ต่อถึง 800 BV เรซินจะหมดประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น ใช้เรซิน 10 วัน เรซินเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีเหลือง เรซินจะสามารถใช้งานและกาจัดน้ากระด้างได้ต่ออีก 16 วัน และใช้สารละลายกรดไฮโดคลอกริก (HCl) 1% 20 BV ฟื้นฟูสภาพเรซิน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูสภาพเรซินมากกว่า 80 เปอร์เซนต์ สาหรับการศึกษาในส่วนที่ 2 ได้ทาการพัฒนาฝักบัวกรองน้า โดยการนาเรซินที่ผ่านการเดินระบบและฟื้นฟูสภาพ แล้วมาเป็นตัวกรอง นอกจากนี้ ยังพัฒนาชุดวัดน้ากระด้าง ภาคสนาม สรุปการศึกษาครั้งนี้สามารถยืนยันได้ว่าเรซินแลกเปลี่ยนไอออนบวกที่สามารถเปลี่ยนสีได้สามารถกาจัดน้ากระด้างได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่าแทนการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติ และฝักบัวกรองน้าเป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่เราพัฒนาขึ้น รวมถึง ชุดวัดน้ากระด้างภาคสนาม
The objective of this research aims to develop a high capacity and environmentally benign water softening process. The novel water softening system composes of the cation exchange resin that can change the color when it takes up all the hardness ions. For the first section of this study, during the service run, the color changing cation exchanger (30 mL) can remove hardness ion (78 mg/L as CaCO3) in KKU water supply approximately 1300 bed volumes or 39 L. The color of the resin changed from red to yellow at approximately 500 BV, suggesting that the resin can continue being used around more than 800 BV until completely exhausted. For example, if the resin takes 10 days to completely change from red to yellow, the resin can continue being used for other 16 days. The 20 BV of 1% of HCl can be effectively use for regeneration of exhausted resin with high percentage of hardness ions recovery approximately 80%. For the second part of this study, the shower head filled with color changing resin was invented. Moreover, the field hardness test kit was developed. This study, the synthesized color changing cation exchange resin can remove hardness ions effectively and the exhausted resin can be easily observed by naked eye instead of lab analysis. The shower head packed with color indication resin is one of the products that uses our developed technology, including field hardness test kit.รศ.สุรพล ผดุงทน
นางสาวศุทธิรัตน์ ศิริศรีมังกร
468ENV2019-07วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการบาบัดลิกนิน โดยใช้ Batch reactor กับ Batch recirculation reactor
Efficiency Comparison of Lignin Treatment Using Batch Reactor and Batch Recirculation Reactorงานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของโอโซนในการกาจัดสีลิกนินจากน้าเสียโดยกระบวน การโอโซเนชั่นโดยใช้แบบ Batch reactor และแบบ Batch recirculation reactor โดยใช้ถังปฏิกรณ์ขนาดนาร่อง (Pilot scale) ที่มีการไหลของน้าเสียแบบทีละชุด (Batch) เมื่อบาบัดแล้วค่อยปล่อยออก โดยมีการเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการบาบัดที่การไหลของถังปฏิกรณ์ต่างกันและเวลากักพักน้าเสียที่ต่างกัน ซึ่งน้าเสียสังเคราะห์ที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้เป็นน้าเสียที่ได้จากการละลายผงลิกนิน ในน้าอาร์โอ (RO) คือน้าที่ผ่านการกรองด้วยเครื่องรีเวอร์สออสโมซิส ( Reverse Osmosis ) ที่ความเข้มข้น 120 mg Lignin/l งานวิจัยนี้ศึกษาผลของการลด สี (ADMI), COD (mg COD/l) และการเปลี่ยนแปลงของค่า TDS (mg TDS/l) โดยใช้การบาบัดด้วยกระบวนการโอโซนออกซิเดชั่น เพียงวิธีการเดียวเป็นตัวเปรียบเทียบจากการทดลองที่เปรียบเทียบถังปฏิกรณ์แบบ Batch reactor และแบบ Batch recirculation reactor พบว่าเมื่อเวลากักพักน้าเสียในการบาบัดเท่ากันที่ 80 นาที การบาบัดโดยใช้กระบวนการโอโซน ออกซิเดชั่นร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2) ถังปฏิกรณ์แบบ Batch reactor มีประสิทธิภาพในการลดสี มีค่า 40% 64%, COD มีค่า 30% 50% และ TDS มีค่าสูงขึ้นเมื่อเวลากักพักน้าเสียในถังปฏิกรณ์เพิ่มขึ้นเนื่องจากการย่อยสลายโมเลกุลด้วยกระบวนการโอโซน ออกซิเดชั่นตามลาดับแต่ยังอยู่ในมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากโรงงานผลิตเยื่อและโรงงานผลิตกระดาษ เมื่อเปรียบเทียบถังปฏิกรณ์แบบ Batch recirculation reactor ไม่มีประสิทธิภาพในการลดสีและ COD มีเพียงค่า TDS มีค่าสูงขึ้นเนื่องจากการย่อยสลายโมเลกุลด้วยกระบวนการโอโซน ออกซิเดชั่น จากการทดลองนี้พบว่าการกาจัดสีลิกนินจากน้าเสียโดยกระบวนการโอโซเนชั่นร่วมกับตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์ (TiO2) ถังปฏิกรณ์แบบ Batch recirculation reactor ไม่สามารถกาจัดสีลิกนินจากน้าเสีย
The objective of this study is investigation of efficiency of lignin degradation using ozonation process in pilot scale of batch reactor and batch recirculation reactor. The main purpose is efficiency comparison of different reactor flow and the different detention time. The synthetic wastewater used in this experiment was wastewater obtained from the dissolution of lignin powder in the R.O. water, which was filtered using a reverse osmosis concentration 120 mg Lignin / l. This research studies the effects of color reduction (ADMI), COD (mg COD / l) and changes in TDS (mg TDS / l) using ozone oxidation therapy. The only method is a comparison from comparable experiments. The batch reactor and batch recirculation reactor at the detention facilities in wastewater treatment, as well as 80 minutes a treatment process using ozone. Oxidation with titanium dioxide catalysts (TiO2) , Batch reactor has a color reduction efficiency of 40% - 64%, COD is 30% - 50% and TDS is increase when the wastewater detention time in the reactor is increased due to the degradation of molecules by ozone process. Oxidation, respectively, but still within the standards to control the drainage of pulp and paper factories. When comparing Batch recirculation reactors, there is no efficiency in removal wastewater color and COD only has a higher TDS value due to the degradation of molecules by ozone oxidation. From this experiment, it was found that wastewater color removal by ozonation process with titanium dioxide catalyst (TiO2). Batch recirculation reactor cannot eliminate lignin removal of wastewaterอ.ชัชวาล อัยยาธิติ
นางสาวศุภสุตา สัณฑมาศ
469ENV2019-08วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการกาจัดไนเตรทด้วยกระบวนการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง
Photocatalysis for destruction of nitrates from aqueous environments under UV light irradiationการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการกาจัดไนเตรทด้วยกระบวนการเร่งปฏิกิริยาเชิงแสง โดยใช้ไทเทเนียมไดออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาภายใต้รังสียูวีและเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ ปัจจัยที่ถูกศึกษาสาหรับงานวิจัยนี้คือปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาไทเทเนียมไดออกไซด์ (0.3, 0.5 และ 1 กรัมต่อลิตร) และการเติมโพรพานอล (ก่อนเริ่มปฏิกิริยา 1, 3, 5 และ 10 มิลลิลิตร และการเติมโพรพานอลระหว่างการทาปฏิกิริยา) เป็นปัจจัยที่ถูกนามาศึกษาสาหรับกาจัดไนเตรทภายใต้รังสียูวีเอ จากผลการทดลองการกาจัดไนเตรทด้วยปฏิกิริยาโฟโตรีดักชันพบว่าที่ปริมาณของ TiO2 ที่ 0.5 กรัมต่อลิตร และที่การเติมโพรพานอล 1 มิลลิลิตร ทุก ๆ 10 นาที ระหว่างทาปฏิกิริยา สามารถกาจัดไนเตรทได้สูงสุดที่ 50 % ที่ความเข้มข้นเริ่มต้นของไนเตรท 30 ppm. โดยโพรพานอลที่เติมระหว่างปฏิกริยาจะช่วยลดการเกิดออกซิเดชันย้อนกลับของไนไตรท์ให้เกิดเป็นไนเตรทอีกครั้ง นอกจากนี้ยังพบว่าปฏิกิริยารีดักชันไนเตรทด้วยเทคนิคนี้ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ Selectivity ของไนเตรทให้เกิดเป็นไนโตรเจนได้ร้อยละร้อยด้วย
This research aims to study the photocatalysis for destruction of nitrates by using titanium dioxide as a catalyst under UV light irradiation. The experiment was conducted in a batch reactor. The influences of catalyst dosage (0.3, 0.5 and 1.0 g/L) and the presence of propanol were investigated which are 1, 3, 5 and 10 mL of propanol at the beginning and adding during reaction. The results showed that over 0.5 g/L of TiO2 dosage and the presence of propanol added during reaction exhibited the highest nitrate removal for 50% degradation. Propanol plays important role for nitrate removal by reducing the oxidation reaction of nitrite to nitrate. Additionally, the selectivity of nitrogen on photoreduction of nitrate revealed 100%.ผศ.รัฐบาล ขันธ์โพธิ์น้อย
นางสาวศุภาพิชญ์ รุ่งเรือง
470ENV2019-09วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการประเมินปริมาณน้าเสียจากอาคารภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่นและผลต่อระบบบ้าบัดน้าเสีย
Estimations of Wastewater Generation in Khon Kaen University and Effects to KKU Wastewater Treatment Plantมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ทาให้มีจานวนประชากรในมหาวิทยาลัยจานวนมาก เมื่อมีจานวนประชากรมากทาให้มีการใช้น้าเพิ่มมากขึ้น ส่งผลทาให้น้าเสียมีปริมาณเพิ่ม ขึ้นตามไปด้วย ซึ่งปัญหานี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเพิ่มของจานวนประชากรในมหาวิทยาลัยอย่างรวด เร็ว แต่ระบบบาบัดน้าเสียของมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีขนาดเท่าเดิมและประสิทธิภาพในการบาบัดของบ่อบาบัดน้าเสียยังสามารถบาบัดน้าเสียเหล่านี้ให้มีค่าบีโอดีน้าออกระบบผ่านตามเกณฑ์มาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งหรือไม่ ดังนั้นในโครงงานนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์ปริมาณการใช้น้าและปริมาณน้าเสียและเพื่อประเมินและคาดการณ์ศักยภาพของระบบบาบัดน้าเสียของมหาวิทยาลัย ขอนแก่นในปัจจุบันและอนาคต โดยการศึกษาครั้งนี้ดาเนินการโดยทาการเก็บข้อมูลประเภทอาคารต่างๆภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อนาไปคานวณหาอัตรการใช้น้าและหาอัตราภาระบีโอดีจากการใช้น้าของอาคารภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งจากการคานวณสามารถหาค่าอัตราการใช้น้าของอาคารทั้งหมดภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น (อัตราไหลเข้าระบบบาบัดน้าเสีย) เท่ากับ 3,380.85 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน และได้ค่าอตราภาระบีโอดีรวมเท่ากับ 96,444.54 กรัมบีโอดีต่อวัน ซึ่งสามารถหาค่าความเข้มข้นของบีโอดีเข้าระบบได้เท่ากับ 28.53 มิลลิกรัมต่อลิตร จากข้อมูลการคานวณข้างต้นสามารถคานวณหาค่าความเข้มข้นบีโอดีของน้าออกจากระบบได้เท่ากับ 7.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานควบคุมระบายน้าทิ้ง และสามารถคาดการณ์ได้ว่าระบบบาบัดน้าเสียของมหาวิทยาลัยขอน แก่น สามารถรองรับอัตราการใช้น้าได้ถึง 6.3 เท่าของปัจจุบัน และสามารถบาบัดบีโอดีของน้าออกระบบให้มีความเข้มข้นไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร ได้อีก 2.6 เท่าของปัจจุบัน
Khon Kaen University is a large university which has a large population in the university. When there is a large population, water demand increase accordingly. This also increase wastewater generation area is directly related to rapid increase of university population. However capacity of wastewater treatment plant (WWTP) is the same. Can the efficiency of the KKU’s WWTP be treated in accordance with the standard criteria of 20 mg / l or not? Therefore, this project aims to estimate water consumption and wastewater generation and to assess capability WWTP of the university. This study was conducted by collecting data from all buildings in KKU. In order to calculate water consumption and BOD load from water consumption of the university buildings. Water consumption from all buildings in KKU is 3,380.85 cubic meters per day. Total BOD load is 96,444.54 grams BOD per day. While concentration of BOD in the system equal to 28.53 milligrams per liter. From the above calculation, BOD concentration of discharge calculated to be 7.5 milligrams per liter, which meets the standards for controlling discharge. And can predict that the KKU’s WWTP can support the use of water up to 6.3 times of the current and able to treat the BOD of water out of the system to a concentration of not more than 20 milligrams per liter by another 2.6 times the current.ผศ.พันวัตต์ พึ่งสาย
นางสาวสิริวรรณ จันทคุปต์
471ENV2019-10วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการจัดสารวจและประเมิน ปริมาณและองค์ประกอบของซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น
Inventory of waste Electrical and Electronic Equipment ( WEEE ) in Nakorn Khon Kaen Municipalityจานวนของขยะอิเล็กทรอนิกส์ (E- Waste) ในประเทศไทยนับวันจะมีจานวนมากเพิ่มขึ้น การจัดการที่ถูกวิธีและเหมาะสมจะช่วยลดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม และสามารถนาเอาวัสดุมาหมุนเวียนกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ซึ่งก่อให้เกิดความคุ้มค่ากับการใช้ทรัพยากร จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีจานวนประชากร สภาพเศรฐษกิจและสังคม ที่มีขนาดใหญ่ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สามารถใช้เป็นกรณีศึกษาและนาไปใช้เป็นแนวทางในจังหวัดอื่นๆได้ การศึกษาในนี้จึงเลือกในเทศบาลนครขอนแก่นเป็นพื้นที่ศึกษา เพื่อประเมินปริมาณและองค์ประกอบของขยะอิเล็กทรอนิกส์ในเขตเทศบาลนครขอนแก่น เพื่อนาข้อมูลไปเปรียบเทียบในเชิงสถิติและใช้วางแผนในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมต่อไป จากผลการศึกษาชนิดและปริมาณของเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ในบ้านเรือนในเทศบาลนครขอนแก่น พบว่าจาแนกได้ประมาณ 32 ชนิด เมื่อประเมินโดยใช้สัดส่วนน้าหนัก พบว่าตู้เย็น เครื่องปรับอากาศและ เครื่องซักผ้า มีสัดส่วนสูงสุดและรองลงมาตามลาดับ และเมื่อประเมินสัดส่วนโดยจานวนชิ้น พบว่าอุปกรณ์ที่สัดส่วนจานวนมากที่สุดและรองลงไปตามลาดับได้แก่ หลอดไฟฟ้า โทรศัพท์มือถือ และพัดลม จากการประเมินโดยแบบสอบถามการจัดการเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ที่หมดสภาพการใช้งานและไม่ใช้งานต่อ พบว่าประชาชนจะเก็บหรือพักไว้ที่บ้านมากที่สุด 63.73 % รองลงมา คือ การนาไปจาหน่ายและแลกเครื่องใหม่ 26.9 % นาไปทิ้งที่จุดรับทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์และถังขยะทั่วไป 9.35 % จากการสารวจในพื้นที่ พบว่าที่จุดรับทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ของเทศบาลจะพบ หลอดไฟและถ่านไฟฉายเป็นส่วนใหญ่ ส่วนซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่าจะมีการนาไปขายที่ร้านรับซื้อของเก่าและพ่อค้าเร่ที่รับซื้อของเก่าตามบ้านเรือน
The number of electronic waste (E-Waste) in Thailand is increasing day by day. It needs to be managed correctly to reduce health and environmental impacts and many parts of them can be recycled for saving the material and resources. Khon Kaen is a large province in the northeast region with the scale of population of economic and social conditions. It can be used as a case study and a guideline for other provinces, therefore Khon Kaen Municipality is selected as a research area for doing inventory of e-waste in a city of Thailand. The purpose of this study is evaluation of the quantity and composition of e-waste for an appropriate planning of e-waste management in the city. The type and quantity of electrical appliances and electronic devices in household in Khon Kaen Municipality can be grouped in 32 types. Base on weight ratio assessment of electrical appliances, it was found that the top 3 highest ratio of quantity are refrigerators, air conditioners and washing machine respectively. And when the assessment bases on number of electronic devices, it was found that the 3 highest number are electric lamps, mobile phones and fans respectively. The study of WEEE management in household by using a questionnaire reveals that the ratio of household which keep WEEE in the house is 63.73 %, sell and exchange for a new one is 26.9 % and dispose to the place of e-waste disposal and a trash is 9.35 % . From the exploration of e-waste disposal containers in Khon Kaen Municipality, low valuable products such as electric lamps and a dry battery are mostly found in the containers. The high valuable of WEEE are normally sold at junk shop or junk buyer.อ.ชัชวาล อัยยาธิติ
นางสาวอรปรีญา การีรัตน์
472ENV2019-11วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการบ้าบัดน้าเสียย้อมไหมมัดหมี่ด้วยวิธีทางกายภาพ
Physical Treatment for Ikat Silk Dye Wastewaterการศึกษานี ท้าการศึกษาการบ้าบัดน้าเสียสีย้อมผ้าไหมมัดหมี่ทางกายภาพด้วยวิธีการดูดซับด้วยเปลือกหอยแครง และ วิธีการกลั่นเพื่อแยกตะกอนสี เพื่อเป็นทางเลือกให้กับการบ้าบัดน้าเสียสีย้อมระดับครัวเรือน โดยในการศึกษาการดูดซับสีด้วยเปลือกหอยแครง ใช้น้าเสียสีย้อมผ้าไหมสีเหลือง ที่ความเข้มข้น 2.5 ก./ล. ใช้เปลือกหอยแครงทุบละเอียดขนาด 0.595 - 1.19 มม. เป็นตัวกลางในการดูดซับ โดยท้าการศึกษาหาอัตราส่วนของตัวกลางต่อน้าเสียที่แหมาะสมโดยใช้อัตราส่วนของตัวกลางต่อน้าเสียที่ 20 60 140 200 320 และ 400 ก./ล. ท้าการวัดประสิทธิภาพการก้าจัดสีด้วยวิธีเอดีเอ็มไอ พบว่า อัตราส่วนที่เหมาะสมของตัวกลางต่อน้าเสีย คือ 60 ก./ล. สามารถก้าจัดซีโอดีได้ร้อยละ 75.1 สามารถก้าจัดสีได้ร้อยละ 14.7 ค่าซีโอดี และ สีที่คงเหลือหลังจากการทดลองยังคงมีค่าสูงที่ 200 มก./ล. และ 19,730.0 เอดีเอ็มไอ ตามล้าดับ เมื่อท้าการศึกษาหาระยะเวลาที่เหมาะสมในการดูดซับ โดยท้าการกวนผสมน้าเสียกับตัวกลางที่อัตราส่วน 60 ก./ล. และกวนที่ความเร็วรอบ 150 รอบต่อนาที ใช้ระยะเวลาทดลองที่ 30 60 90 120 และ 150 น. พบว่าระยะเวลาที่เหมาะสมในการบ้าบัดสี คือ 60 น. สามารถก้าจัดสีได้ร้อยละ 13.5 ค่าสีที่คงเหลือหลังการทดลองที่ 25,200 เอดีเอ็มไอ ซึ่งจากผลการทดลองดังกล่าวพบว่าการดูดซับสีด้วยเปลือกหอยแครงนั นมีประสิทธิภาพในการก้าจัดสีและค่าซีโอดีจ้ากัด จึงท้าเสนอวิธีการกลั่นเพื่อแยกตะกอนสีและน้าออกจากกันแล้วจึงท้าการเก็บรวบรวมตะกอนสีเพื่อส่งก้าจัดเป็นของเสียอันตราย ซึ่งจากผลการทดลองพบว่าการกลั่นใช้พลังงาน 612 กิโลแคลอรี่ต่อน้าเสีย 1 ล. คิดเป็นค่าความร้อนจากถ่านไม้ที่ 0.1 กก. ต่อ การกลั่นน้าเสีย 1 ล. สามารถก้าจัดซีโอดีและสีออกจากน้าได้ถึงร้อยละ 99.17 และ ร้อยละ 99.98 ตามล้าดับ โดย ค่าซีโอดี และ สีที่คงเหลือในน้าที่กลั่นได้อยู่ที่ 8 มก./ล. และ 5 เอดีเอ็มไอ จากการกลั่นน้าเสียสีย้อมความเข้มข้น 2.5 ก./ล. ปริมาตร 250 มล. ตามล้าดับ คาสาคัญ : น้าเสียสีย้อม ผ้าไหมมัดหมี่ การดูดซับ การกลั่น
The objective of this study was to study the physical wastewater treatment of Ikat silk dye by adsorption using cockle shells and distillation for color separation to provide an alternative dye wastewater treatment for the household level. The yellow silk dye 2.5 g/L wastewater was used for study of color adsorption with cockle shells. The diameter range of 0.595 to 1.19 mm. finely ground cockles was used as adsorption media. The ratio of the media to wastewater at 20, 60, 140, 200, 320, and 400 g/L were studied to find out the optimal ratio. The color removal efficiency was measured by the ADM method. The ratio of the media to wastewater at 60 g /l reveal the optimal condition with 75.1% COD removal and 14.7% color removal. However, the final COD and color remaining after experiment remain as high as 200 mg/l and 19,730.0 ADMI, respectively. To evaluate the optimal duration time, the optimal media to wastewater at the ratio of 60 g/L stirred at the speed of 150 rounds per minute was tested at the experimental time of 30, 60, 90, 120 and 150 minutes. The optimal time for color removal is 60 minutes. The color removal was at 13.5%. The residual color after the experiment was still high at 25,200 ADMI. The results reveal that the color adsorption with cockle shell has a limitation for Ikat silk dye wastewater color removal and the COD. Distillation method for separation of dye powder with the collection of the dye powder for disposal as hazardous waste was proposed. The results show that distillation consumes 612 kilocalories of heat per 1 liter of wastewater, equivalent to the heat value of 0.1 kilograms of wood charcoal per 1 liter of wastewater distilled. The distillation removed COD and color from wastewater up to 99.17% and 99.98% respectively. COD and color remain in the distilled water were at 8 mg/l and 5 ADMI from the distillation of 250 milliliters of 2.5 g/L dye wastewater. Keywords : Ikat silk dye wastewater, adsorption, distillation.รศ.ไปรยา เฉยไสย
นายอัมรินทร์ ตั้งศักดิ์สมหวัง
473ENV2019-12วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการกาจัดสารอินทรีย์ระหว่าง เรซินชนิด MIEX DOC และ MIEX GOLD
Comparison of organic matter removal efficiency using MIEX DOC resin and MIEX GOLD resinกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้าของระบบผลิตน้าประปาในประเทศไทยส่วนใหญ่จะใช้กระบวนการตกตะกอน และการกรองผ่านชั้นทรายกรอง ซึ่งสามารถกาจัดตะกอนและความขุ่นได้ดี แต่มีประสิทธิภาพในการกาจัดสารอินทรีย์ละลายน้าต่า สารอินทรีย์ละลายน้าสามารถทาปฏิกิริยากับคลอรีนในกระบวนการฆ่าเชื้อโรคก่อให้เกิดสารพลอยได้ ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง วัตถุประสงค์ของโครงงานนี้คือ การทดสอบประสิทธิภาพในการกาจัดสารอินทรีย์ละลายน้าของเรซินแลกเปลี่ยนประจุที่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก 2 ชนิด คือ เรซินชนิด MIEX DOC และเรซินชนิด MIEX GOLD โดยใช้น้าตัวอย่างในการทดลองจากแม่น้าพอง 4 จุด ประกอบด้วย สะพานห้วยทราย บึงโจด น้าดิบจากการประปาส่วนภูมิภาคอาเภอน้าพอง และน้าดิบจากการประปาส่วนภูมิภาคบ้านโกทา พารามิเตอร์ที่ทาการตรวจวัด คือ พีเอช, การนาไฟฟ้า, การดูดกลืนแสงอัลตราไวโอเลตที่ 254 nm (UVA254), อินทรีย์คาร์บอนละลายน้า (DOC), specific UV absorbance (SUVA), ไนโตรเจนละลายน้าทั้งหมด (TDN), ไนเตรต, ไนไตรต์ และแอมโมเนีย ผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นเรซินที่เหมาะสมในการบาบัดน้า คือ 3 มล./ล. และใช้เวลาทาปฏิกิริยา 30 นาที ในน้าตัวอย่างทั้ง 4 ชุดที่ทาการทดลอง เรซินชนิด MIEX DOC และ MIEX GOLD สามารถกาจัด DOC ได้ 57-60% และ 55-59% ตามลาดับ นอกจากนี้ ประสิทธิภาพในการกาจัด TDN ของเรซิน MIEX DOC และ MIEX GOLD มีค่าอยู่ที่ 22-31% และ 26-39% ตามลาดับ จึงสามารถสรุปได้ว่าเรซินทั้งสองชนิดสามารถกาจัด DOC ได้ดีกว่า TDN และประสิทธิภาพการกาจัด DOC ของเรซินทั้งสองชนิดมีค่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ แต่เรซิน MIEX GOLD มีประสิทธิภาพในการกาจัด TDN สูงกว่า เรซิน MIEX DOC ดังนั้นในการบาบัดน้าที่มีค่า TDN สูง การใช้เรซิน MIEX GOLD จะเหมาะสมกว่าเรซินMIEX DOC
For water treatment process in Thailand, coagulation and sand filtration are typically used to remove turbidity due to suspended solid. However, such processes can not effectively remove dissolved organic matter (DOM). During disinfection process, DOM can react with chemical disinfectants and form disinfection by products (DBPs), which is considered carcinogenic substances. Therefore, the objective of this project is to compare the efficiency of DOM removal of two magnetic ion exchange (MIEX) resins, namely MIEX DOC and MIEX GOLD resins. Water samples were collected from four locations along Namphong river, including Hauysai creek, Jod lake, raw water of Namphong and Bankotha water treatment plants. Water quality parameters before and after MIEX treatment were measured, including ultraviolet absorbance at 254 nm (UVA254), dissolved organic carbon (DOC), specific UV absorbance (SUVA), total dissolved nitrogen (TDN), nitrate, nitrite and ammonia. The results indicate that an optimum dose of MIEX resin was 3 ml/l. with 30 minutes contact time, for which DOC removal by MIEX DOC and MIEX GOLD resins was 57 60% and 55 59%, respectively. MIEX DOC and MIEX GOLD resins also achieved TDN removal of 22 31% and 26 39%, respectively. Therefore, both resins have affinity for DOC over TDN. Comparing these two resins, there was no significant difference in DOC removal, but MIEX GOLD achieved higher TDN removal than MIEX DOC resin. Thus, MIEX GOLD is more suitable to treat water with high TDN concentration.ผศ.ปณิธาน จูฑาพร
นางสาวพจมาลย์ กรมวัง
474ENV2019-13วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมคุณภาพน้าและสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายย่อยสลายทางชีวภาพในโรงประปามหาวิทยาลัยขอนแก่น
Water quality and biodegradable dissolved organic carbon in Khon Kaen University water treatment plant.มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีประชากรที่เป็นบุคลากรและนักศึกษามากกว่า 40,000 คน ดังนั นคุณภาพน้าที่ใช้ในการอุปโภคและบริโภคจึงเป็นสิ่งส้าคัญที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในกระบวนการผลิตน้าประปา สารอินทรีย์ธรรมชาติที่ปะปนอยู่ในน้าประปา โดยท้าการวัดในรูปของสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายน้า (Dissolved Organic Carbon; DOC) เมื่อท้าปฏิกิริยากับสารฆ่าเชื อโรคจะสามารถก่อให้เกิดสารพลอยได้ (Disinfection by-product; DBPs) สาร DBPs เช่น ไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethanes; THMs) และฮาโลอะซิโตไนไตรล์ (Haloacetonitriles; HANs) เป็นสารอันตราย อาจจะสามารถก่อให้เกิดมะเร็งในร่างกายมนุษย์ได้ ดังนั นในงานวิจัยนี จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพน้าจากโรงประปามหาวิทยาลัยขอนแก่นและวิเคราะห์ปริมาณสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายและสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายที่ย่อยสลายทางชีวภาพได้ในหน่วยการปรับปรุงคุณภาพน้า โดยเก็บน้าตัวอย่างจากโรงประปามหาวิทยาลัยขอนแก่น จุดเก็บตัวอย่างน้า มี 4 จุด คือ น้าดิบ หลังผ่านการตกตะกอน หลังผ่านถังกรอง หลังจากออกจากระบบฆ่าเชื อโรค ระยะเวลาในการเก็บตัวอย่างน้า เก็บเป็นระยะเวลา 4 เดือน (ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมกราคม 2563) เก็บตัวอย่างน้าเดือนละ 1 ครั ง และวิเคราะห์คุณภาพน้าทั่วไปมี 3 พารามิเตอร์ ดังนี pH, Turbidity และ Alkalinity และวิเคราะห์ปริมาณสารคาร์บอนอินทรีย์ละลาย Dissolved Organic Carbon (DOC) และสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายที่ย่อยสลายทางชีวภาพได้ Biodegradable Dissolved Organic Carbon (BDOC) ในหน่วยการปรับปรุงคุณภาพน้า ผลที่ได้พบว่า ค่า pH ในแต่ละหน่วยปรับปรุงคุณภาพน้ามีการเปลี่ยนแปลงของค่า pH ที่ถูกก้าจัดได้ยังอยู่ระหว่าง 6.5-8.5 ตามมาตรฐานคุณภาพน้าประปาของการประปาส่วนภูมิภาค การวิเคราะห์ Turbidity พบว่ากระบวนการที่มีการก้าจัดค่า Turbidity มากที่สุดเกิดขึ นที่ถังตกตะกอน โดยสามารถก้าจัดได้ถึง 72% การวิเคราะห์ค่า Alkalinity พบว่าค่า Alkalinity ที่ถูกก้าจัดและมีค่าลดลงมากที่สุดส่วนใหญ่เกิดที่ระบบการตกตะกอน การวิเคราะห์ DOC พบว่า ปริมาณของ DOC จะลดลงมากหลังออกจากถังตกตะกอน เนื่องมาจากการเติม PAC (Poly Aluminium Chloride) ที่ใช้เป็นสารโคแอกกูแลนท์สามารถท้าลายเสถียรภาพของคอลลอยด์และความขุ่นที่มีปริมาณสารคาร์บอนอินทรีย์ละลายน้าได้ และการวิเคราะห์ BDOC พบว่าค่า BDOC โดยส่วนใหญ่จะเพิ่มขึ นหลังออกจากถังกรอง เนื่องมาจากถังกรองอาจมีเชื อจุลินทรีย์ที่มีความสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ละลายในน้าได้
Khon Kaen University population including students and staffs together more than 40,000.Therefore, the quality of water used for consumption is important to affect the health of people in Khon Kaen University. In the water treatment process, natural organic matter (measured as dissolved organic carbon (DOC)) in tap water can react with disinfectants to, form disinfection byproduct (DBPs).These DBPs, such as trihalomethanes (THMs) and haloacetonitriles (HANs), may cause cancer in humans. This research aimed to study the Water quality from Khon Kaen University Waterworks and analyze the concentration of DOC and biodegradable organic carbon (BDOC) in the water units. There are 4 water sampling points at KKU water plant : Raw water tank, after coagulation and sedimentation, after filtration and after disinfection. The sampling period of water samples was during October 2019 to January 2020. Water qualities were analyzed for 3 general parameters as follows: pH, turbidity and alkalinity, and analyzed for DOC and BDOC in water treatment units. The results showed that although pH in each unit of water changed pH values were still between 6.5-8.5 according to the water quality standards of the Provincial Waterworks Authority. Turbidity analysis shows that the process with the most turbidity removal occurs sedimentation tanks (72 %). Most of Alkalinity reduction occurred in the sedimentation system. DOC was reduced after leaving the coagulation and sedimentation due to the addition of PAC (Poly Aluminum Chloride), which is used as a coagulant. While BDOC increase after leaving the filter tank because the filter tank may contain microbes that are capable of decomposing dissolved organic matter.รศ.สุมนา ราษฎร์ภักดี
นางสาวรุพิยา กมลมูล
475ENV2019-14วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมการบ้าบัดสารอินทรีย์ในระบบผลิตน้าประปาด้วยถ่านกัมมันต์
Removals of organic matters in water treatment using activated carbonระบบประปายังไม่สามารถกาจัดสารอินทรีย์ละลายได้ ทาให้สารอินทรีย์ละลายในนา หลงเหลือสู่กระบวนการฆ่าเชื อโรค ระบบผลิตนาประปามหาวิทยาลัยขอนแก่นมีการใช้คลอรีนได ออกไซด์ในกระบวนการฆ่าเชื อโรคทาให้เกิดสารประกอบไตรฮาโลมีเทน (Trihalomethane) ซึ่ง สามารถบาบัดด้วยกระบวนการดูดซับของถ่านกัมมันต์ โดยจาเป็นจะต้องทราบแนวทางการบาบัด สารอินทรีย์และหาถ่านกัมมันต์ที่เหมาะสมต่อระบบกรองสาหรับการกาจัดสารอินทรีย์ในนาประปา ใน การศึกษานี จะทาการนาถ่านกัมมันต์มาบาบัดสารอินทรย์ในนาที่ผ่านกระบวนการกรองแล้ว และจะ ทาการศึกษาถึงความสามารถในการดูดซับของถ่านกัมมันต์ 2 ชนิดที่มีขนาดต่างกัน และเปรียบเทียบ ปริมาณสารอินทรีย์ละลายที่ได้จากการวัดค่าของแต่ละปริมาณถ่านกัมมันต์ของทั ง 2 ชนิด สรุปได้ว่า เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลในการบาบัดสารอินทรีย์แล้ว จะเห็นว่าถ่านกัมมันต์ทั ง 2 ชนิดบาบัดได้ สูงสุดใกล้เคียงกันโดยถ่านกัมมันต์ขนาด 8x16 mesh สามารถบาบัดสารอินทรีย์ออกได้ 58.32% และ ถ่านกัมมันต์ขนาด 8x30 mesh สามารถบาบัดสารอินทรีย์ออกได้ 57.48% ที่ปริมาณต่างกัน
The water supply system is still unable to eliminate dissolved organic matters. As a result, dissolved organic carbon remain to the disinfection process. Water supply system in Khon Kaen University uses chlorine dioxide to disinfection process, causing trihalomethane. which can be removed with the adsorption process of activated carbon. And need to know the coursing for removals of organic matters and to find suitable activated carbon for the filtration system in water supply. The studies are removals of organic matters in water treatment using by activated carbon. Studies on adsorption capacity of activated carbon from 2 types of activated carbon with different sizes. And compare dissolved organic carbon from the measurement in each ratio quantity of activated carbon for both types. The experimental results showed comparison of the effectiveness of removals of organic matters, highest efficiency of 2 types of activated carbon to remove was similar. The size of 8x16 mesh activated carbon could be removed to 58.32% of organic matters and 8x30 mesh activated carbon could be removed organic matters 57.48% at different volumes.ผศ.พันวัตต์ พึ่งสาย
นางสาวสุภิดา พรหมสาขา ณ สกลนคร
476IE2019_1วิศวกรรมอุตสาหการการพยากรณ์ราคาเมล็ดกาแฟโรบัสตาในประเทศไทย
Forecasting the Price of Robusta Coffee Bean in Thailandรศ.พรเทพ ขอขจายเกียรติ
นางสาวจิณห์วรา ปัถวิง
นายณัฐวุฒิ ผลประเสริฐ
477IE2019_10วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาระบบตัดสินใจของแม่บ้าน ณ โรงแรมแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
Developing decision making system for housekeeper at a hotel in Khon Kaenผศ.ฐิติพงศ์ จำรัส
นายไชยวัฒน์ สาวะรก
นายมณฑล เย็นนิกรณ์
478IE2019_11วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบคลังสินค้าอัตโนมัติ (AS/RS) ในคลังเวชภัณฑ์ของโรงพยาบาลขนาดใหญ่
A study of Application of Automated Storage and Retrieval System (AS/RS) in Medical warehouse of a Large hospitalผศ.วีรพัฒน์ เศรษฐ์สมบูรณ์
นายเกริกไกร ไกรพินิจ
นายกรวิชญ์ วงษ์ชู
479IE2019_12วิศวกรรมอุตสาหการการออกแบบและพัฒนาเครื่องทดสอบความคงทนของคมมีด
Design and development of knife edge durability testing machineรศ.ธีรวัฒน์ เหล่านภากุล
นายกรวิชญ์ บุญยง
นายศักดินันท์ กันทะมา
480IE2019_13วิศวกรรมอุตสาหการโครงการการคำนวณจำนวนแรงงานที่ต้องใช้ในคลังสินค้าส่วนขาเข้า กรณีศึกษา : คลังสินค้าแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
Workforce Calculation for Inbound Operations of a Warehouse, Case Study: A Warehouse in Khon Kaen Province.ผศ.ฐนวรรธน์ นิยะโมสถ
นายณฐนนท์ ลาภมูล
นางสาวพิมศิริ ชูศรี
481IE2019_14วิศวกรรมอุตสาหการการคำนวณจำนวนแรงงานที่ต้องใช้ในคลังสินค้าส่วนขาออก กรณีศึกษา : คลังสินค้าแห่งหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
Workforce Calculation for Outbound Operations of a Warehouse Case Study: A Warehouse in Khon Kaen Provinceผศ.ฐนวรรธน์ นิยะโมสถ
นายธนภัทร วิริยะธำรง
นายเกียรติศักดิ์ แก้วอุดร
482IE2019_15วิศวกรรมอุตสาหการกระบวนการชุบแข็งแบบตกตะกอนของวัสดุเชิงประกอบอลูมิเนียม A356/SiC เสริมแรงด้วยแมกนีเซียม ที่ขึ้นรูปด้วยการหล่อโลหะแบบกึ่งแข็ง
Precipitation hardening of modified A356/SiC composite produce by semi-solid castingผศ.สุขอังคณา แถลงกัณฑ์
นายธนกฤต จุลพรหม
นางสาวชลธิชา สอนโส
483IE2019_16วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาการผลิตอะลูมิเนียมเชิงประกอบด้วยวิธีผสมเชิงกล
Aluminum matrix composite processing by mechanical alloyingผศ.สุขอังคณา แถลงกัณฑ์
นางสาวกมลวรรณ สง่าวงค์
นางสาวพิมพ์วลัญช์ สุริยหาร
484IE2019_17วิศวกรรมอุตสาหการอิทธิพลของฟอสฟอรัสและบิสมัทต่อการอบชุบแบบตกตะกอน และสมบัติเชิงกลของโลหะผสมอะลูมิเนียม B390
Effect of Phosphorus and Bismuth on Sedimentation and mechanical Properties of the Aluminum alloy B390ผศ.สุขอังคณา แถลงกัณฑ์
นายศุภกิตติ์ ชัยภูริโภควัชร์
นางสาวแพรวนภา แข็งกล้า
นายสถาพร ข้อยุ่น
485IE2019_18วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนามือเทียมเพื่อการใช้งานทางการแพทย์
Development of hand prosthesis for medical applicationผศ.อภิชาติ บุญมา
รศ.สุรสิทธิ์ ปิยะศิลป์
นายเตชสิทธิ์ วินทะไชย
นายเขตนาวี ศรีพิรอด
นายปรมินทร์ ผาพิมพ์
486IE2019_2วิศวกรรมอุตสาหการการพยากรณ์ปริมาณไข่ไก่ในโรงเรือนเลี้ยงไก่ไข่ระบบปิดแบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ กรณีศึกษา
Forcasting eggs quantity : A case study of automatic Evaporative cooling system for chicken farm.รศ.พรเทพ ขอขจายเกียรติ
นางสาวชญานี รินทะลึก
นางสาวอนุชิดา ทองเหลือง
487IE2019_3วิศวกรรมอุตสาหการการพยากรณ์ราคาขายปลีกไข่ไก่ในอำเภอเมืองขอนแก่น : กรณีศึกษา
Forecasting the retail price of egg in Amphoe Mueang Khon Kaen : A case studyรศ.พรเทพ ขอขจายเกียรติ
นายบุญฤทธิ์ บรมฤทธิ์
นายตระกูล ไกรคุที
488IE2019_4วิศวกรรมอุตสาหการการทดสอบคุณสมบัติทางกลของผิวหนังมนุษย์มองโกลอยด์
Mechanical Properties Testing of Mongoloid Skin in Vivoผศ.อภิชาติ บุญมา
นายภาณุพงศ์ ป้านภูมิ
นางสาวศุภลักษณ์ ไวคำ
489IE2019_5วิศวกรรมอุตสาหการผลกระทบของเทคโนโลยี 3D Printing ต่อวิชาการวางแผนและการควบคุมการผลิต (Production Planning and Control)
The Effects of 3D Printing Technology on Production Planning and Control Subjectศ.ศุภชัย ปทุมนากุล
นายจิตวัต วงศ์เหลา
นางสาวบัณฑิตา สุตาวงษ์
490IE2019_6วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษากระบวนการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากออริกาโน ผสมอนุภาคนาโนเงิน
The Study of Oregano Oil Extract Incorporated with Ag nanoparticlesรศ.ปาพจน์ เจริญอภิบาล
นางสาวศิรดา บุญกล้า
นางสาวนลินี เวียงคำ
491IE2019_7วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาแนวทางการขนส่งสินค้าโดยระบบรถไฟรางเบา : กรณีศึกษา
A study of freight movement by using light rail transit systemผศ.ศิรวดี อรัญนารถ
นางสาวกวิสรา กาบไกรแก้ว
นางสาวชวัลนุช เหล่าสิริพรวัฒนา
492IE2019_8วิศวกรรมอุตสาหการการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประเมินคาร์บอนฟุตปริ้นท์ของผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย
A study of factors influencing the assessment of product carbon footprint in Thailandรศ.ปนิทัศน์ สุรียธนาภาส
นางสาวเอวิกา ชาคำมูล
นางสาวลัลน์ธิชา แป้นสุขา
493IE2019_9วิศวกรรมอุตสาหการการพัฒนาส่วนผสมวัสดุสำหรับการผลิตมือเทียม
Development of material composition for prosthetic hand fabricationผศ.อภิชาติ บุญมา
รศ.สุรสิทธิ์ ปิยะศิลป์
นายกษิดิ์เดช ดลประสิทธิ์
นายอัครวัฒน์ จิตกตัญญูชัย
นายอธิปัตย์ สุวรรณรัตน์
494ME2019-01วิศวกรรมเครื่องกลการปรับปรุงช่วงล่างและระบบขับเคลื่อนของรถไฟฟ้าที่สร้างจากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
Modify suspension system and drivetrain of Electrical vehicle by 3D printerรศ.สุรสิทธิ์ ปิยะศิลป์
รศ.ณัญธิวัฒน์ พลดี
นายณชาพล อุปพงษ์
นายรุจทิวัตถ์ จิตมานะ
นายศักดินันท์ คำแหง
นายพชร ผลาจันทร์
นายฌาณวัตน์ บุรัตน์
495ME2019-02วิศวกรรมเครื่องกลการพัฒนาแขนเทียมเพื่อการใช้งานทางการแพทย์
Development of arm prosthesis for medecal applicationรศ.สุรสิทธิ์ ปิยะศิลป์
นายเตชสิทธิ์ วินทะไชย
นายเขตนาวี ศรีพิรอด
นายปรมินทร์ ผาพิมพ์
496ME2019-03วิศวกรรมเครื่องกลการออกแบบหาค่า control gain ในการปรับตั้งค่าเครื่องบินอัตโนมัติที่ทำจากเครื่องปริ๊นท์ 3 มิติ
The design of control gain value finding to set automatic plane which is made from 3D printerรศ.ณัญธิวัฒน์ พลดี
นายวชรพงศ์ ขวัญทอง
นายเศรษฐพงศ์ เกษมทรัพย์
นางสาวนิภาพร บุญศรีประภาน
497ME2019-04วิศวกรรมเครื่องกลการศึกษาสมรรถนะเครื่องยนต์จากการผสมไบโอ-อิเลคโตรไลต์กับน้ำมันเชื้อเพลิง
Performaree study of Engine by mixing bio-electrolyte substance with fuelอ.จิตติน ตรีพุทธรัตน์
นายไวพจน์ แสงกุดเรือ
498AE18-01วิศวกรรมเกษตรการพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนระบบปฏิบั้ตการแอนดรอยด์เพื่อควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในดินชนิดSandy Clayแบบเรียลไทม์
-รศ.สมชาย ชวนอุดม
นายจิรกฤต โสภา
นางสาวชิดชนก ยืนยั่ง
นางสาวปนัดดา คุณธรรม
499AE18-02วิศวกรรมเกษตรการปรับปรุงการให้บริการรถตัดอ้อยสำหรับเกษตรกรโดยใช้ระบบ IOT
-โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการอัดเม็ดแบบลูกกลิ้งหมุนส าหรับเปลือกยูคาลิปตัส โดยปัจจัยที่ท าการศึกษาคือ ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพของเปลือกยูคาลิปตัส (ค่าความร้อน ความหนาแน่น ความ แข็งแรง ค่าการคืนตัว ฝุ่น ความชื้น ขนาด) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการอัดเม็ดแบบลูกกลิ้งหมุนส าหรับเปลือกยูคา ลิปตัส ผลการศึกษาเปลือกยูคาลิปตัสอัดเม็ดโดยใช้เครื่องอัดเม็ดแบบลูกกลิ้งหมุน การทดสอบใช้เปลือกยูคาลิปตัสที่ บดผ่านตะแกรง 3 ขนาด ได้แก่ ตะแกรงบดขนาด 3 มม. ตะแกรงบดขนาด 4 มม. และตะแกรงบดขนาด 5 มม. มีความชื้นเริ่มต้น 21.25 , 24.63 และ 20.77 เปอร์เซ็นต์ ในแต่ละรอบความชื้นจะลดลงโดยการใช้เตาอบ มีอัตรา ป้อนเปลือกยูคาลิปตัสเข้าเครื่องอัดเม็ดคือ 12 กก./ชม. เครื่องอัดเม็ดมีความเร็วรอบการหมุนของลูกกลิ่งหมุน 138 rpm แล้วน าชีวมวลอัดเม็ดที่ได้ไปตากลดความชื้น ปัจจัยทั้งสองมีผลต่อความเป็นชีวมวล และความสามารถใน การท างานของเครื่องจักร จากการท าทดสอบพบว่าเปลือกยูคาลิปตัสบดขนาด 4 มม.ที่ความชื้น 24.50 จะมีความ หนาแน่นรวมเฉลี่ยอยู่ที่ 454.6 กก./ลบ.ม. มีความหนาแน่นจริงน้อยที่สุดอยู่ที่ 1.07 กก./ลบ.ม. มีความเป็นฝุ่น เท่ากับ 2.61 เปอร์เซ็นต์ มีความทนทาน 99.66 เปอร์เซ็นต์ ที่ความชื้น 13.01 จะมีความหนาแน่นรวมเฉลี่ยมากทสี่ดุ อยู่ที่ 612.17 กก./ลบ.ม. มีความหนาแน่นจริงมากที่สุดอยู่ที่ 1.30 กก./ลบ.ม. มีความเป็นฝุ่นเท่ากับ 12.29 เปอร์เซ็นต์ มีความทนทาน 99.42 เปอร์เซ็นต์ อีกทั้งเปลือกยูคาลิปตัสบดขนาด 4 มม. จะมีเส้นผ่านศูนย์กลางของ ชีวมวลเฉลี่ย 6.1 ซม. และขนาดความยาวเฉลี่ย 23.91 ซม. ที่มีค่าความร้อนเฉลี่ย 4.6 เปอร์เซ็นต์ การคืนตัว 4.61 เปอร์เซ็นต์ ความสามารถของเครื่องสับคือ 187.29 กก./ชม. ใช้ก าลังไฟฟ้า 3710.56 วัตต์ ความสารถในการท างาน ของเครื่องบด 33.89 กก./ชม ใช้ก าลังไฟฟ้า 2452.47 วัตต์ ความสามารถในการท างานของเครื่องอัด 6.31 กก./ชม. ใช้ก าลังไฟฟ้า 4216.02 วัตต์
The objective of this project was to study the effect of rotary rollers on eucalyptus peels. From the factors studied is Study of physical properties of eucalyptus shell (Heating value, density, strength, return value, dust, moisture, size) Studies on the effective factors of rotary rollers for eucalyptus peels result of The study Eucalyptus Pellets from use a rotary roller press machine. Testing use eucalyptus pellets is size. Include grate mashed 3 mm, grate mashed 4 mm grate mashed 5 mm with initial moisture content of 21.25, 24.63 and 20.77 percent. In each cycle, the humidity is reduced by using the oven. The pellet feed rate is 12 kg/hr. The pelletizer has a rotational speed of up to 138 rpm. Then take the biomass pellets to dry. Both factors affect biomass and the ability of the machine. From the test, it was found grate mashed 4 mm eucalyptus shell at a moisture content of 24.50 had an average density of 454.6 kg/m³, with the lowest density of 1.07 kg /cu.m, The dust density was 2.61 percent, and the durability was 99.66 percent. The moisture content of 13.01 had the highest average density of 612.17 kg/cu.m, The highest density was 1.30 kg/cu.m. The dust is 12.29 percent. It has a durability of 99.42 percent. The grate mashed 4 mm eucalyptus shell has an average biomass diameter of 6.1 cm and an average length of 23.91 cm with an average heat of 4.6 percent. The recovery is 4.61 percent. The ability doing work of the pounder is 3710.56 watts. The working power of the grinder is 33.89 kw/hr. and the power consumption is 2452.47 watts. The compressor capacity is 6.31 kg/hr. The electric power consumption is 4216.02 watts.รศ.ขวัญตรี แสงประชาธนารักษ์
นายชิษณุพงษ์ พลรักษ์
นางสาวพลอยมณี เค้าสงค์
500AE18-03วิศวกรรมเกษตรการศึกษาและพัฒนาเครื่องสีข้าวขนาดเล็กแบบ4ลูกยาง
-โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาเครื่องสีข้าวขนาดเล็กแบบ 4 ลูกยาง ผลการศึกษาเมล็ดข้าว 2 สายพันธุ์ คือ พันธุ์ ขาวดอกมะลิ105 และพันธุ์ กข6 พบว่า เมล็ดข้าวพันธุ์ ขาวดอกมะลิ105 ที่ระยะลูกกะเทาะ 0.5 มิลลิเมตร อัตราการป้อนที่ 0.301 กิโลกรัมต่อนาที มีความเหมาะสมที่สุด โดยให้เปอร์เซ็นต์กะเทาะ 97.84 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มเมล็ด77.75 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวหัก 22.25 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์กะเทาะหลัง ผ่านกระบวนการขัดขาว 99.03 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มเมล็ดหลังผ่านกระบวนการขัดขาว 69.07 เปอร์เซ็นต์ และเปอร์เซ็นต์ข้าวหักหลังผ่านกระบวนการขัดขาว 30.93 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเมล็ดข้าวพันธุ์ กข6 ที่ระยะลูกกะเทาะ 0.5 มิลลิเมตร อัตราการป้อนที่ 0.367 กิโลกรัมต่อนาที มีความเหมาะสมที่สุด โดยให้เปอร์เซ็นต์กะเทาะ 98.48 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มเมล็ด 84.46 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวหัก 15.54 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์กะเทาะหลัง ผ่านกระบวนการขัดขาว 98.60 เปอร์เซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มหลังผ่านกระบวนการขัดขาว 67.91 เปอร์เซ็นต์ และ เปอร์เซ็นต์ข้าวหักหลังผ่านกระบวนการขัดขาว 32.09 เปอร์เซ็นต์
The objectives of project are study and development of small rice milling machine with four rubber rollers. The results of KMDL 105 and RD 6 rice varieties revealed that the KMDL 105 at the clearance of roller is 0.5 millimeter. The optimal range of feeding rate is 0.301 kilograms per minute. The percentages of roller milling of KMDL 105 is 97.84. The percentages of rice yield is 77.75. The percentages of rice damage is 20.01. The percentages of roller milling after polish processing is 99.03. The percentages of rice yield after polish processing is 69.07. The percentages of rice damage after polish processing is 30.93. And the RD 6 at the clearance of roller is 0.5 millimeter. The optimal range of feeding rate is 0.367 kilograms per minute. The percentages of roller milling of RD 6 is 98.48. The percentages of rice yield is 84.46. The percentages of rice damage is 15.18. The percentages of roller milling after polish processing is 98.60. The percentages of rice yield after polish processing is 67.91. The percentages of rice damage after polish processing is 32.09.รศ.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ
นายพิริยกร ดีเสมอ
นายพิธิวัฒน์ เมืองศรี
นายภานุวัฒน์ มั่นจิต

Page 1 of 9 (4234 Records)