บทที่ 5 การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

หนว่ ยที่ 5
การควบคุมมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง

หัวข้อเร่ือง
หน่วยที่ 5 ประกอบด้วยหวั ข้อเรอ่ื งตอ่ ไปนี้
5.1 ส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
5.2 หลักการของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
5.3 ชนดิ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
5.4 การเริ่มเดินมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
5.5 การกลับทางหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

สาระสาคญั
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมีส่วนประกอบอยู่ 2 ส่วน คือ สเตเตอร์ และโรเตอร์ มอเตอร์ไฟฟ้า

กระแสตรง สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ ชนิดแม่เหล็กถาวร และชนิดท่ีใช้ขดลวดในการสร้าง
สนามแม่เหล็ก ซึ่งมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดที่ใช้ขดลวดในการสร้างสนามแม่เหล็กแบ่งได้ 3 แบบ คือ
แบบอนุกรม แบบขนาน และแบบผสม การเร่ิมเดินของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง โดยใช้การควบคุมด้วย
สตารท์ ต้ิงบ๊อก แมกเนติกคอนแทคเตอร์และรเี ลย์ สว่ นการหมุนกลบั ทิศทางทาไดโ้ ดยการเปลยี่ นทศิ ทางของ
กระแสไฟฟ้าทไี่ หลผ่านเขา้ ไปยังอารเ์ มเจอร์ และการเปลี่ยนทิศทางกระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นเข้าขดลวดฟลิ ด์

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ่วั ไป
1. เพ่อื ให้เขา้ ใจสว่ นประกอบของของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง
2. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจชนดิ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง
3. เพื่อใหเ้ ขา้ ใจการทางานของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง
4. เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจการเร่ิมเดนิ และกลับทางหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
5. เพ่อื ให้ปฏิบัติงานต่อวงจรควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. บอกสว่ นประกอบของของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ถูกตอ้ ง
2. บอกชนดิ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงได้ถูกตอ้ ง
3. อธบิ ายการทางานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ถกู ตอ้ ง
4. อธบิ ายการเรม่ิ เดนิ และกลับทางหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงได้ถูกต้อง

5. ตอ่ วงจรควบคมุ มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงได้ถูกตอ้ ง
6. ปฏิบัตกิ ารเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ เครอื่ งมอื ในการปฏบิ ัติงานตอ่ วงจรได้อยา่ งถูกต้อง
ตามกาหนดเวลา อย่างมเี หตผุ ลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
7. ใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมอื ในการปฏบิ ตั งิ านต่อวงจรได้อยา่ งถูกต้อง ประหยัด ค้มุ คา่
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

หน่วยที่ 5
การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง

ปจั จุบันมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor) มีความสาคัญต่อชวี ิตประจาวัน
ทง้ั บ้านพักอาศัย ท่ีทางาน สถานท่ีสาธารณะต่าง ๆ และรวมถึงภาคอุตสาหกรรม ถ้าจะกล่าวถึงความหมาย
ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง สามารถกล่าวได้คอื เครื่องกลไฟฟ้าชนิดหน่ึงท่ีทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
กระแสตรงเป็นพลังงานกล ด้วยความเจริญเติบโตทางด้านเทคโนโลยีในปัจจุบันส่งผลทาให้สามารถสร้าง
แม่เหล็กถาวรที่มีคุณภาพสูง ทาให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง กลายเป็นเครื่องกลไฟฟ้าท่ีนามาใช้ในระบบ
ควบคุมได้เกือบทุกชนิด ยกตัวอย่างเช่น การนามอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมาใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
การใช้ในรถจักรยานไฟฟ้า การใช้ในรถยนต์ไฟฟ้า การใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และในภาคอุตสาหกรรม เช่น
โรงงานทอผ้า โรงงานเส้นใย โรงงานถลุงโลหะ การนาไปใช้ในชิ้นส่วนของหุ่นยนต์ ตลอดจนเคร่ืองจักรกลที่ทางาน
แบบอัตโนมัติในระบบอุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ จึงส่งผลให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงเป็นที่นิยมมากใน
ระบบอุตสาหกรรม

5.1 สว่ นประกอบของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Motor) หรือท่ีเรียกว่า ดีซี มอเตอร์ (D.C. Motor)

มสี ่วนประกอบหลกั อยู่ 2 ส่วน คอื ส่วนที่อยู่กับท่ี หรอื ท่ีเรียกวา่ สเตเตอร์ (Stator) และส่วนท่เี คลื่อนท่ี หรือ
เรยี กว่า โรเตอร์ (Rotor) โดยมีแกนเพลาวางอยู่ในตลับลูกปนื ซึ่งประกอบอยู่ในแผ่นปิดหัวและแผ่นปิดท้าย
ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง

ภาพที่ 5.1 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง
ทม่ี า : http://www.lemac.com/images/pm65range_model.jpg และ
http://www.designworldonline.com/uploads/Imagegallery/Rotron-DC-Motors.jpg

5.1.1 ส่วนท่อี ยู่กับท่ี
ส่วนท่ีอยู่กับท่ี หรือท่ีเรียกว่า สเตเตอร์ (Stator) ประกอบด้วย โครงของมอเตอร์ไฟฟ้า

ข้วั แมเ่ หล็ก และแปรงถา่ น
5.1.1.1 โครงของมอเตอรไ์ ฟฟา้
โครงของมอเตอร์ไฟฟ้าส่วนมากนิยมผลิตจากเหล็กหล่อ หรืออาจจะเป็นเหล็กแผ่น

ข้ึนรูปมว้ นเปน็ รปู ทรงกระบอก ทาหน้าที่ให้ส่วนที่อยู่กบั ท่ี คอื ขั้วแมเ่ หล็ก ขดลวด และแปรงถ่าน ยดึ ตดิ กับ
บรเิ วณโครงของมอเตอรไ์ ฟฟา้

ข้วั แม่เหลก็
โครง

คอมมวิ เตเตอร์
แปรงถ่าน

ขดลวด

ภาพที่ 5.2 โครงของมอเตอรไ์ ฟฟ้า
ทมี่ า : http://www.electrical-knowhow.com/2012/05/classification-of-electric-motors.html

5.1.1.2 ข้ัวแม่เหล็ก
ข้ัวแม่เหล็ก สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน คือ แกนขั้วแม่เหล็ก และขดลวด

สนามแม่เหล็ก ซ่ึงแกนข้ัวแม่เหล็กส่วนมากนิยมทาจากแผ่นเหล็กบาง ๆ กั้นด้วยฉนวนไฟฟ้า ดังภาพที่ 5.3
สว่ นปลายทาเปน็ รปู โคง้ เพ่ือรองรบั กับโรเตอร์ เน่อื งจากสว่ นใหญ่โรเตอร์จะเปน็ รปู ทรงกระบอก

ภาพที่ 5.3 แกนขั้วแม่เหลก็
ทม่ี า : http://dgyuncheng.en.alibaba.com/product/389747904-10447223/shaded_pole_motor_stator.html

สว่ นของขดลวดสนามแม่เหล็กนั้น จะพันอยู่บรเิ วณแกนขั้วแม่เหล็ก ทาหน้าที่รับกระแสไฟฟ้าจากภายนอก
เข้าสู่ขดลวดสนามแม่เหล็กเพื่อสร้างเส้นแรงแม่เหล็กข้ึนท่ีบริเวณแกนอาร์เมเจอร์ โดยมีทิศทางเสริมแรง
และทิศทางหักล้างกับเส้นแรงแม่เหล็กท่ีบริเวณอาร์เมเจอร์สร้างข้ึน ส่งผลทาให้เกิดแรงท่ีเรียกว่า แรงบิด
(Torque)

ขดลวดสนามแมเ่ หล็ก

ภาพที่ 5.4 ขดลวดสนามแมเ่ หล็ก
ท่มี า : http://www.newlankatools.lk/ และhttp://www.resicoat.com/markets/electrical-insulation-2/field-coils/

5.1.1.2 แปรงถา่ น
แปรงถ่าน ผลิตจากผงคาร์บอนและกราไฟท์อัดข้ึนรูปลักษณะเป็นแท่งสี่เหล่ียม

ทาหน้าที่เป็นตัวกลางเพื่อนากระแสไฟฟ้าจากภายนอกเข้าไปยังบริเวณซี่ของคอมมิวเตเตอร์ และผ่านไปยัง
ขดลวดอาร์เมเจอร์ การตรวจสอบแปรงถ่าน ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสังเกตว่า แปรงถ่านมีขนาดพอดีกับที่ยึด
แปรงถ่าน มีสภาพนาไฟฟ้าที่ดี และตรวจสอบความดันสปริงที่ยึดแปรงถ่านจะมีค่าความดันอยู่ที่ประมาณ
2.5 ปอนดต์ ่อตารางน้ิว ของพ้ืนทห่ี น้าตัดแปรงถา่ น

แปรงถา่ น ท่ียดึ แปรงถ่าน

คอมมวิ เตเตอร์

แปรงถา่ น

ภาพท่ี 5.5 แปรงถ่าน
ทม่ี า : http://www.powerspring.com.tw/images/product-carbon-brush-4.png

5.1.2 สว่ นทเี่ คลื่อนท่ี
ส่วนท่ีเคลื่อนท่ีหรือโรเตอร์ (Rotor) ประกอบด้วย คอมมิวเตเตอร์ แกนอาร์เมเจอร์ และ

ขดลวดอารเ์ มเจอร์ ส่วนของคอมมิวเตเตอร์จะมีลกั ษณะเปน็ วงแหวนทท่ี ามาจากทองแดง ระหวา่ งซท่ี องแดง
ของคอมมิวเตเตอร์แต่ละซี่จะถูกขั้นด้วยฉนวนไฟฟ้าที่เรียกว่า ฉนวนไมก้า อัดแน่นอยู่กับแกนเพลาเป็นรูป
ทรงกระบอก และบริเวณหัวของซี่ทองแดงจะมีร่องสาหรับใส่ปลายสายของขดลวดอาร์เมเจอร์ บริเวณแกน
อาร์เมเจอร์นั้นทาจากแผ่นเหล็กบาง ๆ ที่เรียกว่า แผ่นเหล็กลามิเนท ทาหน้าที่รองรับบริเวณขดลวดอาร์เมเจอร์
ซึ่งพันอยู่ในร่องสล็อทของแกนอาร์เมเจอร์ ซึ่งทาหน้าท่ีสร้างเส้นแรงแม่เหล็กซึ่งมีทิศทางหักล้าง และเสริม
กับเส้นแรงแม่เหลก็ ทบ่ี ริเวณแกนข้ัวแมเ่ หลก็

แกนอารเ์ มเจอร์ ขดลวดอารเ์ มเจอร์

คอมมวิ เตอร์

ภาพที่ 5.6 ส่วนประกอบของส่วนที่เคลื่อนท่ี
ทม่ี า : http://www.turtleconsulting.com/blog/wp-content/uploads/2010/11/MotorRotor_610x300.jpg

5.2 หลกั การของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง
หลักการของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง กล่าวคอื เม่ือจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปยังมอเตอร์ไฟฟ้า

กระแสตรง ดังภาพที่ 5.7 กระแสไฟฟ้าส่วนหนึ่งจะไหลผ่านไปยังชุดแปรงถ่าน และผ่านคอมมิวเตเตอร์เข้าไป
ยังขดลวดอาร์เมเจอร์สร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้นมา และกระแสไฟฟ้าอีกส่วนหน่ึงจะไหลเข้าไปยังขดลวด
สนามแม่เหล็ก (Field coil) เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กข้ัวเหนือและขั้วใต้ข้ึน ส่งผลให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กไฟฟ้า
จานวน 2 ชุด ตามคณุ สมบตั ิของเสน้ แรงแม่เหล็กจะมีปฏิกริ ิยาต่อกัน โดยจะทาให้เกิดการตา้ นและเสริมแรงกัน
กล่าวคือ เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดข้ึนจะมีอานาจแม่เหล็กดึงดูดกันเมื่อข้ัวแม่เหล็กเหมือนกัน และเส้นแรงแม่เหล็ก
ที่เกิดข้ึนโดยจะมีอานาจแม่เหล็กผลักกันเมื่อขั้วแม่เหล็กต่างกัน จึงทาให้เกิดแรงบิดในแกนอาร์เมเจอร์ ซึ่งวาง
แกนเพลาสวมอยูก่ บั ตลบั ลูกปืนของมอเตอร์ไฟฟ้า ส่งผลทาให้แกนอาร์เมเจอร์หมนุ ได้

แปลงถา่ น อารเ์ มเจอร์
คอมมิวเตเตอร์

ภาพที่ 5.7 หลักการของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
ทม่ี า : http://en.wikipedia.org/wiki/File:Electric_motor_cycle_2.png และ
http://www.electrical4u.com/working-or-operating-principle-of-dc-motor/

5.3 ชนิดของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ถ้าพิจารณาจากการสร้างสนามแมเ่ หล็กของสว่ นทอ่ี ยู่กบั ทนี่ น้ั ผูป้ ฏิบัตงิ าน

สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่
5.3.1 ชนิดที่ใชแ้ มเ่ หล็กถาวรในการสรา้ งสนามแม่เหล็ก
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดท่ีใช้แม่เหล็กถาวรในการสร้างสนามแม่เหล็ก ในส่วนบริเวณ

ของสเตเตอร์จะมีแท่งแม่เหล็กถาวรติดต้ังจานวนสองแท่งเป็นอย่างน้อย (ข้ัวแม่เหล็กเหนือและขั้วแม่เหล็กใต้)
ดังภาพที่ 5.8 ซงึ่ แท่งแม่เหล็กถาวรนี้จะทาหน้าที่ในการสรา้ งเสน้ แรงแม่เหล็ก จึงเปน็ ขอ้ ดีของมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงชนิดน้ี เพราะไม่มีขดลวดสนามแม่เหล็กท่ีบริเวณขั้วแม่เหล็กจึงทาให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
ชนิดนี้ มีขนาดเลก็ กวา่ มอเตอร์ชนดิ อืน่ ๆ สว่ นมากนยิ มนาไปใชใ้ นของเลน่ เดก็

ข้วั แมเ่ หลก็ ถาวร
ขดลวดอารเ์ มเจอร์

ภาพที่ 5.8 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงชนดิ ท่ีใช้แมเ่ หล็กถาวร
ที่มา : http://www.robotgear.com.au/Blog/post/2013/04/05/Size-130-DC-Motor-Teardown.aspx

5.3.2 ชนดิ ท่ีใช้ขดลวดในการสร้างสนามแมเ่ หลก็
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดท่ีใช้ขดลวดในการสรา้ งสนามแม่เหล็ก สามารถแบ่งออกได้

ตามลักษณะการต่อได้ 3 แบบ ได้แก่ มอเตอร์ไฟฟ้าแบบอนุกรม หรือท่ีเรียกว่าซีรีสมอเตอร์ (Series Motor)
มอเตอร์ไฟฟ้าแบบขนาน หรือที่เรียกว่าชันท์มอเตอร์ (Shunt Motor) และมอเตอร์ไฟฟ้าแบบผสม หรือท่ี
เรยี กว่า คอมเปาวด์มอเตอร์ (Compound Motor)

5.3.2.1 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบอนุกรม
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series) มอเตอร์ไฟฟ้าแบบน้ีขดลวดของ

อาร์เมเจอร์จะต่ออนุกรมกับขดลวดฟิลด์ (Field Coil) คุณสมบัติของมอเตอร์ไฟฟ้าแบบนี้ คือ ให้แรงบิด
ขณะเรม่ิ เดินสูง จะมคี วามเรว็ รอบต่า เมื่อมีโหลดมาก ๆ และความเรว็ รอบสูง เมื่อมีโหลดน้อย ๆ หรอื โหลด
ของมอเตอร์ไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม
เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ซึ่งอาจจะส่งผลให้มอเตอร์ไฟฟ้าได้รับอันตรายได้ จึงควรต่อด้วยประกับเพลา
โดยตรงกับโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้า หรือบางครงั้ เรียกว่า คับปลิง (Coupling) นิยมนาไปใช้เปน็ ต้นกาลงั ของ
รถไฟฟา้ รถยกของ เครนไฟฟา้ สวา่ นมอื ไฟฟ้า เคร่ืองดดู ฝนุ่ และเครอ่ื งผสมอาหาร

ขดลวดฟลิ ด์ ซีรีสฟลิ ด์
อารเ์ มเจอร์ อาร์เมเจอร์

ข้วั บวก + - ข้วั ลบ

ข้วั บวก + - ข้ัวลบ

ภาพที่ 5.9 วงจรมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบอนกุ รม
ท่ีมา : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/wiring-connection-of-direct-current-dc.html

รถไฟฟ้า รถยกของ เครนไฟฟา้

ภาพท่ี 5.10 การนามอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบอนกุ รมไปใช้งาน
ท่ีมา : http://www.home.co.th/images/img_v/BuyHome/1/2014_6_16_15_40_22.jpg,
http://media.yellowpages.co.th/yellowpages/products/th/52123143/521231431.jpg และ
http://mdhoist.com/images/img/x-1.jpg

5.3.2.2 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt) มอเตอร์ไฟฟ้าแบบนี้ในส่วนของ

ขดลวดอารเ์ มเจอร์จะต่อขนานกับขดลวดฟิลด์ (Field Coil) คณุ สมบัติของมอเตอร์แบบน้ี คือให้ความเร็วท่ี
ค่อนข้างคงท่ี ความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้าจะเปล่ียนแปลงเพียงเล็กน้อยขณะโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้า
เปลี่ยนแปลง และเมอื่ นาโหลดของมอเตอร์ไฟฟ้าออกท้ังหมด มอเตอร์ไฟฟ้าจะมีความเรว็ รอบสูงกว่าขณะมี
โหลดเพียงเล็กน้อย และแรงบิดขณะเริ่มเดินไม่สูง เม่ือเปรียบเทียบกับมอเตอร์ไฟฟ้าแบบอนุกรม เพราะ
แรงบิดของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานน้ันจะเปลี่ยนแปลงไปตาม ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน
ขดลวดอาร์เมเจอร์ นยิ มนาไปใชท้ าเป็นพัดลม เครอื่ งกลงึ และสวา่ นแท่น

ขดลวดฟลิ ด์ ชันท์ฟลิ ด์
อารเ์ มเจอร์ อารเ์ มเจอร์

ข้วั บวก + - ขวั้ ลบ

ข้วั บวก + - ขว้ั ลบ

ภาพท่ี 5.11 วงจรมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบขนาน

ท่ีมา : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/wiring-connection-of-direct-current-dc.html

สวา่ นแท่น

เคร่อื งกลึง

ภาพท่ี 5.12 การนามอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบขนานไปใชง้ าน
ที่มา : http://www.arkarnsin.com/item/AA00101084.jpg และhttp://waantong.com/JDP-10M.jpg

5.3.2.3 มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบผสม
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม (Compound) มอเตอร์ไฟฟ้าแบบน้ีจะประกอบด้วย

ขดลวดฟิลด์ (Field Coil) ท่ีสเตเตอร์ จานวน 2 ชุด ต่อวงจรแบบผสมอยู่กับขดลวดที่อาร์เมเจอร์ หรือเป็นการ
นาเอามอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม และขนานมารวมไว้ในมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงตัวเดียวกนั น่ันเอง
จึงทาให้คณุ สมบัติของมอเตอร์แบบน้ีอยู่ระหว่างมอเตอรท์ ั้ง 2 แบบมารวมกัน กล่าวคือ ทาให้แรงบิดเริ่มเดนิ สูง
ความเรว็ รอบคงท่ีขณะไม่มีโหลดไปจนถงึ ขณะจ่ายโหลดเตม็ ที่

ขดลวดฟลิ ด์ ชันทฟ์ ลิ ด์ ซรี สี ฟลิ ด์
อารเ์ มเจอร์ อารเ์ มเจอร์

ขวั้ บวก + - ข้วั ลบ

ขัว้ บวก + - ข้ัวลบ

ภาพที่ 5.13 วงจรมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบผสม
ทีม่ า : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/wiring-connection-of-direct-current-dc.html

แหล่งจ่ายไฟ ้ฟากระแสตรง5.4 การเร่มิ เดนิ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงรีโอสตาทอาร์เมเจอร์
การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงด้วยมือ ผปู้ ฏบิ ตั ิงานสามารถทาโดยการปรบั ฟิลด์รโี อสตาท
ัชน ์ทฟิลด์
(Field Rheostst) ซงึ่ ต่ออนกุ รมอยู่กับวงจรชันท์ฟลิ ด์ ซง่ึ เปน็ วธิ ีงา่ ยทีส่ ุดในการควบคุมแรงดนั ไฟฟา้

+
+
-

-

ภาพที่ 5.14 การต่อฟิลดร์ ีโอสตาทอนุกรมอยกู่ ับวงจรชนั ทฟ์ ิลด์

ภาพที่ 5.15 ฟลิ ด์รโี อสตาท
ที่มา : https://www.labvolt.com/solutions/1_mechatronics/50-3151-10_field_rheostat_for_dc_machine

เน่ืองจากมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงในช่วงเร่ิมเดินจะ ยังไม่มีแรงดันไฟฟ้าต้านกลับ เกิดขึ้นบริเวณ
อาร์เมเจอร์ ส่งผลให้แรงดันไฟฟ้าท่ีตกคร่อมที่บรเิ วณอาร์เมเจอร์ และมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเป็นจานวนมาก
อาจส่งผลใหเ้ กิดอันตรายกบั มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง เพราะความต้านทานของอาเมเจอร์มีค่าต่ามาก ดังนั้น
ในการเรม่ิ เดินมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง ผปู้ ฏิบัตงิ านจาเป็นที่จะตอ้ งตอ่ ความตา้ นทานอนุกรมเข้าไปยังท่ีบริเวณ
ของอาร์เมเจอร์ เพ่ือทาให้สามารถควบคุมปริมาณของกระแสไฟฟ้าได้ โดยที่ไม่เป็นอันตรายกับมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรง เม่ือมอเตอร์ไฟฟ้าหมุนไปแล้ว ผ้ปู ฏิบัติงานจึงคอ่ ย ๆ ลดค่าความต้านทานลงทีละข้นั จนกว่าจะ
ทาการปลดความต้านทานออกจากวงจรอาร์เมเจอร์ สาหรับอุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับการเริ่มเดินของมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงน้ี นยิ มเรยี กวา่ สตารต์ ต้ิงบอ๊ ก (Starting Box) มที ้ังแบบ 3 ขวั้ และแบบ 4 ขว้ั

คันปรับ ความต้านทานสาหรับเรม่ิ เดนิ
โอเวอรโ์ หลดคอยล์ โฮลดด์ ง้ิ คอยล์

ภาพท่ี 5.16 สตารต์ ตง้ิ บ๊อก แบบ 3 ขว้ั
ทีม่ า : http://trade.indiamart.com/details.mp?offer=3977429575 และ
http://www.electrical4us.com/3-point-starter-construction-and-working-principle-of-three-point-starter/

5.4.1 การเรมิ่ เดนิ ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงโดยการใช้สตาร์ตติ้งบ๊อก แบบ 3 ขว้ั
การเริ่มเดินของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยการใช้สตาร์ตต้ิงบ๊อก แบบ 3 ข้ัว (Three-

Point Starting Box) ผปู้ ฏิบัตงิ านจะต้องโยกคันปรับไปยังตาแหน่งของตัวต้านทานสาหรบั เริ่มเดนิ ส่งผลให้
กระแสไฟฟ้าแบบออกเป็น 2 ส่วน

5.4.1.1 กรณีมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
ส่วนที่ 1 กระแสไฟฟ้าจะไหลจากความต้านทานสาหรับเร่ิมเดิน ไปยังอาร์เมเจอร์

ครบวงจรทขี่ ้วั ลบของแหล่งจ่ายไฟฟา้ กระแสตรง
สว่ นท่ี 2 กระแสไฟฟ้จะไหลจากโฮลด้ิงคอยล์ ผ่านขดลวดชันทฟ์ ิลด์ ครบวงจรทข่ี ้ัวลบ

ของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ซ่ึงในตาแหน่งน้ี ความต้านทานท้ังหมดจะต่ออนุกรมกับวงจรของอาร์เมเจอร์
จึงถูกจากัดไม่ให้กระแสไฟฟ้าสูง ผู้ปฏิบัติงานดันคันปรับให้ ไปทางขวาจนถึงตาแหน่งสุดท้าย (ความต้านทาน
ถูกตัดออกจากวงจรอาร์เมเจอร์) คันปรับจะถูกดูดไว้โดยโฮลดิ้งคอยล์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงก็จะ
หมุนไปจนถึงความเร็วสูงสุด แต่ถ้าขดลวดชันท์ฟิลด์ขาด จะส่งผลให้โฮลดิ้งคอยล์ หมดอานาจแม่เหล็กไฟฟ้า
ส่งผลทาใหค้ นั ปรับกลับไปยังตาแหน่งปิด (OFF) มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงก็จะหยุดหมนุ เพอื่ เป็นการป้องกัน
อนั ตรายท่ีจะเกิดกับมอเตอรไ์ ฟฟา้ (ขณะทีข่ ดลวดชันท์ฟิลดข์ าด ความเร็วรอบจะเพิ่มข้ึนจนเป็นอันตรายกับ
มอเตอร์ไฟฟ้า) จากการท่ีโฮลดิ้งคอยล์สามารถป้องกันความเสียหายของมอเตอร์ไฟฟ้าได้ จึงเรียกขดลวดนี้ว่า
โนโวลต์ คอยล์ (No-Volt Coil)

สตารต์ ติง้ บอ๊ ก

A1

OFF F1 F1 A1
F2 A2
L1 ัชน ์ทฟิลด์
อาร์เมเจอ ์ร
+

แหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรง

-

ภาพที่ 5.17 วงจรสตาร์ตต้ิงบ๊อกแบบ 3 ขวั้ กับมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
ที่มา : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html

5.4.1.2 กรณีมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
สว่ นท่ี 1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านความต้านทานสาหรับเริม่ เดินไปยัง อาร์เมเจอร์

ผ่านซีรีสฟิลด์ ครบวงจรทขี่ ้วั ลบของแหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรง
ส่วนท่ี 2 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านโฮลด้ิงคอยล์ผ่านขดลวดชันท์ฟิลด์ ครบวงจรที่

ขั้วลบของแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ส่วนการควบคุมคันปรับน้ันให้ผู้ปฏิบัติงานทาเช่นเดียวกับมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงแบบขนาน

สตารต์ ต้ิงบอ๊ ก

A1
A1
ชันท์ฟิลด์
OFF F1 F1 SA12ีซรีสฟิลด์
L1 F2 S2
อาร์เมเจอร์
+

แหลง่ จา่ ยไฟฟ้ากระแสตรง

-

ภาพท่ี 5.18 วงจรสตารต์ ต้งิ บ๊อกแบบ 3 ขว้ั กบั มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม

ทม่ี า : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html

5.4.2 การเร่มิ เดินของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยการใช้สตารต์ ตง้ิ บ๊อก แบบ 4 ขวั้
การเริ่มเดินของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยการใช้สตาร์ตต้ิงบ๊อก แบบ 4 ขั้ว (Three-

Point Starting Box) ผู้ปฏบิ ัตงิ านจะต้องโยกคันปรับไปยังตาแหน่งของตัวต้านทานสาหรับเร่ิมเดิน สง่ ผลให้
กระแสไฟฟา้ แบบออกเปน็ 3 สว่ น

5.4.2.1 กรณีมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
สว่ นที่ 1 กระแสไฟฟา้ จะไหลผ่านความต้านทานสาหรับเร่ิมเดนิ ไปยังอาร์เมเจอร์

ครบวงจรทีข่ ั้วลบของแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง
ส่วนที่ 2 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านโฮลดิ้งคอยล์ ผ่านขดลวดป้องกันกระแสไฟฟ้า

ครบวงจรที่ขว้ั ลบของแหล่งจา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง
ส่วนที่ 3 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านไปยังขดลวดชันท์ฟิลด์ ครบวงจรท่ีขั้วลบของ

แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ส่วนการควบคุมคันปรับให้ทาเช่นเดียวกับการเริ่มเดินของมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงโดยการใช้สตารต์ ติ้งบ๊อก แบบ 3 ขั้ว

F1
A1
สตาร์ตต้ิงบ๊อก
OFF อาร์เมเจอร์L2 A1 F1
ัชน ์ทฟิลด์A2 F2
L1

+
แหลง่ จ่ายไฟฟา้
-

ภาพท่ี 5.19 วงจรสตาร์ตต้ิงบ๊อกแบบ 4 ขว้ั กับมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงแบบขนาน
ทีม่ า : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html

5.4.2.2 กรณมี อเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบผสม
ส่วนที่ 1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านความต้านทานสาหรับเร่ิมเดนิ ไปยังอาร์เมเจอร์

ผา่ นซรี ีสฟลิ ด์ ครบวงจรท่ีขวั้ ลบของแหล่งจา่ ยไฟฟา้ กระแสตรง
ส่วนที่ 2 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านโฮลด้ิงคอยล์ ผ่านขดลวดป้องกันกระแสไฟฟ้า

ครบวงจรทขี่ ั้วลบของแหล่งจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรง เชน่ เดยี วกับมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน
ส่วนที่ 3 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านไปยังขดลวดชันท์ฟิลด์ ครบวงจรท่ีข้ัวลบของ

แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ส่วนการควบคุมคันปรับให้ทาเช่นเดียวกับการเร่ิมเดินของมอเตอร์ไฟฟ้า
กระแสตรงโดยการใช้สตารต์ ต้ิงบอ๊ ก แบบ 3 ขวั้

F1
A1 A1 F1
สตาร์ตติ้งบ๊อก
OFF ซีรีสฟิล ์ด อา ์รเมเจอ ์รL2A2 F2
S1
L1 ัชน ์ทฟิลด์
S2
+
แหลง่ จ่ายไฟฟา้
-

ภาพที่ 5.20 วงจรสตาร์ตติง้ บ๊อกแบบ 4 ขว้ั กบั มอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงแบบผสม
ทีม่ า : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html

สตาร์ตติ้งบ๊อก

ภาพท่ี 5.21 การติดต้ังสตาร์ตติ้งบอ๊ กแบบ 3 ขวั้ กบั มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบขนานสตาร์ตติ้งบ๊อก
ทม่ี า : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html

ภาพที่ 5.22 การติดต้ังสตาร์ตติง้ บ๊อกแบบ 4 ขว้ั กับมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบผสม
ท่ีมา : http://www.industrial-electronics.com/elecy4_5.html
5.5 การกลบั ทางหมุนมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง

5.5.1 การกลับทิศทางการหมุนของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงชนิดทใี่ ช้แมเ่ หล็กถาวรในการสร้าง
สนามแม่เหล็ก

การกลับทิศทางการหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดท่ีใช้แม่เหล็กถาวรน้ี มีขั้นตอนไม่
ยุ่งยาก ผู้ปฏิบัติงานสามารถกลับทิศทางการหมุนได้ โดยการสลับข้ัวสายไฟฟ้าของสายป้อนท่ีต่อเข้ากับขั้วของ
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง ซึ่งการควบคุมการทางานผู้ปฏิบัติงานสามารถท่ีจะออกแบบวงจรโดยการสั่งงาน
ให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงทางาน ผ่านรีเลย์เพื่อใหม้ อเตอรส์ ามารถทางานได้ตามเง่ือนไขท่ีตอ้ งการ

ภาพท่ี 5.23 รเี ลย์
ท่มี า : http://thaitechno.net/CDA/File/CompanyProduct/Picture/35741.21460422.jpg

หมนุ ซ้าย รีเลย์ 1 (R1) รีเลย์ 2 (R2)

สวติ ช์ + COIL-
COIL NO COM NC

หมนุ ขวา - NO COM NC

+ +
- _
แหลง่ จา่ ยไฟฟา้ มอเตอรไ์ ฟฟา้

กระแสตรง

ภาพท่ี 5.24 การต่อรีเลย์วงจรกลับทศิ ทางการหมนุ ของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง

จากวงจรในภาพท่ี 5.24 รีเลย์ท้ังสองตัวยังไม่ทางาน ข้ัวมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงจะถูกต่อ
กับหน้าสัมผัสสภาวะปิด เพื่อตอ่ ไปยังขั้วลบของทงั้ สองฝั่ง ส่งผลให้ทาให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงนน้ั อยู่ใน
สภาวะหยุด หรอื เบรค (Brake)

ถ้าผู้ปฏิบัติงานทาการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปยังคอยล์ของรีเลย์ตัวท่ี 1 (R1) ก็จะส่งผล
ใหห้ น้าสัมผัสเกดิ การเปล่ียนสภาวะทาใหม้ ีไฟฟ้าขั้วบวกไหลผ่าน รีเลย์ตัวท่ี 1 ผ่านมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
แล้วผ่านรีเลย์ตัวท่ี 2 ไปยังขั้วลบก็จะทาให้ครบวงจร มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงก็จะหมุนไปยังทิศทางหน่ึง
แต่ถ้าผู้ปฏิบัติงานหยุดจ่ายไฟฟ้าให้รีเลย์ตัวที่ 1 แล้วเปล่ียนมาจ่ายให้กับรีเลย์ตัวท่ี 2 (R2) แทน ส่งผลให้
หน้าสัมผัสของรีเลย์ตัวท่ี 2 เกิดการเปลี่ยนสภาวะทาให้มีกระแสไฟฟ้าขั้วบวกไหลผ่าน รีเลย์ตัวที่ 2 ผ่าน
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง แล้วผ่านรีเลย์ตัวท่ี 1 ไปยังข้ัวลบก็จะทาให้ครบวงจรเช่นกันทาให้มอเตอรห์ มุนไป
ยงั ทศิ ทางตรงกันข้าม (กลบั ทิศทางการหมนุ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง)

5.5.2 การกลับทศิ ทางการหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดท่ีใชข้ ดลวดในการสร้างสนามแม่เหลก็
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดที่ใช้ขดลวดในการสรา้ งสนามแม่เหล็ก ไม่สามารถกลับทิศทาง

การหมุนได้ โดยการสลับขั้วสายไฟฟ้าของสายป้อน เหมือนกันมอเตอร์กระแสตรงที่ใช้แม่เหล็กถาวร เพราะว่า
จะทาให้กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผ่านทั้งอาร์เมเจอร์ และขดลวดฟิลด์เปลี่ยนทิศทางไปพร้อมกัน เป็นผลทาให้มอเตอร์
หมนุ ในทิศทางเดิม ถา้ ผ้ปู ฏบิ ัติงานตอ้ งการกลบั ทางหมนุ มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงชนดิ นี้ สามารถทาได้ 2 วิธี

วิธีท่ี 1 เปล่ียนทิศทางกระแสทไี่ หลผา่ นอารเ์ มเจอร์ หรือสลับขวั้ อารเ์ มเจอร์
วิธีท่ี 2 เปลีย่ นทศิ ทางกระแสที่ไหลผา่ นวงจรขดลวดฟิลด์ หรอื สลบั ข้ัวขดลวดฟิลด์
5.5.2.1 การกลับทางหมนุ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม

ซีรสี ฟลิ ด์

สลับสายไฟฟา้
เข้าอาร์เมเจอร์

ข้ัวบวก + - ขว้ั ลบ ข้วั บวก + - ขวั้ ลบ

+ ซีรีสฟลิ ด์ - + ซีรสี ฟลิ ด์ -

อาร์เมเจอร์ อารเ์ มเจอร์

ภาพท่ี 5.25 กลับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในอารเ์ มเจอร์
ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม

ท่มี า : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/reversing-dc-motors.html

จากภาพท่ี 5.25 แสดงวงจรการกลับทางหมุนมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม
โดยการเปลี่ยนทิศทางกระแสไฟฟ้าในอาร์เมเจอร์ หรือสลับข้ัวอาร์เมเจอร์ และในภาพท่ี 5.26 จะเป็นวงจร
การกลับทางหมนุ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม โดยวิธีเปล่ียนทิศทางกระแสไฟฟา้ ในขดลวดอนุกรม
(ซรี สี ฟิลด)์ หรือสลับขัว้ ขดลวดอนกุ รม

ซีรสี ฟลิ ด์

สลับสายไฟฟา้
เข้าขดลวดฟลิ ด์

ขวั้ บวก + - ขวั้ ลบ ข้ัวบวก + - ขวั้ ลบ

+ ซรี ีสฟลิ ด์ - ซรี สี ฟลิ ด์ -

อาร์เมเจอร์ + อารเ์ มเจอร์

ภาพที่ 5.26 กลับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในขดลวดฟิลด์
ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม

ทม่ี า : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/reversing-dc-motors.html

5.5.2.2 การกลับทางหมนุ ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน

ชันท์ฟลิ ด์

ขว้ั บวก + - ข้ัวลบ สลบั สายไฟฟ้า
ชันท์ฟลิ ด์ เขา้ อาร์เมเจอร์

ขั้วบวก + - ข้วั ลบ
ชนั ท์ฟิลด์

+ -+ -

อาร์เมเจอร์ อาร์เมเจอร์

ภาพท่ี 5.27 กลบั ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้าในอารเ์ มเจอร์
ของมอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรงแบบขนาน

ทมี่ า : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/reversing-dc-motors.html

5.5.2.3 การกลบั ทางหมุนของมอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม

ชันท์ฟิลด์
และ

ซีรสี ฟลิ ด์

สลบั สายไฟฟ้า
เขา้ อารเ์ มเจอร์

ขว้ั บวก + - ขวั้ ลบ ขัว้ บวก + - ขวั้ ลบ
ชันทฟ์ ิลด์ ชันทฟ์ ิลด์

+ ซีรีสฟลิ ด์ - + ซรี สี ฟลิ ด์ -

อารเ์ มเจอร์ อาร์เมเจอร์

ภาพท่ี 5.28 กลับทิศทางการไหลของกระแสไฟฟา้ ในอาร์เมเจอร์ของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบผสม
ที่มา : http://ijyam.blogspot.com/2013/11/reversing-dc-motors.html

สรุป
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมีส่วนประกอบที่สาคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่กับท่ี เรียกว่า สเตเตอร์

ส่วนที่เคล่ือนท่ี เรียกว่า โรเตอร์ หลักการของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง เมื่อจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง ไปยังขดลวด
อารเ์ มเจอร์ และขดลวดสนามแม่เหล็ก เกิดสนามแม่เหล็กไฟฟ้าข้ึนมา 2 ชุด ทาให้เกิดแรงบิดทอ่ี าเมเจอร์ส่งผลทา
ให้อาเมเจอร์หมุน มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ถ้าพิจารณาจากการสร้างสนามแม่เหล็ก
ของส่วนที่อยู่กับที่ คือชนิดที่ใช้แม่เหล็กถาวรในการสร้างสนามแม่เหล็ก และชนิดที่ใช้ขดลวดในการสร้าง
สนามแม่เหล็ก ซึ่งมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงชนิดที่ใช้ขดลวดในการสร้างสนามแม่เหล็กน้ี แบ่งได้ 3 แบบ ได้แก่
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบอนุกรม มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบขนาน และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
แบบผสม

การเร่มิ เดินของมอเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรงโดยใช้ การควบคุมด้วยสตาร์ตต้ิงบ๊อก และนอกจากทา
การควบคุมให้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงหมุนได้แล้ว ก็สามารถที่จะควบคุมให้มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรงหมุน
กลบั ทศิ ทางได้ โดยมวี ิธีการเปลย่ี นทิศของทางกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นเข้าอาร์เมเจอร์ และการเปล่ยี นทิศทาง
กระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นเขา้ ขดลวดฟิลด์