บท ที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ความพึง พอใจ

บทที่ 4

ผลการวิจัย

การวิเคราะห์และการนำเสนอผลการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการธุรกิจสปา กรณีศึกษา ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง”    นำเสนอในรูปตารางประกอบคำบรรยาย โดยแบ่งการนำเสนอ ดังนี้

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยได้เสนอสัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้

         แทน     ค่าเฉลี่ย (Mean)

S.D.      แทน     ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

t           แทน     ค่าสถิติที่ใช้ในการทดสอบค่าที (t-test)

F          แทน     ค่าสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (Anova)

P          แทน     ระดับนัยสำคัญทางสถิติ

*          แทน     มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้นำเสนอออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ใช้บริการชาวไทยที่เข้ามาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ส่วนที่ 2 ข้อมูลด้านบุคลิกภาพผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ส่วนที่ 3ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับรายการกิจกรรมการให้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ส่วนที่ 1ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ใช้บริการชาวไทยที่เข้ามาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ผลการวิเคราะห์ผลการวิเคราะห์สถานภาพของผู้ใช้บริการชาวไทยที่เข้ามาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนองตามแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ดังนี้

ตาราง 1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของสถานภาพของผู้ใช้บริการชาวไทยที่เข้ามาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

ลักษณะทางประชากรศาสตร์

จำนวน (n=395)

ร้อยละ

1.เพศ

ชาย

150

37.94

หญิง

245

62.03

รวม

395

100

2.อายุ

ต่ำกว่า 20

-

-

20-30 ปี

52

13.16

31-40 ปี

65

16.45

41-50 ปี

161

43.20

51 ปีขึ้นไป

117

27.00

รวม

395

100

3.อาชีพ

นักเรียน/นักศึกษา

190

51.40

ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ

30

8.10

ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว

60

16.20

พนักงาน/เจ้าหน้าที่บริษัท

50

13.50

อื่น ๆ

-

-

รวม

370

100

ลักษณะทางประชากรศาสตร์

จำนวน

ร้อยละ

4.รายได้

ต่ำกว่า 10,000 บาท

98

24.5

10,000-20,000 บาท

218

54.5

20,001-30,000 บาท

46

11.5

30,001-40,000 บาท

25

6.3

40,001 บาท ขึ้นไป

13

3.3

รวม

370

100

5.ระดับการศึกษา

ต่ำกว่าปริญญาตรี

ปริญญาตรี

สูงกว่าปริญญาตรี

รวม

395

100

            จากตาราง 1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของสถานภาพของผู้ใช้บริการชาวไทยที่เข้ามาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง พบว่า

ด้านเพศ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 53.25 ส่วนที่เหลือเป็น เพศชายร้อยละ 46.75

ด้านอายุ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 2030  ปี ร้อยละ 29.3 รองลงมา ได้แก่ ช่วงอายุ 31-40 ปี ร้อยละ 26.3 ช่วงอายุ ต่ำกว่า 20 ปี ร้อยละ 17.3 และช่วงอายุ 41-50 ปี ร้อยละ 14.8  ส่วนผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วง 51 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนน้อยมี่สุด เพียงร้อยละ 12.5เท่านั้น

ด้านอาชีพ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเป็นนักเรียน/นักศึกษา  ร้อยละ 37.3  รองลงมาได้แก่ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว ร้อยละ 29.8  ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ร้อยละ18.8 และน้อยสุดคือ พนักงาน/เจ้าหน้าที่บริษัท ร้อยละ 14.3

ด้านรายได้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มี รายได้อยู่ในช่วง 10,000 – 20,000 บาท ร้อยละ 54.5 รองลงมา รายได้ ต่ำกว่า 10,000 บาท ต่อเดือน ร้อยละ 24.5  ถัดมา รายได้ อยู่ในช่วง 20,001-30,000บาท ร้อยละ 11.5 และ รายได้อยู่ในช่วง 30,001-40,000 บาท ร้อยละ 6.3 น้อยสุด คือ กลุ่มที่มีรายได้ 40,001 บาทขึ้นไป มีสัดส่วนร้อยละ 3.3 

ด้านระดับการศึกษา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีการศึกษา อยู่ในระดับ ปริญญาตรี ร้อยละ 51.8  รองลงมา การศึกษาอยู่ในระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 38.8   น้อยสุด คือ กลุ่มสูงกว่าปริญญาตรี มีสัดส่วนร้อยละ 9.5 

ส่วนที่ 2ข้อมูลด้านบุคลิกภาพผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับด้านบุคลิกภาพผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง โดยใช้ แบบทดสอบบุคลิกภาพ  Maudsley Personality Inventory เป็นแบบทดสอบมาตรฐานสร้างโดย H.J. Eysenck    แปลและเรียบเรียงเป็นภาษาไทยโดย อาจารย์สมทรง สุวรรณเลิศและคณะ ประกอบด้วยข้อคำถาม 48 ข้อ   ประเมินบุคลิกภาพ 2 มิติ

- มิติบุคลิกภาพเชิงภาวะอารมณ์ ( Scale N ) ได้แก่แบบหวั่นไหวทางสภาวะอารมณ์ ( Neuroticism ) และแบบมั่นคงทางสภาวะอารมณ์ ( Stability ) ประกอบด้วยข้อคำถาม 24 ข้อ

-  มิติบุคลิกภาพเชิงพฤติกรรม ( Scale E )  ได้แก่พฤติกรรมแสดงตัว ( Extraversion ) และแบบเก็บตัว  ( Introversion )  ประกอบด้วยข้อคำถาม 24 ข้อ

โดยการตอบคำถามแต่ละข้อมี 3 ตัวเลือก คือ ใช่  ไม่แน่ใจ  ไม่ใช่ และมีคะแนนตั้งแต่ 0- 2 คะแนน

ตารางที่ 2.1 แสดงค่าร้อยละบุคลิกภาพจำแนกตาม Scale E และ Scale N ของ ผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

บุคลิกภาพผู้ใช้บริการชาวไทย

จำนวน

ร้อยละ

Scale N

หวั่นไหวทางสภาวะอารมณ์

129

34.8

มั่นคงทางสภาวะอารมณ์

108

29.5

รวมทั้งหมด

395

100

Scale E

แสดงตัว

108

29.5

เก็บตัว

129

34.8

รวมทั้งหมด

395

100

            จากตารางที่ 2.1 แสดงค่าร้อยละบุคลิกภาพจำแนกตาม Scale E และ Scale N ของ ผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง พบว่า

            Scale N ผู้ใช้บริการ ส่วนใหญ่ มีบุคลิกภาพแบบ หวั่นไหวทางสภาวะอารมณ์ คิดเป็นร้อยละ 34.8 ในขณะที่ผู้ใช้บริการที่มีบุคลิกภาพแบบมั่นคงทางสภาวะอารมณ์ คิดเป็นร้อยละ 29.5

            Scale E ผู้ใช้บริการ ส่วนใหญ่ มีบุคลิกภาพแบบ เก็บตัว คิดเป็นร้อยละ 34.8 ในขณะที่ผู้ใช้บริการที่มีบุคลิกภาพแบบแสดงตัว 29.5

            โดยทั่วไปแล้วบุคคลคนหนึ่งจะมีบุคลิกภาพ ทั้ง 2 มิติอยู่ในตนเอง ดังนั้นเมื่อนำบุคลิกภาพในมิติแบบหวั่นไหวทางสภาวะอารมณ์-แบบมั่นคงทางสภาวะอารมณ์ (Scale N) และมิติแสดงตัว-เก็บตัว  (Scale E) มาพิจารณาประกอบกัน จะเกิดเป็นบุคลิกภาพ 4 แบบ บุคลิกภาพแบบอารมณ์มั่นคง-แสดงตัว (stable – extrovert) บุคลิกภาพแบบอารมณ์มั่นคง-เก็บตัว (stable – introvert) บุคลิกภาพแบบอารมณ์หวั่นไหว-แสดงตัว (neurotic – extrovert) บุคลิกภาพแบบอารมณ์หวั่นไหว-เก็บตัว ( neurotic – introvert )  ดังตารางที่ 2.2

ตารางที่ 2.2 จำนวนร้อยละของบุคลิกภาพ ของ ผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

บุคลิกภาพผู้ใช้บริการชาวไทย

จำนวน

ร้อยละ

อารมณ์มั่นคง-แสดงตัว

43

14.2

อารมณ์มั่นคง-เก็บตัว

80

26.5

อารมณ์หวั่นไหว-แสดงตัว

69

22.8

อารมณ์หวั่นไหว-เก็บตัว

110

36.5

รวมทั้งหมด

395

100

            จากตารางที่ 2.2 พบว่า ผู้ใช้บริการ ที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ส่วนใหญ่มีบุคลิกภาพแบบอารมณ์หวั่นไหว-เก็บตัว คิดเป็นร้อยละ 36.4 รองลงมาเป็นอารมณ์มั่นคง-เก็บตัว อารมณ์หวั่นไหว-แสดงตัว คิดเป็นร้อยละ 26.5,22.8 ตามลำดับ และอารมณ์มั่นคง-แสดงตัว คิดเป็นร้อยละ 14.2

ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับรายการกิจกรรมการให้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

จำนวนผู้ใช้บริการที่เคยเลือกใช้บริการกิจกรรมการให้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง จำแนกตามรายด้านการให้บริการ

รายการกิจกรรมการให้บริการรายด้าน

เคยใช้บริการ

ไม่เคยใช้บริการ

ด้านรักษาโรค

80

26.5

ด้านการฟื้นฟูสภาพ

69

22.8

ด้านการส่งเสริมสุขภาพและความงาม

110

36.5

ด้านการป้องกันโรค

43

14.2

รวมทั้งหมด

395

100

ส่วนที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง

แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ ด้านการบริการ(Service Quality) ด้านบุคลากร (Skill Staff) ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์ (Product Tool &Equipment)ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization &Management Quality) ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม (Ambient)ส่วนสถิติที่ใช้วิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย () และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)

            โดยใช้เกณฑ์ในการวิเคราะห์และแปลผลข้อมูลไว้ดังนี้

            ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 แปลความว่า ระดับมากที่สุด

            ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 แปลความว่า ระดับมาก

            ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.61-3.40 แปลความว่า ระดับปานกลาง

            ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 แปลความว่า ระดับน้อย

            ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 แปลความว่า ระดับน้อยที่สุด

ตาราง 9แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง โดยรวม

ปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง โดยรวม

S.D.

ระดับความสำคัญ

ด้านการบริการ (Service Quality)

3.92

0.59

มาก

ด้านบุคลากร (Skill Staff)

3.98

0.57

มาก

ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์ (Product Tool & Equipment)

4.06

0.59

มาก

ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization & Management Quality)

3.89

0.62

มาก

ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม (Ambient)

4.14

0.70

มาก

รวม

4.02

0.48

มาก

            จากตาราง 9 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.02) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม (Ambient) ( = 4.14) รองลงมา ได้แก่  ( = 4.11) ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์ (Product Tool & Equipment) ( = 4.06)  ด้านบุคลากร (Skill Staff) ( = 3.98) ด้านการบริการ (Service Quality)  ( = 3.92) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization & Management Quality)   ( = 3.89) ตามลำดับ

ตาราง 10      แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ด้านการบริการ (Service Quality)

ด้านการบริการ

(Service Quality)

จำนวนร้อยละ

S.D.

ระดับความสำคัญ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

1. การให้บริการการใช้น้ำเพื่อสุขภาพ

(เช่น การแช่ตัว การแช่เท้า การอาบน้ำ วารีบำบัด)

88

(22.9)

214

(55.6)

80

(20.8)

3

(0.8)

0

(0.0)

4.01

0.69

มาก

2. การให้บริการโดยการนวด

(เช่น การนวดไทย การนวดน้ำมัน นวดฝ่าเท้า นวดสุขภาพ นวดประคบสมุนไพร นวดรักษาเฉพาะที่)

92

(23.9)

219

(56.9)

68

(17.7)

4

(1.0)

2

(0.5)

4.03

0.71

มาก

3. การบริการที่ใช้ความร้อน

(เช่น อบไอน้ำ อบสมุนไพร)

113

(29.4)

166

(43.1)

81

(21.0)

23

(6.0)

2

(0.5)

3.95

0.89

มาก

4. การให้บริการเสริมอื่นๆ

(เช่น สปาหน้า สปาเท้า ขัดผิว พอกผิว ขัดหน้า พอกหน้า เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ฤๅษีดัดตน ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ)

68

(17.7)

157

(40.8)

121

(31.4)

33

(8.6)

6

(1.6)

3.64

0.92

มาก

5. กระบวนการการให้บริการ

(เช่น เมนูในการใช้บริการสปาเพื่อสุขภาพ มีการกำหนดรายละเอียด เวลาที่ใช้ และราคา ชัดเจน)

84

(21.8)

152

(39.5)

104

(27.0)

37

(9.6)

8

(2.1)

3.69

0.98

มาก

รวม

3.92

0.59

มาก

            จากตาราง 10 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ด้านการบริการ (Service Quality)  โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.92) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความปลอดภัยของที่พัก ( = 4.12) รองลงมา ได้แก่ มีประเภทห้องพักให้เลือกอย่างหลากหลาย ( = 4.03) ชื่อเสียงของโรงแรม ( = 4.01) มีบริการห้องอาหารต่างๆ ที่หลากหลาย ( = 3.95) มีห้องสำหรับจัดประชุม และสัมมนา ( = 3.69) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ มีบริการศูนย์ออกกำลังกาย ( = 3.89) ตามลำดับ

ตาราง 11      แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ด้านบุคลากร (Skill Staff)

ด้านบุคลากร

(Skill Staff)

จำนวนร้อยละ

S.D.

ระดับความสำคัญ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

6. ผู้ให้บริการมีความรู้เฉพาะด้านในแต่ละประเภทที่ให้บริการ

115

(29.9)

194

(50.4)

68

(17.7)

8

(2.1)

0

(0.0)

4.08

0.74

มาก

7. ผู้ให้บริการมีความสุภาพอ่อนน้อม สนใจและเอาใจใส่

105

(27.3)

181

(47.0)

92

(23.9)

5

(1.3)

2

(0.5)

3.99

0.78

มาก

8. ผู้ให้บริการสามารถสื่อภาษาต่างประเทศได้อย่างน้อย 1 ภาษา

81

(21.0)

218

(56.6)

81

(21.0)

5

(1.3)

0

(0.0)

3.97

0.69

มาก

9. ผู้ให้บริการมีความสามารถในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือฉุกเฉินได้

87

(22.6)

196

(50.9)

94

(24.4)

8

(2.1)

0

(0.0)

3.94

0.74

มาก

10. ผู้ให้บริการมีการปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้บริการ ให้ข้อมูล ตอบข้อซักถาม รับข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับการให้บริการและสิ่งอำนวยความสะดวก

119

(30.9)

149

(38.7)

91

(23.6)

23

(6.0)

3

(0.8)

3.93

0.92

มาก

รวม

3.98

0.57

มาก

            จากตาราง 11 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ด้านบุคลากร (Skill Staff) โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.98) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ มีการระบุราคาค่าบริการอย่างชัดเจน และเหมาะสม ( = 4.08) รองลงมา ได้แก่ มีการตั้งราคาห้องพักให้เหมาะสมตามฤดูกาล และตามความต้องการใช้บริการของลูกค้า ( = 3.99) ความหลากหลายของอัตราค่าบริการห้องพัก   ( = 3.97) การกำหนดราคาห้องพักโดยเปรียบเทียบจากที่พักอื่นที่อยู่ในระดับเดียวกัน ( = 3.94) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การไม่คิดค่าบริการ หรือคิดค่าบริการขั้นต่ำ สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่างๆ เช่น อินเตอร์เน็ต ซักรีด เป็นต้น ( = 3.93) ตามลำดับ

ตาราง 12 แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์  (Product Tool & Equipment)

ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์

(Product Tool & Equipment)

จำนวนร้อยละ

S.D.

ระดับความสำคัญ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

11. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้หรือมีไว้จำหน่าย ติดฉลากที่มีรายละเอียดถูกต้อง

82

(21.3)

178

(46.2)

105

(27.3)

18

(4.7)

2

(0.5)

3.83

0.83

มาก

12. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้หรือมีไว้จำหน่ายมีคุณภาพ ปลอดภัย

115

(29.9)

199

(51.7)

67

(17.4)

1

(0.3)

3

(0.8)

4.10

0.74

มาก

13. ผลิตภัณฑ์ที่ใช้หรือมีไว้จำหน่ายบรรจุอยู่ในภาชนะที่เหมาะสม

109

(28.3)

189

(49.1)

82

(21.3)

2

(0.5)

3

(0.8)

4.04

0.77

มาก

14. อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริการ อยู่ในสภาพปลอดภัย พร้อมใช้งาน

152

(39.5)

156

(40.5)

70

(18.2)

5

(1.3)

2

(0.5)

4.17

0.80

มาก

15. อุปกรณ์ที่ใช้ในการบริการ มีการดูแลรักษาความสะอาด

164

(42.6)

137

(35.6)

76

(19.7)

4

(1.0)

4

(1.0)

4.18

0.85

มาก

รวม

4.06

0.59

มาก

            จากตาราง 12 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ด้านการบริการเครื่องมือและอุปกรณ์ (Product Tool & Equipment) โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.06) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ทำเลที่ตั้งของโรงแรมที่อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว ( = 4.18) รองลงมา ได้แก่ ทำเลที่ตั้งของโรงแรมที่สะดวกในการเดินทาง ( = 4.17) ลูกค้าสามารถจองห้องพักผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ( = 4.10) ลูกค้าสามารถจองกับฝ่ายจองห้องพักได้โดยตรง ( = 4.04) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การจัดจำหน่ายห้องพักโดยการผ่านตัวแทน เช่น บริษัททัวร์ ตัวแทนขายของโรงแรม เป็นต้น ( = 3.83) ตามลำดับ

ตาราง 13      แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization & Management Quality)

ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization & Management Quality)

จำนวนร้อยละ

S.D.

ระดับความสำคัญ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

16. มีการจัดแบ่งภาระหน้าที่พนักงาน ที่ชัดเจนตามความรู้ความเชี่ยวชาญที่ถนัด

92

(23.9)

180

(46.8)

109

(28.3)

2

(0.5)

2

(0.5)

3.93

0.77

มาก

17. มีการควบคุมการบริการที่ทันสมัย ครอบคลุมทุกขั้นตอนของงานบริการเพื่อให้เกิดความประทับใจ

92

(23.9)

186

(48.3)

93

(24.2)

14

(3.6)

0

(0.0)

3.92

0.79

มาก

18. โปร่งใส มีจริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมภิบาล มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

89

(23.1)

162

(42.1)

116

(30.1)

17

(4.4)

1

(0.3)

3.83

0.84

มาก

รวม

3.89

0.62

มาก

            จากตาราง 13 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ด้านการบริหารและการจัดการองค์กร (Organization & Management Quality)โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.89) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การจัดแพ็คเกจห้องพักพร้อมบริการอื่นๆ เช่น สปา บริการนำเที่ยว ในราคาพิเศษ ( = 3.99) รองลงมา ได้แก่ การจัดกิจกรรมพิเศษตามเทศกาลต่างๆ ( = 3.98) การโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่างๆ ( = 3.93) การเสนอขายด้วยการมอบส่วนลดแก่ลูกค้า ( = 3.92) การออกบัตรสมาชิกของโรงแรมเพื่อสิทธิประโยชน์ต่างๆ ( = 3.89) การส่งเสริมการขาย เช่น พัก 3 คืน อยู่ฟรีอีก 1 คืน ( = 3.87) มีส่วนลดราคาให้กับหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ( = 3.86) มีส่วนลดราคาให้กับลูกค้าที่อยู่ระยะยาว ( = 3.85) การจูงใจนักท่องเที่ยวโดยใช้พนักงานขาย ( = 3.83) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การแจกของแถมหรือของที่ระลึก ( = 3.74) ตามลำดับ

ตาราง 14      แสดงค่าเฉลี่ย () และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยด้านคุณภาพสถานประกอบการสปาเพื่อสุขภาพที่ผู้ใช้บริการชาวไทยพึงพอใจ ในการมาใช้บริการ ณ ศูนย์สุขภาพเจ้าเรือนสปา อำเภอเมือง จังหวัดระนอง ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม (Ambient)

ด้านสถานที่

และสิ่งแวดล้อม(Ambient)

จำนวนร้อยละ

S.D.

ระดับความสำคัญ

มากที่สุด

มาก

ปานกลาง

น้อย

น้อยที่สุด

19. การตกแต่งสถานที่มีเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และความเป็นธรรมชาติ

141

(36.6)

167

(43.4)

72

(18.7)

5

(1.3)

0

(0.0)

4.15

0.76

มาก

20. บริเวณต้อนรับ แยกออกจากส่วนที่ให้บริการอย่างชัดเจนไม่รบกวนผู้ใช้บริการ

170

(44.2)

129

(33.5)

74

(19.2)

12

(3.1)

0

(0.0)

4.19

0.85

มาก

21. สภาพแวดล้อมที่ดี ไม่แออัด และปราศจากมลภาวะต่างๆ

152

(39.5)

142

(36.9)

85

(22.1)

6

(1.6)

0

(0.0)

4.14

0.81

มาก

22. การเข้าถึงจุดต่างๆของการให้บริการอย่างสะดวก

148

(38.4)

151

(39.2)

77

(20.0)

9

(2.3)

0

(0.0)

4.14

0.81

มาก

23. สถานที่มีความสะอาด มีการดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ

140

(36.4)

153

(39.7)

83

(21.6)

9

(2.3)

0

(0.0)

4.10

0.81

มาก

24.บรรยากาศมี แสงสว่าง ดนตรี และกลิ่น เหมาะสม ตามลักษณะของจุดบริการ

141

(36.6)

167

(43.4)

72

(18.7)

5

(1.3)

0

(0.0)

4.15

0.76

มาก

25.มีตู้ล็อคเกอร์หรือตู้เซฟให้จัดเก็บทรัพย์สินเพียงพอและปลอดภัย

170

(44.2)

129

(33.5)

74

(19.2)

12

(3.1)

0

(0.0)

4.19

0.85

มาก

รวม

4.14

0.70

มาก

            จากตาราง 14 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่นักท่องเที่ยวชาวไทยให้ความสำคัญในการเข้าพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ด้านสถานที่และสิ่งแวดล้อม (Ambient) โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 4.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีระดับความสำคัญอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ พนักงานมีความพร้อม และเต็มใจในการให้บริการเสมอ ( = 4.19) รองลงมา ได้แก่ พนักงานมีความรู้ความสามารถในการให้บริการ ( = 4.15) พนักงานมีความสามารถในการแก้ไขปัญหาเป็นอย่างดี, พนักงานมีจำนวนเพียงพอต่อความต้องการของผู้มาใช้บริการ และสามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง มีค่าเฉลี่ยเท่ากัน ( = 4.14) และส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ พนักงานเข้าใจความต้องการที่แตกต่างกันของผู้มาใช้บริการ ( = 4.10) ตามลำดับ