เฉลย ใบ งาน เรื่อง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์

    ปัจจุบันความรู้ทางวิทยาศาสตร์ก้าวไปมาก จากยุคมืดที่กล่าวว่าโลกแบนจากความเชือแขนงหนึ่ง  แล้วมาทำสงครามหลายร้อยปีตามคำชักชวนของผู้นำสมัยนั้นด้วยสมมติฐานที่ผิดทำให้ไม่สามารถเอาชนะอีกฝ่ายที่มีความก้าวทางวิทยาศาสตร์มากกว่า แล้วกลับไปพัฒนาตนเองเตรียมพร้อมด้วยสมมติฐานที่จริงแท้ก็เอาชนะอีกฝ่ายได้สำเร็จ ขณะอีกฝ่ายยังหลับอยู่

ที่สุดวิทยาศาสตร์ในรอบปี 10อันดับ

1.นักดาราศาสตร์เผยรูปหลุมดำครั้งแรกของโลก

ถือเป็นหลักฐานชัดเจนที่พิสูจน์ว่าหลุมดำมีอยู่จริง ภาพนี้เป็นแสงกลุ่มplasmaที่ขอบฟ้า เหตุการณ์ของหลุมดำมวลยิ่งยวดตรงใจกลางดาราจักร M87 จุดนี้ห่างจากโลก53ล้านปีแสง บันทึกไว้ได้โดยเครือขายโทรทรรศน์ EHTที่ตั้งอยู่ทั่วโลก มีคำถามว่าถ่ายภาพหลุมดำได้หรือไม! คำตอบคือไม่ได้ เพราะว่าเราไม่สามารถถ่ายภาพหลุมดำ ขณะอยู่นิ่งได้เพราะว่าแรงโน้มถ่วงมหาศาลที่ทำให้แสงไม่อาจหลุดรอดออกมาได้ ยกเว้น หากหลุมดำกำลังดูดกลืนมวลสารของดาวอื่นอยู่ เราจะจับความเคลื่อนไหวที่บริเวณขอบฟ้าเหตุการณ์ได้แบบนี้

2.ยานวอยาเจอรเผยความลับของโครงสร้างระบบสุริยะ

ยานวอยาเจอร2 เดินทางผ่านขอบเขตอิทธิพลลมสุริยะ ซึ่งเปรียบเสมือนบริเวณขอบรั่วของระบบดาวเคราะห์ที่เราอาศัยอยู่ ยานได้ส่งข้อมูลการสำรวจแปลกใหม่ที่มนุษย์ไม่เคยล่วงรู้มาก่อนกลับมา ข้อมูลบ่งบอกว่าสภาพแวดล้อมภายในระบบสุริยะกับห้วงอวกาศระหว่างดวงดาวที่อยู่ภายนอกแตกต่างกันสุดขั้ว ทั้งอุณหภูมิและความเข็มของสีคอสมิคแสดงว่าดาวเคราะห์7ดวงอยู่ภายใต้การปกป้องของสนามพลังจากดวงอาทิตย์

3.ทดสอบยารักษาEBOLA สองขนานได้สำเร็จ

คือ REEN-EB3 และMAB114 เป็นยากึ่งฉีดกึ่งวัดซีนทำมาจากAntibodyหลายชนิด ซึ่งเวลาเข้าไปในร่างกายจะทำให้เชื้อEBOLAที่อยู่ในร่างกายผู้ป่วยหมดฤทธิ์ไป ยานี้ช่วยผู้ติดเชื้อใหม่ได้90% โดยยิ่งได้รับยาเร็วโอกาสรอดชีวิตจะยิ่งสูงมากขึ้น

4.ยานเรือใบสุริยะใช้พลังแสงเปลียนวงโคจรได้สำเร็จ

Lightsail หรือเรือใบสุริยะที่ท่องอวกาศไปตามลำแสงของดวงอาทิตย์ได้พัฒนาไปอีกขั้นแล้ว ล่าสุด Lightsail2สามารถเปลียนระดับการโคจรขณะอญู่ในวงโคจรรอบโลกได้สำเร็จโดยใช้ใบเรือสะท้อนอนุภาคของแสฝโฟตอนให้โมเมนตัมที่เกิดขึ้นช่วยขับเคลื่อนยาน 

5.พบฟอสซิลของบรรพบุรุษมนุษย์ร่วมสมัยกับลูซี

ฟอสซิลบรรพบุรุษมนุษย์ที่เก่าแก่หลายล้านปีนี้ นักมนุษย์วิทยาค้นพบกะโหลกศีรษะของมนุษย์สายพันธ์หนึ่งมีความเกี่ยวข้องกับลูซี ค้นพบในเอธิโอเปีย อายุเก่าแก่ถึ่ง3.8ล้านปี เป็นสายพันธ์Australopithecus anamensis ซึ่งเชื้อว่าเป็นต้นสายวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นมาก่อนลูซี สองสายพันธ์นี้อาศัยในยุคเดียวกัน

6.พบน้ำเป็นครั้งแรกบนดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ

นักวิทยาศาสตร์ขององค์การนาซา ตรวจพบน้ำในชั้นบรรยากาศของดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะK2-18bครั้งแรกที่พบ ที่สำคัญเพราะน้ำเป็นองค์ประหนึ่งที่จะทำให้ดาวเคราะห์ดวงนี้มีสภาพเหมาะสมสำหรับการอยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต k2-18bยังโคจรจากดาวฤกธ์ในระยะที่เหมาะสม ทำให้อุณหภูมิพื้นผิวไม่ร้อนหรือหนาวเกินไป

7.ควอนตัมคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพเหนือชั้น

Googleประกาศว่า ซีคามอร์Sycamore ควอนตัมคอมพิวเตอร์ 54cubicที่googleพัฒนาขึ้นเองได้บรรลุถึงขีดความสามารถเหนือชั้นกว่าcomputerใดๆในการประมวลผลหรือที่เรียกกันว่า ควอนตัมสุพรีมาซี สามารถแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ขั้นสูงได้เพียงเวลา3.20 นาทีในขณะที่super computer ของIBMใช้เวลานานถึ่งหมื่นปีเลยที่เดียว IBMแย้งว่า super computer ไม่ได้แย่ขนาดนั้น แต่ยอมรับว่าgoogle มีความก้าวหน้าจริง

8.ยาต้านเชื้อHIVแบบออกฤทธิ์ระยะยาว

ในเร็วๆนี้ผู้ติดเชื้อHIVไม่ต้องกังวลกับการต้องทานยาทุกๆวันแล้ว เพราะยาฉีดชนิดออกฤทธิ์ได้นาน 1เดือน ผ่านการทดลองขั้นต้นในระดับคลินิคแล้ว ยาต้านเชื้อแบบออกฤทธิ์ระยะยาวนี้จะช่วยผู้ป่วยไม่ต้องกินยาทุกวัน และจะช่วยลดการติดเชื้อรายใหม่ด้วย

9.ปฎิกิริยาเย็นยะเยือกที่สุดในจักรวาล

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดสามารถสร้างปฎิกิริยาที่เย็นยะเยือกที่สุดในจักรวาลได้สำเร็จแล้ว โดยเขาทดลองให้โมเลกุลของสารปฎิกิริยาที่อุณหภูมิต่ำสุดๆ500นาโนเคลวินซึ่งเฉียดใกล้อุณหภูมิศูนย์สัมบูรณ์มากๆ สาเหตุที่ปฎิกิริยานี้มีอุณหภูมิต่ำสุดขั้วได้ เพราะนักวิจัยใช้เทคโนโลยีเลเซอร์ยิงกันสวนทางหลายทิศ ลดพลังงานจลน์ของโมเลกุลที่ทำปฎิกิริยากัน จนมันเคลื่อนที่ช้าเหมือนกับสโลซ์โมชัน

10.พบทวีปโบราณที่สูญหายใต้แผ่นดินยุโรป

นักธรณีวิทยาเพิ่งค้นพบทวีปที่8 ซึ่งซ่อนตัวอยู่ใต้ทวีปยุโรปทวีปนี้เรียกว่า Greater adria ซึ่งมุดตัวอยู่ใต้ทวีปยุโรป อยู่แถวประเทศอิตาลี เมื่อ175ล้านปี ทวีปต่างๆเริ่มแยกตัวออกจากทวีปแพนเจีย แผ่นดินเดียวของโลก ทวีปGreater adria ชนและมุดตัวเข้าไปอยู่ใต้พื้นทวีปที่ใหญ่กว่า เลยทำให้เปลือกโลกส่วนหนึ่งยกตัวขึ้นเป็นแนวสูงของทวีปยุโรป อย่างเทือกเขาแอลป์

กลุ่มสาระ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี

หน่วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เทคโนโลยีรอบตัว

ชั่วโมง เทคโนโลยีเกิดขึ้นได้อย่างไร

เรื่อง เทคโนโลยีเกิดขึ้นได้อย่างไร 9 ก.พ. 2564 (มีใบงานและวิดีโอประกอบการสอน)

วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ 1

ใบความร้ทู ี่ 9
เร่ือง ความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีชวี ภาพ
เวลา 3 ชัว่ โมง

หน่วยท่ี 9

9.1 ความหมายของเทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) คือ การใช้ระบบและส่ิงท่ีมีชีวิตเพ่ือพัฒนาหรือสร้าง

ผลติ ภัณฑ์ทม่ี ปี ระโยชน์ หรอื การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีใดๆ ที่ใชร้ ะบบชวี ภาพ
สิ่งท่ีมีชีวิตหรืออนุพันธ์ของสิ่งท่ีมีชีวิตน้ัน เพ่ือสร้างหรือปรับเปล่ียนผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ

สาหรบั การใช้งานเฉพาะอย่าง (อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention
on Biological Diversity): https://th.wikipedia.org/wiki/) ขึ้นอยู่กับเคร่ืองมือและการประยุกต์ใช้งาน
มักจะคาบเกี่ยวกับสาขาท่ีเก่ียวข้องกับวิศวกรรมชีวภาพและวิศวกรรมชีวการแพทย์ ความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยีชวี ภาพ

9.2 ประวตั ิของเทคโนโลยชี วี ภาพ ( History of biotechnology )

เทคโนโลยีชีวภาพ ท่ีเก่าแก่ท่ีสุดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติก็คือ เทคโนโลยีการหมัก
(Fermentation Technology) โดยเมือ่ กอ่ นมกั นาไปใชก้ ับทางดา้ นอาหารและดา้ นการเกษตร

เทคโนโลยีรีคอมบิแนนท์ดีเอ็นเอ (DNA Recombinant Technology) หรือ พันธุ
วิศวกรรม ( Genetic engineering ) เป็นเทคนิคการสร้างโมเลกุลดีเอ็นเอภายในหลอดแก้วโยเช่ือมต่อ
โมเลกุลเอ็นเอจากแหล่งที่แตกต่างกันเข้าด้วยกัน เพ่ือต้องการโคลนยีนที่สนใจหรือสร้างสิ่งมีชีวิตดัดแ ปร
พันธุกรรมให้มีลักษณะตามต้องการโดยแยกดีเอ็นเอท่ีบริสุทธิ์จากเซลล์หรือเน้ือเยื่อ ตัดช้ินส่วนดีเอ็นเอที่
ต้องการดว้ ยเอมไซม์ตัดจาเพาะ นาช้นิ ส่วนดีเอ็นเอท่ีตัดไดเ้ ชื่อมต่อกับโมเลกุลดเี อ็นเอขนาดเล็กทท่ี าหน้าที่

งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ 2

เปน็ ตัวนาหรอื เวกเตอร์ (vector) ซง่ึ อาจใช้โครโมโซมของไวรสั หรือโครโมโซมของแบคทเี รียท่ี
เรียกวา่ พลาสมดิ (plasmid)ชน้ิ ส่วนดเี อ็นเอทีเ่ ชือ่ มตอ่ แล้ว คือ โมเลกุลดีเอ็นเอลูกผสม (recombinant DNA
molecule)

9.3 เทคโนโลยที าง DNA

9.3.1 พันธุวศิ วกรรม (genetic engineering)
พันธุวิศวกรรม เป็นเทคนิคการสร้าง DNA หรือ รีคอมบิแนนท์ DNA (recombinant DNA) เพื่อให้

ได้ส่งิ มชี ีวติ ท่มี ลี กั ษณะตามตอ้ งการ ซงึ่ เทคนิคนี้ไดร้ ับการพัฒนาอย่างรวดเร็วภายหลังจากการค้นพบเอนไซม์
ในแบคทีเรียที่สามารถตัดสาย DNA บริเวณที่มีลาดับเบสจาเพาะ ที่เรียกว่าเอนไซม์ตัดจาเพาะ (restriction
enzyme) และสามารถเชื่อมสาย DNA ท่ีถูกตัดแล้วมาต่อกันได้ด้วยเอนไซม์ DNA ไลเกส (DNA ligase
enzyme) ทาให้นักวิทยาศาสตร์สามารถออกแบบรูปแบบของ DNA สายผสมได้ หากทราบตาแหน่งหรือ
ลาดับเบสในตาแหนง่ ของเอนไซม์ตดั จาเพาะชนิดตา่ ง ๆ

1) เอนไซม์ตดั เฉพาะ

งานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ 3

เอนไซม์ตดั จาเพาะ ลาดับเบสทเี่ ปน็ ตาแหนง่ ที่ตัด และผลผลติ จากการตัดของเอนไซม์

1) การเชื่อมตอ่ สาย DNA ดว้ ยเอนไซม์ DNA ไลเกส

จากการตัดสาย DNA ของสง่ิ มชี วี ติ ต่างชนิดกนั จะนามาเช่ือมต่อกันไดด้ ว้ ยเอนไซม์ DNA ไลเกส ซึ่ง
สามารถเร่งปฏิกิริยาการสร้างพันธะโคเวเลนต์ระหว่างสองโมเลกุลของ DNA ให้เช่ือมต่อกันได้ จากการตัด
และการเชื่อมตอ่ สาย DNA นี้ ทาให้เกิดสาย DNA สายผสมขนึ้

งานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต 4

9.3.2 การโคลนยีน (genes cloning)
1) การโคลนยีนโดยอาศยั พลาสมดิ ของแบคทีเรยี

2) การโคลนยีนในหลอดทดลองโดยเทคนิค พอลเิ มอเรสเชนรีแอกชัน หรอื พีซีอาร์
1. DNA แม่แบบ ซ่งึ เปน็ ส่วนของ DNA ที่ตอ้ งการโคลน
2. ไพรเมอร์ (primer) เปน็ DNA สายสนั้ ๆ ท่จี ะเกาะกับส่วนของ DNA ทีต่ อ้ งการ เพื่อเป็นจดุ เริ่มต้นของการ
สรา้ งสาย DNA
3.นวิ คลโี อไทด์ทั้ง 4 ชนดิ
4.DNA พอลิเมอเรส

เคร่อื งมอื ท่ีเรียกวา่ "เทอร์มอไซเคลอร์”

งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ 5

นกั วทิ ยาศาสตรส์ ามารถถอดรหสั ดีเอน็ เอของแมมมอธไดจ้ ากขนของมนั จากการค้นพบคร้ังนที้ าให้
เชื่อวา่ เลอื ดของแมมมอธจะไมแ่ ขง็ ตัวในสภาพอากาศหนาวเย็นจดั เพ่ือให้ความอบอ่นุ แก่รา่ งกายของมัน และ
อณุ หภมู ิในบริเวณแหลง่ ท่คี น้ พบซากแมมมอธตวั นี้อยู่ที่ -7 ถงึ -10 องศาเซลเซยี ส
9.3.3 การศึกษาจโี นม (genome)

รหัสพนั ธุกรรมมนษุ ย์ที่เรียกว่า “จีโนม” หรอื “human genome”
ลกั ษณะของรหัสพันธกุ รรม ส่วนหนงึ่ ของจีโนมมนุษย์ ท่ีอยู่บนโครโมโซมต่างๆ ในเซลล์ (ลกู ศรแสดง
ภาพขยายแสดงรหัสพนั ธุกรรม ที่ประกอบกนั ภายในเซลล์ ซ่งึ เป็นหน่วยเล็กท่ีสุดของร่างกาย)

โครงการจีโนมมนษุ ย์

งานพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ิต 6

9.4 จีเอม็ โอ (GMOs : Genetically Modified Organisms)

งานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ 7

9.4.1 ประโยชนข์ อง จเี อม็ โอ (Benefits of GMOs)

1) ประโยชนท์ างด้านการเกษตร

- ทาใหเ้ กิดพชื ทใ่ี ห้ผลผลิตมากขนึ้ เช่น ผลมีขนาดใหญ่ขึน้ มปี รมิ าณมากข้นึ มีน้าหนักมากขึ้น
- ทาให้เกิดพืชที่มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม โดยทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศท่ีไม่เอ้ือต่อการ
เพาะปลูกหรอื เจรญิ เตบิ โตของพืช ทนตอ่ ดินเคม็ ทนตอ่ ดินเปรี้ยว เป็นตน้
- ทาให้เกิดพืชท่ีทนต่อศัตรูพืช เช่น พืชท่ีทนต่อเชื้อไวรัสท่ีก่อให้เกิดโรคพืช พืชท่ีทนต่อเชื้อราที่
ก่อให้เกิดโรคพืช พืชท่ีทนต่อแบคทีเรียท่ีก่อให้เกิดโรคพืช ทนต่อแมลงศัตรูพืช หรือแม้แต่ทนต่อยาฆ่าแมลง
และทนตอ่ ยาปราบวชั พชื
- เมื่อทาให้พชื ลดการใชส้ ารเคมี พิษจากสารเคมีท่ีกอ่ ให้เกิดอนั ตรายต่อเกษตรกรก็ลดลง
- ทาใหเ้ กดิ พืชทมี่ ีผลผลิตทส่ี ามารถเกบ็ รกั ษาเป็นเวลานาน และอยู่ได้นาน ทาให้ข้ันตอนในการขนส่ง
สามารถขนส่งในระยะไกลโดยไม่เน่าหรือเสีย เช่น มะเขือเทศท่ีถูกทาให้สุกช้า หรือถึงแม้จะสุกแต่ก็ไม่งอม
เน้อื ยังแข็งและกรอบ ไม่เละเมอ่ื ไปถึงมือผ้บู รโิ ภค

2) ประโยชน์ต่อผู้บรโิ ภค
- ทาให้เกดิ พชื ผกั ผลไม้ มคี ุณค่าทางโภชนาการเพิม่ มากข้ึน เช่น ทาใหม้ ะเขือเทศมวี ติ ามินอีมาก

ข้ึน ทาใหส้ ้มหรอื มะนาวท่มี วี ิตามินซเี พิ่มมากขึ้น ทาใหก้ ล้วยมีวิตามนิ เอเพิ่มขน้ึ เป็นตน้
- ทาใหล้ ดการขาดแคลนอาหารได้ เน่ืองจากการปรับปรงุ พันธ์ุให้มผี ลผลิตและความตา้ นทานต่างๆมากขึ้น
ทาใหม้ ผี ลผลิตที่เพิ่มมากข้ึน ทาใหส้ ม้ หรอื มะนาวท่ีมีวิตามินซีเพม่ิ มากข้ึน ทาให้กลว้ ยมีวิตามินเอเพ่ิมข้ึน เป็น
ตน้

3) ประโยชนด์ า้ นการพาณิชย์
- ลดขั้นตอนและระยะเวลาของการผสมพนั ธุ์พืช ซ่ึงหากช่วงชีวติ ของพืชที่ต้องการปรบั ปรงุ พันธ์ดุ ว้ ย

วธิ เี ดิมยาวนานกว่าจะได้ผลและตอ้ งทาการคัดเลือกพนั ธ์ุอยหู่ ลายครง้ั การทา GMOs ทาให้ข้นั ตอนนี้เรว็ และ
แมน่ ยายิง่ ข้นึ กวา่ เดมิ มาก

งานพัฒนาหลกั สูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต 8

- ทาให้เกิดพืชพันธ์ุใหม่ๆ ท่ีมีประโยชน์ในการพาณิชย์ เช่น ดอกไม้หรือพวกไม้ประดับท่ีมีรูปร่าง
แปลกกว่าเดิม มีขนาดใหญ่กว่าเดิม มีขนาดใหญ่กว่าเดิม สีสันแปลกไปจากเดิม เช่น กุหลาบสีน้าเงิน หรือมี
ความคงทนกวา่ เดมิ

4) ประโยชน์ต่อดา้ นการอุตสาหกรรม
- หากทาพชื GMOs ให้สามารถลดการใช้สารเคมี และช่วยให้มผี ลผลิตมากขึ้นกว่าเดิม ทาใหต้ น้ ทุน

การผลติ ลดตา่ ลงและเวลาทีใ่ ชก้ ็ลดลงดว้ ย วัตถุดิบที่ไดม้ าจากภาคการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด แกลบ กากถ่ัว
เหลือง อาหารสตั ว์ จงึ มีราคาถกู ลง

- มี GMOs หลายชนดิ ท่ีไมใ่ ช่พชื ทีใ่ ช้กนั อยู่ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น เอนไซม์ท่ใี ช้ในการผลติ น้า
ผกั ผลไม้ หรือ เอนไซม์ ไคโมซิน (Chymosin) ท่ีใช้ในการผลิตเนยแข็งเป็นผลติ ภัณฑ์ท่ไี ด้จาก GMOs และ
ทามาเป็นเวลานานแล้ว ทาให้ลดทัง้ ต้นทุนการผลติ และเวลาที่ต้องใช้ลง

5) ประโยชน์ต่อดา้ นการแพทย์
- การผลิตวคั ซีน หรือยาชนดิ ต่างๆ ในอตุ สาหกรรมยาปจั จุบันนี้ลว้ นแล้วแต่ใช้ GMOs ชว่ ย

แทบท้งั สิน้ อีกไมน่ านนี้ เราอาจมีนา้ นมววั ทมี่ สี ่วนประกอบของฮอร์โมนหรือตวั ยาท่จี าเปน็ ต่อมนุษย์
- ช่วยลดการขาดแคลนยาหรอื วัคซนี ได้มากขน้ึ เพราะ GMOs สามารถช่วยเพิ่มการผลติ สงิ่ เหลา่ น้ี

ให้เพ่มิ ขนึ้ ได้

งานพัฒนาหลักสตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต 9

6) ประโยชน์ต่อด้านสง่ิ แวดล้อม

- หากทาพืช GMOs ให้สามารถป้องกนั ศตั รูพืชไดเ้ อง จานวนการใช้สารเคมชี นดิ ตา่ งๆเพื่อ
การปราบศัตรูพชื กจ็ ะลดนอ้ ยลงจนอาจถงึ ไมต่ ้องใชเ้ ลยก็ได้ ทาให้มลภาวะตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มท่เี กดิ จากสารเคมี
ลดลง

– ก่อให้เกดิ ความหลากหลายทางชีวภาพมากข้ึน เน่อื งจากยีนทีม่ กี ารแสดงออกท่ีมี
ประโยชน์ถกู เลือกให้รบั โอกาสในการแสดงออกในสง่ิ มีชวี ิตหลากหลายชนิดมากข้นึ

9.4.2 ขอ้ เสยี หรือผลเสียของ จีเอม็ โอ (Disadvantages of GMOs)

1) ปญั หาดา้ นของความเส่ียงต่อผบู้ ริโภค
2) ปญั หาด้านของความเสี่ยงตอ่ สิ่งแวดล้อม
3) ปัญหาดา้ นของเศรษฐกิจและสังคม

9.5 การโคลนนง่ิ (Cloning)
การโคลนน่ิง หมายถึง กระบวนการผลิตประชากรที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกันซึ่งเกิดข้ึนใน

ธรรมชาติเมื่อส่ิงมีชีวิต เช่น แบคทีเรีย แมลง หรือ พืช สืบพันธ์ุโดยไม่อาศัยเพศ การโคลนในทาง
เทคโนโลยชี ีวภาพ หมายถงึ กระบวนการท่ีใช้ในการสร้างสาเนาส่วนดีเอ็นเอ (การโคลนโมเลกุล), เซลล์ (การ
โคลนเซลล์) หรือส่ิงมีชีวิต หรืออาจกล่าวได้ว่า การโคลนน่ิง (Cloning) คือ กระบวนการสืบพันธ์ุโดยไม่อาศัย
เพศชนิดหนึ่ง โดยส่ิงมีชีวิตท่ีถูกโคลนออกมาจะมีลักษณะทางพันธุกรรม โดยรวมถึงมีลักษณะทางกายภาพ
เหมือนกบั สิ่งมีชวี ติ ตน้ แบบ หรือ สงิ่ มชี วี ติ ทมี่ ีอยกู่ อ่ นแลว้ ทกุ ประการ

ขนั้ ตอนการโคลนนิ่งแกะ “ดอลล่ี”

งานพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ 10

9.5.1 ขอ้ ดขี องการโคลนนงิ่ (Advantages of Cloning)
- เพม่ิ จานวนพนั ธ์ุสตั ว์และพันธพุ์ ชื หายากยาก
-จานวนสตั ว์ท่ีมีลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมท่ีดี
- เพิม่ จานวนสตั วท์ ่ไี ด้มีการปรบั ปรุงลกั ษณะทางพันธุกรรม
-ผลิตอวัยวะของสตั วท์ มี่ ีลกั ษณะเหมอื นกนั เพ่ือทจ่ี ะใช้ในการย้ายฝาก
-ปลูกถ่ายทดแทนอวยั วะของมนษุ ย์
-ชว่ ยใหน้ กั วิทยาศาสตรเ์ ขา้ ใจกลไกการทางานของยนี (gene)มากขน้ึ

9.5.2 ข้อเสยี ของการโคลนน่งิ (Disadvantages of Cloning)
- การโคลนนง่ิ (cloning) ทาใหเ้ กดิ ความไมเ่ ป็นเอกลกั ษณ์ของสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี ปน็ ตัวตน้ แบบ
- การโคลนน่งิ (cloning) ทาใหเ้ กดิ การขาดความหลากหลายทางชีวภาพ
- การโคลนน่งิ (cloning) อาจทาให้การพัฒนาสายพนั ธ์ุทีด่ นี ้อยลงเพราะมลี กั ษณะเหมือนกันไปหมด

ไม่เปล่ียนแปลง
- การโคลนน่ิง (cloning) อาจทาให้มีวิวัฒนาการลดลงและอาจลดความอยู่รอดของเผ่าพันธ์ุได้

เน่ืองจากมีความเหมอื นกันเป็นจานวนมาก
- การโคลนน่ิง (cloning) มนุษย์ยังมีปัญหาด้านจริยธรรม เช่น อย่างในกรณีการปลูกถ่ายทดแทน

อวัยวะของมนุษย์เพราะต้องทาการโคลนน่ิง(cloning)คนท่ีเหมือนกันออกมาแล้วนาอวัยวะของโคลนนั้นมา
ปลกู ถา่ ยแทนที่อวยั วะคนท่เี ป็นตน้ แบบ ซ่งึ ทาใหค้ นท่ีถูกโคลนออกมามีอวยั วะไม่ครบ

- การโคลนนงิ่ (cloning) มปี ัญหาในทางด้านกฎหมายในการพิสูจน์จาแนกผู้กระทาผิดในคดีต่าง ๆ
โดยใช้ตรวจดีเอ็นเอ (DNA) เหมือนกับคนต้นแบบทาให้ยากท่ีจะจาแนกได้ว่าคนท่ีเป็นต้นแบบหรือโคลนเป็น
ผ้กู ระทาผิด หรอื แม้แต่ลักษณะรปู รา่ งหน้าตาท่ีเหมอื นกันอาจทาให้พยานระบุผิดคน เปน็ ต้น

- การโคลนน่ิง (cloning) ท่ีหากเกิดคัดสายพันธ์ุท่ีเป็นต้นแบบในการโคลนน่ิง (cloning) ผิดหรือมี
ลักษณะทไี่ ม่ดีตามคาดอาจมผี ลเสยี อนื่ ตามมาทหี ลงั ได้

งานพัฒนาหลักสตู รการเรยี นการสอน วทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ 11

9.6 การพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพในประเทศไทย
การพฒั นาเทคโนโลยีชวี ภาพสาขาเกษตรและอาหาร

งานพัฒนาหลักสูตรการเรยี นการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต 12

พฒั นาปจั จัยการผลิต

งานพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ 13

การสรา้ งมลู คา่ เพ่ิม

งานพฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต 14

วคั ซีน

งานพฒั นาหลกั สตู รการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 15

อาหารเสริมสุขภาพ

งานพฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ 16

9.6..3 การพัฒนาเทคโนโลยชี ีวภาพสาขาพลังงานชีวภาพ
1. การผลิตกา๊ ซชวี ภาพจากนา้ เสียและของเสยี
2. เอทานอลจากวสั ดุเซลลโู ลสกิ (Cellulose)
3. ไบโอดีเซลจากสาหรา่ ย

งานพัฒนาหลกั สูตรการเรียนการสอน วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ ,2563

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 17

งานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563

วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 18

งานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ,2563