แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบทดสอบภาวะซึมเศร้า PHQ-9

โปรดใส่คะแนนให้ตรงกับคำตอบของท่าน

(เกณฑ์ให้คะแนน : ไม่เลย = 0, มีบางวันหรือไม่บ่อย = 1, มีค่อนข้างบ่อย = 2, มีเกือบทุกวัน = 3)

ในช่วง 2 สัปดาห์ ที่ผ่านมา ท่านมีอาการดังต่อไปนี้บ่อยแค่ไหน?

หมายเหตุ

แบบประเมินนี้พัฒนาจาก แบบสอบถามสุขภาพผู้ป่วย (Patient Health Questionnaire: PHQ-9) ศ. นพ.มาโนช หล่อตระกูล และคณะ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี การประเมินนี้เป็นการประเมินระดับภาวะซึมเศร้าในขั้นต้น ส่วนการวินิจฉัยนั้นจำเป็นต้องพบแพทย์เพื่อซักประวัติ ตรวจร่างกาย รวมถึงส่งตรวจเพิ่มเติมที่จำเป็น เพื่อยืนยันการวินิจฉัยที่แน่นอน รวมถึงเพื่อแยกโรคหรือภาวะอื่น ๆ เนื่องจากภาวะซึมเศร้าเป็นจากสาเหตุต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น โรคทางจิตเวชอื่นที่มีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย โรคทางร่างกายเช่นโรคไทรอยด์ โรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือเป็นจากยาหรือสารต่าง ๆ

ผลการประเมินและคำแนะนำที่ได้รับจากโปรแกรมนี้จึงไม่สามารถใช้แทนการตัดสินใจของแพทย์ได้ การตรวจรักษาเพิ่มเติมหรือการให้ยารักษาขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแพทย์และการปรึกษากันระหว่างแพทย์และตัวท่าน

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

สำหรับ เด็กและวัยรุ่น

คำชี้แจงสำหรับการใช้เครื่องมือประเมินโดย เด็กและวัยรุ่น

  • แบบประเมินเหล่านี้ใช้เพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ไม่ใช่การวินิจฉัยโรค
  • ผลการประเมินจะมีความถูกต้องเมื่อน้องๆตอบตามความเป็นจริง
  • อย่าใช้เวลาในการตอบแต่ละคำถามนานเกินไป พยายามตอบทันทีที่อ่านคำถามและคำตอบเสร็จ
  • ผลการประเมินจะสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมของตัวน้องๆ ในช่วงเวลาที่ทำการประเมิน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ (การทำแบบประเมินซ้ำ ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ควรมีระยะเวลาห่างจากครั้งที่ผ่านมาอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินจุดแข็ง และจุดอ่อน (SDQ)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินประสบการณ์ การดื่มสุรา สูบบุหรี่ การใช้สารเสพติด (WHO assist)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (Thai youth checklist : TYC)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินซึมเศร้าสำหรับวัยรุ่น (CES-D)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินเสี่ยงฆ่าตัวตาย (T-Suicide)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบทดสอบพฤติกรรมติดเกม (GAST)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

ชุดคำถามการสำรวจพฤติกรรมสุขภาพวัยรุ่น (BSS) กรมควบคุมโรค

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (PHQ-A)

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบประเมินทักษะชีวิตวัยรุ่นไทยอายุ 10-19 ปี

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบวัดภาวะซึมเศร้า Center for Epidemiological Studies-Depression Scale (CES-D) ฉบับภาษาไทย

ศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอุมาพร  ตรังคสมบัติ  ภาควิชาจิตเวชศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ผู้พัฒนา แบบประเมินนี้ใช้เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กตอบแบบประเมินด้วยตนเอง (Self-report) ประกอบด้วยคำถาม 20 ข้อ ซึ่งเกี่ยวกับอาการซึมเศร้าในระยะเวลา 1 สัปดาห์ที่ผ่านมา ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 4 ระดับ คือไม่เคย นาน ๆ ครั้ง บ่อย ๆ ตลอดเวลา ทุกข้อให้เลือกเพียงคำตอบเดียว ตัวเลือกเกี่ยวกับความรุนแรงหรือความถี่ของอาการซึมเศร้ามี 4 ระดับ คือ

ไม่เคย                       (<1 วัน)                   คะแนนเท่ากับ   0

นาน ๆ ครั้ง                 (1-2 วัน)                  คะแนนเท่ากับ   1

บ่อย ๆ                       (3-4 วัน)                  คะแนนเท่ากับ   2

ตลอดเวลา                 (5-7 วัน)                  คะแนนเท่ากับ   3

กรุณากรอกข้อมูลเบื้องต้นตามความเป็นจริง

แบบทดสอบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น

คำชี้แจงสำหรับการใช้เครื่องมือประเมินโดย เด็กและวัยรุ่น

  • แบบประเมินเหล่านี้ใช้เพื่อประเมินตนเองเบื้องต้น ไม่ใช่การวินิจฉัยโรค
  • ผลการประเมินจะมีความถูกต้องเมื่อน้องๆตอบตามความเป็นจริง
  • อย่าใช้เวลาในการตอบแต่ละคำถามนานเกินไป พยายามตอบทันทีที่อ่านคำถามและคำตอบเสร็จ
  • ผลการประเมินจะสะท้อนอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรมของตัวน้องๆ ในช่วงเวลาที่ทำการประเมิน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้(การทำแบบประเมินซ้ำควรมีระยะเวลาห่างจากครั้งที่ผ่านมาอย่างน้อย 6 เดือนขึ้นไป)

แบบทดสอบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น

>>> เริ่มทำแบบประเมิน <<<

แบบประเมินสุขภาพจิตวัยรุ่น

แบบทดสอบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น