Organ of corti พบได ในอว ยวะใด ม ความสำค ญ

ภแนาวทวาะงสกาูญรเฝเาสรียะวกัง ปาอรงไกดัน ย ินจากเสียงดงั

จากการประกอบอาชีพ

ศนู ยพัฒนาวิชาการอาชวี อนามัยและสงิ่ แวดลอม จงั หวัดสมทุ รปราการ

กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาAธารณสขุ

แนวทางการเฝ้าระวงั ป้องกนั ภาวะสูญเสียการไดย้ นิ จากเสียงดังจากการประกอบอาชีพ

ศนู ย์พัฒนาวิชาการอาชวี อนามัยและส่งิ แวดล้อมจงั หวดั สมทุ รปราการ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ISBN (Ebook) : 978-616-11-4352-7 พมิ พ์ครัง้ แรก : กรกฎาคม 2563 จัดท�ำและเผยแพร่ : ศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดลอ้ ม จังหวดั สมทุ รปราการ กรมควบคุมโรค โทร : 0 2394 0166, 0 2394 7936 โทรสาร : 0 2394 0214 Facebook : ศนู ยพ์ ฒั นาวชิ าการอาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวดั สมทุ รปราการ E- mail address : [email protected]

B

ค�ำนำ�

การดำ� เนนิ งานทางด้านอาชีวอนามัย มีความจำ� เปน็ ต้องใช้ เครอื่ งมอื ทางดา้ นอาชวี สขุ ศาสตรใ์ นการประเมนิ สภาพแวดลอ้ มการทำ� งาน และเครื่องมืออาชีวเวชศาสตร์ในการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงจากการท�ำงาน ทงั้ นอี้ งคป์ ระกอบสำ� คญั ทจี่ ะใหผ้ ลการตรวจวดั มคี วามนา่ เชอื่ ถอื ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ นอกเหนอื จากการใชเ้ ครอ่ื งมอื ทไ่ี ดม้ าตรฐานแลว้ ผใู้ ชเ้ ครอ่ื งมอื จะตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ถงึ เทคนคิ วธิ ีการใช้ การปรับความเท่ียงตรง การแปลผล และการบันทกึ ขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ ง อันจะน�ำไปสู่การด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม ท่ีมีประสิทธิภาพ ส�ำหรับแนวทางฉบับน้ี คณะผู้จัดท�ำเนื้อหาได้ทบทวนเอกสารทั้งใน และต่างประเทศ และประชมุ รับฟงั ขอ้ เสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิจากภาคสว่ นต่างๆ ท่ีมี ความเชย่ี วชาญและประสบการณใ์ นการดำ� เนนิ งานทางดา้ นโสต ศอนาสกิ และดา้ นอาชวี อนามยั ชว่ งระหวา่ ง ปี 2559-2560 และในปี 2561 ศนู ยพ์ ฒั นาวชิ าการอาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน สำ� นกั งานประกนั สงั คมในการจดั พมิ พเ์ นอ้ื หาบางสว่ นในชอ่ื วา่ “แนวทางการตรวจคดั กรอง สมรรถภาพการไดย้ นิ และการจดั ทำ� โครงการอนรุ กั ษก์ ารไดย้ นิ ” จากนน้ั ในปี 2562-2563 ได้ปรับเนื้อหาบางส่วนท่ีเหลือให้ทันสมัย สอดคล้องกับกฏหมาย และมาตรการท่ีมี ในปจั จบุ นั จนเปน็ แนวทางฉบบั สมบรู ณท์ ่ีมเี นอ้ื หาครบฉบับน้ี ศนู ย์พฒั นาวิชาการอาชวี อนามัยและสิง่ แวดลอ้ ม จงั หวัดสมุทรปราการ ขอขอบคุณ ผทู้ รงคุณวุฒทิ กุ ท่านที่ร่วมจัดทำ� เนอื้ หา และรว่ มให้ข้อเสนอแนะทางวิชาการทเ่ี ปน็ ไปได้ ในทางปฏิบัติ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแนวทางฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อแพทย์ พยาบาล และนักวิชาการท่ีเกี่ยวข้องสามารถน�ำไปใช้ในการด�ำเนินงานจัดบริการอาชีวอนามัย เพื่อเฝ้าระวังสุขภาพผู้ที่มีความเส่ียงท่ีจะเกิดการสูญเสียการได้ยินจากการสัมผัสเสียงดัง จากการประกอบอาชพี ไดต้ อ่ ไป

คณะผจู้ ัดท�ำ มีนาคม 2563

C

D

สารบัญ

1 สถานการณ์และความเป็นมาของภาวะสูญเสียการได้ยิน 1

บทที่ จากเสยี งดงั จากการประกอบอาชีพ 1 3 1.1 ความเปน็ มาและความสำ� คญั 1.2 สถิตภิ าวะการสูญเสียการไดย้ นิ จากเสียงดังจากการประกอบอาชีพ 11

2บทที่ ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั จากการประกอบอาชพี 11 13 2.1 ธรรมชาติของเสยี ง 25 2.2 หแู ละกลไกการได้ยิน 26 2.3 ภาวะสูญเสียการได้ยนิ จากเสยี งดงั ในท่ีท�ำงาน 2.4 ลักษณะภาวะสญู เสยี การได้ยนิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน 35 (characteristics of ONIHL) 36 2.5 ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการเกดิ โรคสญู เสยี การไดย้ ิน 2.6 การตรวจการได้ยนิ (hearing evaluation) และขอ้ จำ� กดั ของกราฟ 41 การไดย้ นิ (limitation of the audiogram) 43 2.7 ประวัตสิ ัมผสั เสยี งดังในโรงงาน (noise exposure history) 47 2.8 ลกั ษณะทางพยาธวิ ทิ ยา (Histopathology of ONIHL) 2.9 ปจั จยั รว่ มในการเกดิ ภาวะ ONIHL (cofactors associated) และปจั จยั นำ� 49 (predisposing factors) 50 2.10 ภาวะประสาทหเู สื่อมที่ไม่ได้เกดิ จากโรคทางกาย (non-organic HL) 52 2.11 ผลกระทบจากเสยี งดงั ดา้ นอนื่ ทไี่ มใ่ ชก่ ารไดย้ นิ (non-auditory effects) 2.12 ตวั อย่างรายงานผู้ปว่ ย

E

3บทที่ การประเมนิ และการตรวจวัดเสียงดงั 55

3.1 ความรูท้ ่ัวไปเกีย่ วกบั เสียง 55 3.2 การรับรูเ้ สยี งของมนษุ ย์ (Psycho-acoustics) 59 3.3 การตรวจวัดเสยี ง 62 3.4 เคร่ืองมือและอุปกรณใ์ นการตรวจวัดเสียง 62 3.5 การปรบั เทยี บความถกู ตอ้ ง (calibration check) 66 3.6 การวัดและการประเมนิ เสยี งในสถานประกอบการ 67 3.7 กฎหมายและมาตรฐานเสยี งดังในสถานประกอบการ 74 3.8 การควบคมุ และการป้องกัน 82 3.9 อปุ กรณป์ อ้ งกนั เสยี งดัง 83 3.10 การเลือกอปุ กรณ์ปอ้ งกันเสยี ง 84

4บทที่ การตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ ิน 89

4.1 ความหมายการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการได้ยนิ 89 4.2 วตั ถปุ ระสงค์ 89 4.3 ข้อแนะน�ำในการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการไดย้ ิน 90 4.4 ขอ้ แนะนำ� ในเรอ่ื งชว่ งเวลาของการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ ิน 90 4.5 การเตรยี มเครอื่ งตรวจสมรรถภาพการไดย้ ิน (audiometer) 91 4.6 การเตรยี มผูร้ บั การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยิน 92 4.7 ห้องท่ใี ชท้ ำ� การตรวจ 93 4.8 แบบบนั ทึกการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการได้ยนิ 94 4.9 วิธกี ารตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ ิน 95

F

4.10 แนวทางการแปลผลการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยนิ 98 ในงานอาชวี อนามยั 102 4.11 การตรวจพน้ื ฐานและการปรบั ผลการตรวจพน้ื ฐาน 103 4.12 การบันทกึ และจัดเก็บผลการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการได้ยิน 103 4.13 การรายงานผลการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ นิ ในระบบ 43 แฟม้

ของกระทรวงสาธารณสุข

5บทที่ การจัดท�ำโครงการอนุรักษ์การไดย้ นิ 107

5.1 ความหมายของโครงการอนุรักษ์การไดย้ ิน 107 5.2 องค์ประกอบของโครงการอนุรักษก์ ารได้ยนิ 108 5.3 รายละเอียดของโครงการอนรุ กั ษก์ ารไดย้ ิน 109 5.4 แบบรา่ งโครงการอนรุ กั ษก์ ารไดย้ นิ (hearing conservation program) 116

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก. การด�ำเนินงานโครงการอนุรักษ์การได้ยินเพื่อดูแลบุคลากร 132 ในโรงพยาบาลกรณีศกึ ษาโรงพยาบาลเจา้ พระยายมราช 140 ภาคผนวก ข. ตัวอย่างแบบฟอร์มซักประวัติก่อนเข้ารับการตรวจคัดกรอง สมรรถภาพการไดย้ ิน 141 142 ภาคผนวก ค. แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการไดย้ นิ ภาคผนวก ง. รายนามผู้ทรงคณุ วฒุ ทิ ี่เขา้ ร่วมประชุมให้ขอ้ เสนอแนะในการ 145

จัดทำ� เน้อื หา รายนามคณะผ้จู ัดทำ� เน้ือหา

G

H

1บทที่

สถานการณ์และความเปน็ มาของภาวะสูญเสยี การได้ยิน จากเสยี งดังจากการประกอบอาชีพ

1.1 ความเป็นมาและความส�ำคญั ภาวะสญู เสียการไดย้ นิ จากเสียงดงั (Noise Induced Hearing Loss : NIHL) คอื ภาวะของการสญู เสยี การไดย นิ แบบถาวร เนอื่ งมาจากการไดย้ นิ เสยี งดงั มากๆ เปน็ เวลานาน โดยระดับเสียงท่ีดังมากๆ จะทําลายเซลลที่บริเวณหูชั้นใน (hair cell) แบบถาวร ไมส่ ามารถแกไ้ ขไดเ้ มื่อเกดิ การสญู เสียการได้ยนิ ไปแลว้ และยงิ่ ระยะเวลาการสมั ผัสเสยี ง ยิ่งนานเทาใดเซลลก็จะถูกทําลายมากข้ึนเทานั้น ทั้งน้ีการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง เป็น 1 ใน 7 โรคจากการท�ำงานท่ีส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม (ปจั จบุ ันคือ กองโรคจากการประกอบอาชีพและสงิ่ แวดลอ้ ม) ด�ำเนนิ การเฝ้าระวัง การสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยใช้หลักการ ควบคมุ ความเสยี่ ง และการเฝา้ ระวงั สขุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง การสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั มีผลกระทบต่อการท�ำงาน การใช้ชีวิตระยะยาวจะมีผลท�ำให้ไม่สามารถสื่อสารได ้ และกลายเป็นคนพิการทางการได้ยินในที่สุด อย่างไรก็ตามผู้ประกอบอาชีพส่วนใหญ ่ ขาดความตระหนกั ขาดความระมดั ระวงั เกย่ี วกบั อนั ตรายของเสยี ง อาจเนอื่ งจากความเคยชนิ หรอื เนอ่ื งจากภาวะเสยี งดงั เปน็ ความผดิ ปกตทิ ร่ี ะยะแรกยงั ไมม่ อี าการทเ่ี หน็ ไดช้ ดั จงึ ทำ� ให้ ลกู จา้ งหรอื ผปู้ ระกอบการไมเ่ กดิ ความตระหนกั ทจี่ ะปอ้ งกนั ดงั นนั้ การเฝา้ ระวงั การสญู เสยี การได้ยินจากเสียงดังจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ โดยเฉพาะในสถานประกอบการที่มีแหล่งก�ำเนิด เสยี งดงั ในกระบวนการท�ำงาน จากสถติ ทิ ่ัวโลกพบว่าร้อยละ 16 - 24 พบการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดงั จาก การประกอบอาชพี และมกี ารสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะ (Disability-Adjusted Life Years : DALY) มากกว่า 4 ล้าน และจากสถติ ขิ องประเทศสหรัฐอเมรกิ าพบการสูญเสียการไดย้ ิน ร้อยละ 11 ของโรคจากการประกอบอาชพี ท้งั หมด นอกจากนีจ้ ากการส�ำรวจ National Health

1

and Nutrition Examination Survey (NHANES) ระหวา่ งปี 1999 ถงึ 2004 ของประเทศ สหรฐั อเมรกิ า พบวา่ ประมาณ รอ้ ยละ 17 ของคนทำ� งานทง้ั หมดจะทำ� งานสมั ผสั เสยี ง ส�ำหรับประเทศไทยได้มีการส�ำรวจใน ปี 2554 โดยการสอบถามเจ้าหน้าท่ี ความปลอดภัยในสถานประกอบการ ท่ีต้ังอยู่ในพ้ืนที่จังหวัดสุพรรณบุรี อุดรธานี สมุทรปราการ ปทุมธานี สมุทรสาคร ชลบุรี สงขลา สุรินทร์ จ�ำนวน 76 แห่ง พบว่า มจี ำ� นวน 54 แหง่ (รอ้ ยละ 71.1) ทพี่ บวา่ มีปัญหาเสยี งดังในสถานทท่ี ำ� งาน โดยสถานประกอบการทม่ี แี หลง่ กำ� เนดิ เสยี งดงั ในกระบวนการทำ� งาน เชน่ การระเบดิ ย่อย โม่ หรือบดหิน การผลิตน้�ำตาลหรือท�ำให้บริสุทธ์ิ การผลิตน้�ำแข็ง การปั่น ทอ โดยใชเ้ ครอ่ื งจกั ร การผลติ เครอ่ื งเรอื น เครอื่ งใชจ้ ากไม้ การผลติ เยอ่ื กระดาษหรอื กระดาษ กจิ การทมี่ กี ารปม้ั หรอื เจยี รโลหะ โรงงานผลติ สงิ่ ทอ โรงงานผลติ อาหาร เครอ่ื งดม่ื โรงงาน ผลติ รถยนต์ โรงงานเครอ่ื งแกว้ เปน็ ตน้ รวมทงั้ กจิ การอนื่ ๆ เชน่ ผขู้ บั เรอื หางยาว เกษตรกร ผลิตเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ส่วนแผนกที่มีเสียงดังในโรงพยาบาล เช่น แผนกโภชนาการ (ตรงจดุ ล้างจาน) จา่ ยกลาง (เป่าสายยางตา่ งๆ) แผนกซอ่ มบ�ำรงุ (งานไม้ งานตัดเหล็ก) ยานยนต์ กายอปุ กรณ์ และสนาม (ตัดหญ้า) เป็นต้น

2

ทงั้ น้ี มาตรฐานระดบั เสยี งในประเทศไทยแบง เป็น 2 ประเภทคอื 1) มาตรฐาน ระดบั เสยี งในสงิ่ แวดลอ มทว่ั ไป ซง่ึ กาํ หนดตามประกาศของคณะกรรมการสงิ่ แวดลอ มแหง ชาติ ฉบับท่ี 15 ได้ก�ำหนดใหระดับเสียงในส่ิงแวดลอมทั่วไปสูงสุดไมเกิน 115 เดซิเบลเอ และคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมงไมเกิน 70 เดซิเบลเอ และ 2) ระดับเสียงในสภาพแวดลอม ของการทํางาน ซึ่งกําหนดตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ปี 2561 เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารตรวจวดั และการวเิ คราะหส์ ภาวะการทำ� งานเกยี่ วกบั ระดบั ความรอ้ น แสงสวา่ ง หรอื เสยี ง รวมทงั้ ระยะเวลาและประเภทกจิ การทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การ ซง่ึ กาํ หนดวา่ คา เฉลีย่ เสยี งใน 8 ชั่วโมงของการทํางาน ตอ งไมเกนิ 85 เดซิเบลเอ (โดยสถานทท่ี ำ� งานท่ี มีระดบั เฉลย่ี ใน 8 ชว่ั โมงของการทํางาน มากกว่าหรือเทา่ กับ 85 เดซิเบลเอ จะตอ้ งมีการ จัดท�ำโครงการอนุรักษ์การได้ยินตามท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐาน ในการบรหิ าร จดั การ และดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการท�ำงานเก่ียวกับความร้อน แสงสวา่ ง และเสยี ง พ.ศ. 2559 1.2 สถติ ิภาวะการสูญเสียการไดย้ ินจากเสยี งดังจากการประกอบอาชีพ 1.2.1 ขอ้ มลู จากกองทุนเงินทดแทน ขอ้ มลู ของกองทนุ เงนิ ทดแทน สำ� นกั งานประกนั สงั คม จดั เปน็ สถติ โิ รคและการบาดเจบ็ จากการท�ำงานท่ีครอบคลุมเฉพาะผู้ประกอบอาชีพที่อยู่ภายใต้สิทธิกองทุนเงินทดแทน ไม่ครอบคลุมแรงงานในกลุ่มข้าราชการ และแรงงานนอกระบบ แต่มีข้อดีคือเป็นข้อมูล ผู้ป่วยท่ียืนยันแล้วโดยได้รับการวินิจฉัยโรคจากการท�ำงาน ภายใต้มติของคณะ อนกุ รรมการแพทยก์ องทนุ เงินทดแทน ข้อมูลสถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทํางาน จากรายงาน ประจ�ำปี 2554 - 2558 ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม พบว่า มีการวินิจฉัยโรคหตู ึงจากเสยี ง ท้งั หมด 98 ราย โดยในปี 2554, 2555, 2556, 2557 และ 2558 มีการวินิจฉยั 12, 28, 42, 13 และ 3 รายตามลำ� ดบั และเมอื่ น�ำขอ้ มูลมาวิเคราะห์ แยกในรายประเภทกิจการ พบว่า กิจการท่ีมีผู้ป่วยโรคหูตึงจากเสียงมากที่สุดได้แก่ ผลติ กระจก เครอื่ งแกว้ หลอดไฟ รองลงมาคอื การปน่ั ทอฯ โดยใชเ้ ครอ่ื งจกั ร รายละเอยี ด ตามตารางที่ 1.1

3

ตารางท่ี 1.1 จำ� นวนผปู้ ว่ ยโรคหตู งึ จากเสยี ง จำ� แนกตามประเภทกจิ การ ปี 2554 - 2558

ประเภทกจิ การ จำ� นวนผูป้ ว่ ยโรคหูตึงจากเสียง (คน) ผลติ กระจก เครอ่ื งแก้ว หลอดไฟ 30 การปนั่ ทอฯ โดยใช้เครอ่ื งจักร 22 ผลติ ช้ินสว่ นอปุ กรณข์ องยานพาหนะ 11 การผลติ น�้ำมนั พืช 4 การผลติ ยางรถยนตฯ์ ลฯ หลอ่ ดอกยาง 3 การผลติ ประกอบ ซ่อมรถยนต์ ฯลฯ 3 การท�ำป่าไม้ เลือ่ ย แปรรปู ไม้ 2 การหล่อหลอม การกลึงโลหะ 2 ผลติ ท่อ โลหะทใ่ี ชใ้ นการสร้าง 2 การผลติ สายเคเบ้ิล สายไฟฟ้า 2 ผลิตซ่อมรถจักรรถพว่ ง อุปกรณ์ 2 การกอ่ สรา้ ง 2 การผลิตผงชูรส 1 การผลติ เคร่อื งดมื่ ถนอมอาหาร 1 การผลติ นำ้� ตาลและทำ� ใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ 1 การผลติ รองเทา้ 1 ผลิตเคร่ืองเรือน เครื่องใชไ้ ม้ 1 การผลติ ผลิตภณั ฑค์ อนกรีตอดั แรง 1 การผลติ ลวด ผลิตภัณฑจ์ ากลวด 1 การเคลอื บ ชุบ อาบ ขัดโลหะ 1 ผลติ ประกอบซ่อมนาฬกิ า ชิน้ สว่ น 1 การผลิตผลติ ภัณฑ์โลหะอืน่ ๆ 1

4

ตารางท่ี 1.1 จำ� นวนผปู้ ว่ ยโรคหตู งึ จากเสยี ง จำ� แนกตามประเภทกจิ การ ปี 2554 - 2558 (ตอ่ )

ประเภทกจิ การ จ�ำนวนผปู้ ่วยโรคหตู ึงจากเสยี ง (คน)

การซ่อม การบำ� รุงรักษาอากาศยาน 1

ขนสง่ สินคา้ ผู้โดยสารทางรถยนต์ 1

การให้เช่า ตวั แทน นายหนา้ ฯลฯ 1

รวม 98

เมอ่ื นำ� ขอ้ มลู มาวเิ คราะหแ์ ยกตามอายุ พบวา่ ผปู้ ว่ ยโรคหตู งึ จากเสยี งพบมากทส่ี ดุ ในช่วงอายุ 40 – 49 ปี มากสุด รองลงมาคอื อายุ 30 – 39 ปี

ตารางที่ 1.2 จำ� นวนผู้ปว่ ยโรคหตู งึ จากเสียง จำ� แนกตามชว่ งอายุ ปี 2554 - 2558

อายุ จ�ำนวนผ้ปู ่วยโรคหูตงึ จากเสียง (คน) 20 - 29 ปี 12 30 - 39 ปี 22 40 - 49 ปี 30 50 - 59 ปี 21 60 ปี ข้ึนไป 13 98 รวม

1.2.2 ข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวง สาธารณสขุ ขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยโรคการไดย้ นิ เสอื่ มจากเสยี งดงั ไดจ้ ากระบบคลงั ขอ้ มลู ดา้ นการแพทย์ และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นข้อมูลผู้ป่วยท่ีได้รับการวินิจฉัยจากสถาน พยาบาลว่าเป็นโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมตามรหัส ICD-10TM เป็น H83.3 (สญู เสียการไดย้ นิ จากผลของเสยี งต่อหชู ั้นใน) โดยจะวิเคราะหข์ อ้ มลู ในกลุ่ม

5

ผมู้ สี ทิ ธติ ามหลกั ประกนั สขุ ภาพซง่ึ จำ� แนกสทิ ธิ ณ วนั ทม่ี ารบั บรกิ าร เปน็ ขอ้ มลู ปี พ.ศ. 2562 เฉพาะคนไทยไม่รวมคนต่างดา้ ว และข้อมลู ดังกล่าวไมร่ วมพ้นื ทจี่ ังหวดั กรงุ เทพมหานคร (ประมวลผลวันที่ 17 พฤศจกิ ายน 2562) ในปี พ.ศ. 2562 พบผู้ป่วยโรคประสาทหูเส่ือมจากเสียงดัง จ�ำนวน 836 ราย คดิ เปน็ อตั ราปว่ ยตอ่ ประชากรแสนราย เทา่ กบั 1.82 (ประมวลผลวนั ที่ 9 มถิ นุ ายน 2562) โดยจงั หวดั ชุมพรมอี ัตราปว่ ยสูงสุด (23.38) รองลงมา ไดแ้ ก่ จังหวดั ศรสี ะเกษ (21.10) และขอนแกน่ (7.49) ตามลำ� ดบั รายละเอยี ดตามภาพที่ 1.1

ภาพท่ี 1.1 สถิตโิ รคการได้ยินเสื่อมจากเสยี งดัง ปี 2562 แยกตามจังหวัดทพี่ บสงู สดุ 10 อันดบั แรก

เม่ือแยกตามอายุ พบอัตราป่วยสูงสุด ในกลุ่มวัยแรงงานและวัยเกษียณ รายละเอียดตามภาพที่ 1.2

ภาพท่ี 1.2 จ�ำนวนผูท้ ีเ่ ปน็ โรคการได้ยนิ เส่อื มจากเสียงดงั ปี 2562 แยกตามกลมุ่ อายุ

6

กลมุ่ อาชพี ทพ่ี บผปู้ ว่ ยมากทส่ี ดุ คอื กลมุ่ อาชพี ผปู้ ลกู พชื ไรแ่ ละพชื ผกั ทำ� ไร่ ชาวนา ปลูกข้าว จำ� นวน 393 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.64 รองลงมา ไดแ้ ก่ กลมุ่ คนงานรบั จา้ ง ทวั่ ไป จำ� นวน 175 ราย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 21.21 (รายละเอยี ดจำ� นวนผปู้ ว่ ยโรคการไดย้ นิ เสอื่ ม จากเสยี งดงั ปี พ.ศ. 2562 จำ� แนกตามรหสั กลมุ่ อาชพี 15 อนั ดบั แรก แสดงในตารางที่ 1.3)

ตารางที่ 1.3 จ�ำนวนผปู้ ่วยโรคการได้ยนิ เส่ือมจากเสยี งดงั ปี พ.ศ. 2562 จำ� แนกตามรหัสกลุม่ อาชพี

ลำ� ดบั รหสั กลมุ่ อาชพี และคำ� อธบิ ายรหัสอาชพี จำ� นวน ที่ (คน) 1 6111 : ผู้ปลกู พืชไรแ่ ละพืชผกั , ทำ� ไร,่ ชาวนาปลกู ข้าว 393 2 9622 : คนงานรับจ้างท่วั ไป 175 3 9999 : ไม่มีงานท�ำ 56 4 9000 : นักเรยี น/นักศึกษา 54 5 9001 : แม่บา้ น/พอ่ บ้าน 34 6 5221 : เจ้าของร้านค้า, ตวั แทนจ�ำหน่ายหนงั สือพิมพห์ รอื นติ ยสารต่างๆ 21 7 1112 : ขา้ ราชการระดับอาวโุ ส 16 8 9002 : ในปกครอง 8 9 6112 : ผปู้ ลูกไมย้ ืนต้นและไมผ้ ล, คนงานกรีดยาง, ผูป้ ลกู ยางพารา 7 10 2636 : ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ดา้ นศาสนา 7 11 9003 : ขา้ ราชการบ�ำนาญ 7 12 9005 : ลูกจ้างชว่ั คราว 6 13 5412 : เจ้าหน้าทตี่ ำ� รวจ 5 14 6310 : ผปู้ ฏบิ ัติงานด้านการปลกู พืชเพ่อื การด�ำรงชีพ 5 15 9629 : ผู้ประกอบวิชาชีพงานพน้ื ฐานอ่ืนๆ ซง่ึ มิได้จัดประเภทไวท้ อี่ น่ื 4 พนกั งานประจำ� ลานจอดรถ

7

ตารางท่ี 1.3 จำ� นวนผปู้ ่วยโรคการได้ยนิ เสือ่ มจากเสียงดงั ปี พ.ศ. 2562 จ�ำแนกตามรหสั กลุ่มอาชีพ (ตอ่ )

ล�ำดบั รหัสกลมุ่ อาชพี และคำ� อธิบายรหัสอาชีพ จ�ำนวน ที่ (คน) 16 อาชพี อืน่ ๆ 27 17 ไม่ทราบขอ้ มูลอาชีพ 11 รวม 836

สรปุ ภาวะการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังเป็นปัญหาส�ำคัญทางด้านอาชีวอนามัย เนื่องจากเป็นการเจ็บป่วยที่ไม่สามารถฟื้นคืนกลับมาได้เป็นปกติดังเดิมได้และยังส่งผล ใหค้ ณุ ภาพชวี ติ ของผปู้ ว่ ยลดลง นอกจากผลกระทบตอ่ ตวั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเองแลว้ ยงั สง่ ผลตอ่ ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ การปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั จากการทำ� งานจงึ เปน็ สงิ่ สำ� คญั การจดั ทำ� โครงการอนรุ กั ษก์ ารไดย้ นิ ในสถานประกอบการ ทม่ี รี ะดบั เสยี งทลี่ กู จา้ งไดร้ บั เฉลย่ี ตลอดระยะเวลาการทาํ งาน 8 ชวั่ โมง ตง้ั แต่ 85 เดซเิ บลเอ ขึ้นไป ท่ีมกี จิ กรรม คอื การตรวจระดบั เสียงในสภาพแวดล้อมการท�ำงาน และการตรวจ คดั กรองสมรรถภาพการไดย้ นิ ดงั นน้ั เพอื่ ควบคมุ คณุ ภาพการตรวจวดั ใหถ้ กู ตอ้ งตามหลกั วิชาการ และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน จึงจ�ำเป็นต้องเข้าใจแนวคิด ทฤษฎี แนวทาง การตรวจวดั ซ่ึงจะกลา่ วถึงในบทตอ่ ๆ ไปในแนวทางฉบับน้ี

8

บรรณานุกรม กรมควบคมุ มลพิษ ประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (พ.ศ 2540)

เรือ่ งกำ� หนดมาตรฐานระดบั เสยี งโดยทวั่ ไป เข้าถึงเมื่อวนั ที่ 20 มกราคม 2563 ที่ <http://infofile.pcd.go.th/law/ 2_38_air.pdf? CFID=89370&CFTO- KEN=68529503> กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการตรวจวัด และการวิเคราะห์สภาวะการทํางานเก่ียวกับระดับ ความรอ้ น แสงสวา่ ง หรอื เสยี ง รวมทงั้ ระยะเวลาและประเภทกจิ การทต่ี อ้ งดาํ เนนิ การ เขา้ ถึงเม่ือวนั ท่ี 20 มกราคม 2563 ที่ <http://legal.labour.go.th/ 2018/ images/law/ Safety2554/3/s_1018.pdf> กระทรวงแรงงาน กฏกระทรวง เรอ่ื ง กาํ หนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และดาํ เนนิ การด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางานเก่ียวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสยี ง พ.ศ. 2559 เขา้ ถึงเมื่อวันท่ี 20 มกราคม 2563 ท่ี < http://cste.sut.ac.th/csteshe/wp-content/lews/Law06.pdf> ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม รายงานประจ�ำปี 2554 กองทุน เงนิ ทดแทน เขา้ ถงึ เม่อื วันท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ 2563 ที่< https://www.sso.go.th/ wpr/assets/upload/files_storage/ sso_th/ 2fe261d698127755b5b112 61f258df80.pdf> ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม รายงานประจ�ำปี 2555 กองทุน เงนิ ทดแทน เข้าถงึ เม่ือวนั ที่ 10 กมุ ภาพันธ์ 2563 ท่ี https://www.sso.go.th/ wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/ be6e7f3cff2c0809daa8d1f3 e01270a6.pdf ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม รายงานประจ�ำปี 2556 กองทุน เงินทดแทน เขา้ ถึงเม่อื วันท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ 2563 ท่ี https://www.sso.go.th/ wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/ e13af7d808ea7941addd a331a452 014d.pdf

9

ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม รายงานประจ�ำปี 2557 กองทุน เงนิ ทดแทน เขา้ ถึงเมอ่ื วนั ท่ี 10 กมุ ภาพันธ์ 2563 ท่ี https://www.sso.go.th/ wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/ e80def4bc8ce33ad8d 4722536f524caa.pdf

ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม รายงานประจ�ำปี 2558 กองทุน เงนิ ทดแทน เขา้ ถึงเมอ่ื วนั ท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ 2563 ที่ https://www.sso.go.th/ wpr/assets/upload/files_storage/sso_th/ 4ba3efe6d4859378e39ff- caa5ea3a05a.pdf

สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . โรคประสาทหเู สอื่ มจากเสยี งดงั เขา้ ถงึ เมอื่ 11 ธนั วาคม 2562 ที่ <https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/page.php?cat_ id=f16421e617aed29602f9f09d951cce68>

อรพนั ธ์ อนั ตมิ านนท์ และคณะ สำ� นกั โรคจากการประกอบอาชพี และสง่ิ แวดลอ้ ม รายงาน โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการอาชีวอนามัยเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการ จดั การความเส่ียงและการให้บรกิ ารอาชีวอนามยั 2554

Bureau of Labor, Statistics. Workplace Injuries and Illnesses in 2005. Washington, DC: United States Department of Labor; 2006.

Nelson DI, Nelson RY, Concha-Barrientos M, Fingerhut M. The global burden of occupational noise-induced hearing loss. Am J Ind Med. 2005; 48:446–458

Tak SW, Davis RR, Calvert GM. Exposure to hazardous workplace noise and the use of hearing protection devices among US workers: NHANES, 1999–2004. Am J Indust Med. 2009; 52:358–371.

10

2บทที่

ภาวะสญู เสยี การได้ยินจากเสยี งดงั จากการประกอบอาชพี

2.1 ธรรมชาตขิ องเสียง เสียงมีอิทธิพลต่อมนุษย์เป็นอย่างมากในชีวิตประจ�ำวัน ท�ำให้เกิดภาษาพูด ช่วยถ่ายทอดความรู้ ความคิด ประสบการณ์ ความรู้สึกและอารมณ์ จากผู้พูดสู่ผู้ฟัง เสยี งทเ่ี ราไดย้ นิ มที ง้ั เสยี งสงู เสยี งตำ่� เสยี งดงั เสยี งคอ่ ย แตกตา่ งกนั ไปสามารถบอกไดว้ า่ เปน็ เสยี งของอะไร เสยี งของใครโดยทไ่ี มท่ ราบแหลง่ กำ� เนดิ เสยี ง ซง่ึ เสยี งตา่ งๆ ทเี่ ราไดย้ นิ จากคนพูด จากเครื่องดนตรี หรือเสียงสัตว์ต่างๆ เราบอกได้ว่า มีระดับเสียงสูงหรือต�่ำ ระดบั เสยี งนข้ี นึ้ อยกู่ บั ความถข่ี องเสยี ง โดยเสยี งสงู ทมี่ คี วามถม่ี ากเรยี กวา่ เสยี งแหลมสว่ นเสยี งตำ่� เป็นเสียงท่มี คี วามถน่ี ้อย เรยี กว่า เสียงทมุ้ ลักษณะดงั กลา่ วถอื เปน็ ธรรมชาติของเสียง เสยี ง (sound) เกิดจากการสน่ั สะเทอื นของวตั ถุ พลงั งานทท่ี �ำให้วัตถุส่นั สะเทือน จะท�ำให้โมเลกุลของสารที่มาจากแหล่งก�ำเนิดเสียง (source) เคล่ือนไปในอากาศด้วย การสน่ั สะเทอื น (vibration) มลี กั ษณะเปน็ รปู คลนื่ (wave) โดยความยาวคลนื่ และความถี่ (frequency) ของคลื่นเป็นตัวบอกระดับเสียง (pitch) ซึ่งเสียงท่ีมีความยาวคล่ืน และความถต่ี า่ งกัน โดยเสยี งที่มีความถ่สี งู จะมีระดบั เสยี งสงู สว่ นเสียงท่ีมีความถต่ี ่ำ� จะมี ระดับเสียงต�่ำ ความเร็วเสียง (speed of sound) ข้ึนอยู่กับวัตถุตัวน�ำที่สั่นสะเทือน ความหนาแน่น ความยืดหยุ่น และอุณหภูมิ เสียงไม่สามารถเดินทางผ่านสุญญากาศได้ สามารถเคล่อื นทผี่ า่ นน้ำ� ไม้ โลหะ พลาสตกิ ด้วยความเร็วประมาณ 330 เมตรต่อวินาที (meter/second) ท่ี 0 องศาเซลเซียส ในอากาศทเ่ี ย็นและแหง้ โดยเฉพาะอากาศรอ้ น เสยี งจะยง่ิ เคลอื่ นทไี่ ดเ้ รว็ ขนึ้ และชา้ ลงเมอ่ื อากาศเยน็ และเคลอื่ นทใี่ นนำ�้ เรว็ กวา่ ปกติ 4 เทา่ และในโลหะจะเรว็ กวา่ 15 เทา่ เกดิ การกำ� ธรของเสยี งได้ (resonance) สามารถสะทอ้ นได้ (reflection) การสะทอ้ นของเสยี งจะเร็วหรือชา้ ข้นึ อยู่กบั ชนิดของวัสดุทีเ่ สียงไปกระทบ วัสดุที่มีผิวเรียบจะสะท้อนเสียงได้ดีกว่าวัสดุที่มีรูพรุน ระยะทางและความแรง

11

ของแหลง่ กำ� เนดิ เสยี งมผี ลตอ่ ระยะทางการสะทอ้ นกลบั ของเสยี ง และจะสะทอ้ นไดด้ มี ากขนึ้ ถ้าอากาศมีความช้ืนสูง เสียงถูกดูดกลืนได้ (absorb) หักเหและเปล่ียนทิศทางได้ เช่น จากทิศทางลม อณุ หภูมิ (หกั เหไปทางอากาศทเี่ ย็นกวา่ ) เมอื่ เสียงเกิดขึน้ มนษุ ย์และสัตว์ จะมหี เู ปน็ อวยั วะรบั เสยี ง และชว่ ยในการทรงตวั ของรา่ งกาย ซงึ่ มสี ว่ นประกอบอยหู่ ลายสว่ น สลบั ซบั ซอ้ น และมกี ลไกการทำ� งานตอ่ เนอ่ื งหลายขน้ั ตอน ทำ� ใหเ้ กดิ การไดย้ นิ และสามารถ สอ่ื ความหมายเขา้ ใจซึ่งกันและกนั ได้ เสียงประกอบด้วยคุณสมบตั หิ ลักๆ ดงั น้ี ความยาวคลน่ื (wavelength) เปน็ ตวั บอกระยะทางของพลงั งานเสยี งทเี่ ดนิ ทาง ใน 1 รอบคลื่น ตามหนว่ ยของระยะทาง ความถี่ (frequency) เป็นสิ่งส�ำคัญท�ำให้เราสามารถแยกแยะว่าเสียงต่างๆ ท่ีเราได้ยินนั้นคืออะไร โดยธรรมชาติของมนุษย์สามารถรับรู้ความถ่ีเสียงได้ตั้งแต ่ 20 เฮริ ตซ์ - 20 กโิ ลเฮริ ตซ์ อนั เปน็ เสยี งจากการพดู คยุ ของมนษุ ย์ หรอื จากเครอื่ งดนตรี เปน็ ตน้ ในการรบั รู้ยา่ นของความถ่จี ะแตกต่างกัน ในผู้หญิงและชายหนมุ่ สามารถไดย้ ินท่ีความถี่ สงู สดุ ที่ 20,000 เฮริ ตซ์ หรอื 20 กโิ ลเฮริ ตซ์ สว่ นในวยั กลางคนและผสู้ งู อายจุ ะไดย้ นิ ลดลง หนว่ ยวดั ค่าความถี่ เรียกวา่ เฮิรตซ์ (Hertz : Hz) หมายถงึ จำ� นวนของรอบคล่ืนเสียง (number of cycle) ทเี่ กดิ ขนึ้ ใน 1 วนิ าที และกรณที ข่ี ว้ั คลนื่ ของสญั ญาณ (phase) คลน่ื เสยี ง จากแหล่งก�ำเนิดที่ต่างกัน ถ้าเกิดขึ้นไม่พร้อมกันอาจจะท�ำให้เกิดข้ัวคล่ืนไม่สัมพันธ์กัน (out of phase) ความดงั (amplitude) เปน็ คณุ สมบตั ทิ บี่ อกความสงู หรอื ความแรงของคลน่ื เสยี ง ทเี่ กดิ ขนึ้ จะแปรผนั ตามความเขม้ เสยี ง (intensity) คลน่ื เสยี งทมี่ คี วามดงั สงู กจ็ ะมคี วามเขม้ เสยี งสงู (ปรมิ าณพลงั งานของเสยี งตอ่ หนง่ึ หนว่ ยพน้ื ท)่ี ตามไปดว้ ย คา่ ของความดงั มาก หรอื นอ้ ยเปน็ ตวั บอกระดบั ความดงั เบาของเสยี งทเี่ ราไดย้ นิ มหี นว่ ยวดั เปน็ เดซเิ บลเอ (dBA) ความเขม้ ของเสยี งและเสยี งทเี่ กดิ จากแหลง่ กำ� เนดิ เสยี งตา่ งกนั จะมคี ณุ ภาพตา่ งกนั ไปดว้ ย หขู องคนเราสามารถรบั เสยี งทม่ี คี วามดงั นอ้ ยทส่ี ดุ คอื 0 เดซเิ บล และมากทส่ี ดุ ท่ี 140 เดซเิ บล สเปกตรัม (spectrum) เปน็ การบอกช่วงความถข่ี องเสียงท่เี กิดขึน้ หากเสียง ท่ีเกดิ ขนึ้ มีเพียงความถ่ีเดียวเรยี กว่า เสียงบริสทุ ธ์ิ (pure tone) เป็นเสียงที่เราไมไ่ ดพ้ บ ในชวี ติ ประจำ� วนั เนอื่ งจากเปน็ เสยี งทต่ี อ้ งเกดิ จากเครอื่ งสงั เคราะหเ์ สยี งเทา่ นนั้ ซง่ึ มปี ระโยชน์ อย่างมากในการน�ำมาใช้ในการตรวจสมรรถภาพการได้ยินด้วยเครื่องตรวจการได้ยิน (audiometry) และหากมหี ลายความถเ่ี รยี กวา่ เสยี งผสม (complex tone) ซง่ึ เปน็ เสยี ง ท่ีเราได้ยินในชีวติ ประจำ� วัน

12

ระยะเวลา (duration) หมายถงึ ระยะเวลาทสี่ มั ผสั เสยี งดงั แบบลกั ษณะเสยี ง ตอ่ เน่ือง (continuous-type noise) คอื เสยี งท่ดี ังออกมาตอ่ เนื่องไมว่ า่ จะเป็นลกั ษณะ ติดตอ่ แบบเท่าๆ กนั หรอื แปรปรวนมากบา้ งน้อยบา้ ง หรอื ดังออกมาเป็นระยะๆ กต็ าม และเสยี งกระแทก (impulsive noise) หรือ (impact noise) เป็นเสียงทเ่ี กดิ ขึน้ ดังมาก อย่างทนั ทีทนั ใดและหายไปอย่างรวดเร็ว

2.2 หูและกลไกการได้ยิน 2.2.1 หู (ear) ส่วนประกอบของหูแบ่งออกเป็น 3 ส่วน หลักๆ ประกอบด้วย หชู ้นั นอก (outer ear) หชู ้นั กลาง (middle ear) และหูชั้นใน (inner ear) มีหน้าทีห่ ลัก 2 ประการคอื ทำ� หน้าทเ่ี ป็นอวัยวะรบั เสียงทำ� ใหเ้ กิดการได้ยินขน้ึ (hear the sound) และช่วยในการทรงตัวของรา่ งกาย (assisting balance) หชู ้ันนอก (outer ear) คอื บริเวณตั้งแต่ใบหู (auricle หรือ pinna) มีลักษณะ เป็นแผ่นแบนโค้ง ประกอบขึ้นจากกระดูกอ่อนห่อหุ้มด้วยผิวหนัง ต้ังอยู่บริเวณด้านข้าง ของศีรษะท้ัง 2 ข้าง ท�ำมุมเอนไปด้านหลัง ด้านบนของใบหูจะมีลักษณะเป็นขอบโค้ง (helix) ล่างสุดจะเป็นติ่งนิ่ม เรียกว่า ต่ิงหู (lobule) ท่ีส่วนตรงกลางจะเป็นแอ่งก่อน ทจี่ ะเขา้ สภู่ ายในชอ่ งหเู รยี กวา่ (concha) และสว่ นถดั มากค็ อื ชอ่ งหู (external auditory canal หรอื external ear canal) สว่ นตง้ั แตร่ หู ลู กึ เขา้ ไปภายในศรี ษะสว่ นนจ้ี ะมลี กั ษณะ เปน็ ช่องหรือรทู ่ีมคี วามยาวเฉล่ียประมาณ 2.5 - 3 เซนติเมตร มีความโค้งคล้ายรูปตัวเอส (sigmoid curve) และจะพงุ่ เขา้ สศู่ รี ษะในลกั ษณะจากดา้ นหลงั และดา้ นบน (from behind and above) ไปข้างหน้าและลงด้านลา่ ง (forward and downward) ซง่ึ ผนังของชอ่ งหู ดา้ นนอกจะเปน็ กระดกู ออ่ นประมาณ 2 ใน 3 สว่ น และ 1 ใน 3 ดา้ นในจะเปน็ กระดกู แขง็ ของกะโหลกศรี ษะ ตลอดภายในชอ่ งหบู ดุ ว้ ยผวิ หนงั โดยยง่ิ ลกึ เขา้ ไปผวิ หนงั กจ็ ะยง่ิ บางลง และทผี่ นงั ของชอ่ งหดู า้ นนอก จะมตี อ่ มไขมนั (sebaceous gland) และตอ่ มเหงอ่ื (apocrine sweat gland) คอยทำ� หนา้ ทสี่ รา้ งขห้ี ู (earwax หรอื cerumen) คอื ขห้ี เู ปยี ก (wet type) และขห้ี แู หง้ (dry type) โดยมสี ว่ นประกอบหลกั เปน็ สารเคราตนิ (keratin) ขห้ี คู อยทำ� หนา้ ท่ี ปกป้องผิวหนังหล่อล่ืนภายในช่องหูพาส่ิงสกปรกออกสู่ภายนอกช่องหูและมีคุณสมบัต ิ ฆ่าเชื้อโรค แต่การมีข้ีหูอัดแน่นอยู่ภายในช่องหูมากเกินไป ก็จะส่งผลเสียท�ำให้บดบัง การไดย้ นิ ได้ ดังแสดงในภาพที่ 2.1

13

ภาพที่ 2.1 แสดงลกั ษณะทางกายวภิ าคของหมู นุษย์ ทมี่ า Chittka & Brokmann, 2005 เผยแพรภ่ ายใต้ Creative Commons Attribution License

ลึกเข้าไปภายในช่องหสู ว่ นปลายจะเป็นเยอ่ื แก้วหู (tympanic membrane หรอื eardrum) ส่วนน้ีเป็นส่วนสุดทา้ ยของหูชนั้ นอก มลี กั ษณะเปน็ เยือ่ บางๆ กั้นอยู่ระหว่าง ชอ่ งหกู บั หชู น้ั กลาง หากสอ่ งดจู ากภายในชอ่ งหจู ะเหน็ เยอ่ื แกว้ หมู ลี กั ษณะตงึ กลม สว่ นกลาง รปู รา่ งเปน็ โคนเวา้ เขา้ ไปเล็กนอ้ ยคลา้ ยกบั ลำ� โพงของเครื่องเสยี ง ดังแสดงในภาพท่ี 2.2

ภาพที่ 2.2 แสดงลักษณะปกติของเยอื่ แก้วหู เมอ่ื แพทย์สอ่ งตรวจหู (otoscope) A= สว่ นดา้ มของกระดกู คอ้ น (manubrium of malleus, B=สว่ นปมุ่ ปลายสดุ ของกระดกู คอ้ น (umbo), C=แสงสะทอ้ นจากกลอ้ งสอ่ งตรวจ (cone of light), และ D=เงารางๆ ของกระดกู ทง่ั (long crus of incus)

14

หูช้ันกลาง (middle ear) เป็นบริเวณที่ต่อจากด้านในของเยื่อแก้วหู มีลักษณะ เปน็ โพรงขนาดเลก็ (tympanic cavity) ซง่ึ โพรงนอ้ี ยภู่ ายในกระดกู ขมบั (temporal bone) ภายในโพรงจะเปน็ อากาศ (air) โดยมที อ่ ตอ่ จากส่วนล่างของโพรงของหชู น้ั กลางออกไป ที่หลังจมูก (nasopharynx) ซึ่งเรียกว่าท่อยูสเตเชียน (eustachian tube) มีหน้าท ี่ ปรับความดันอากาศภายในโพรงของหูชั้นกลางให้เท่ากับความดันอากาศภายนอก ซงึ่ ภายในโพรงของหชู นั้ กลางประกอบดว้ ยกระดกู ชน้ิ เลก็ ๆ 3 ชน้ิ (ossicles) คอยทำ� หนา้ ท่ี นำ� เสยี ง กระดกู 3 ชน้ิ นว้ี างตวั ในลกั ษณะเรยี งตอ่ กนั (ossicles chain) เรม่ิ จากกระดกู คอ้ น ตอ่ ดว้ ยกระดกู ทงั่ และลกึ สดุ เปน็ กระดกู โกลน กระดกู คอ้ น (malleus) มสี ว่ นทเี่ ปน็ ดา้ มยาว คล้ายด้ามค้อน (manubrium) ยึดติดอยู่กับเย่ือแก้วหูและส่วนที่เป็นหัวค้อน (head) ตดิ อยกู่ บั สว่ นกลางของกระดกู ทงั่ (incus) ซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ แทง่ ยาว ปลายดา้ นสน้ั (short crus) ตดิ กบั ผนงั ของโพรงหชู นั้ กลาง สว่ นปลายดา้ นยาว (long crus) ตดิ กบั หวั ของกระดกู โกลน สว่ นกระดูกโกลน (stapes) นนั้ อยูล่ ึกสุดมีรปู รา่ งเหมอื นโกลน คอื มีสว่ นหวั และสว่ นคอ จากนั้นแยกออกเปน็ 2 ขา (crura) แล้วมาติดกนั ทส่ี ่วนฐานปลายกระดูก (foot plate) สว่ นปลายฐานกระดกู โกลนนี้ ยดึ ตดิ อย่กู ับเยื่อของรปู ไข่ (oval window) ซึ่งจะตอ่ ไปท่ี หชู ั้นในอกี ที กระดกู ทง้ั 3 ชนิ้ ยดึ ตดิ กนั อยภู่ ายในโพรงของหชู นั้ กลางไดด้ ว้ ยเสน้ เอน็ (ligament) หลายเสน้ จึงท�ำให้ยังสามารถเคลือ่ นไหวส่นั สะเทอื นได้ นอกจากนภี้ ายในหูชั้นกลางยงั มี กล้ามเน้อื สำ� คญั ทยี่ ึดติดอยกู่ บั กระดูก 3 ชิน้ นี้ อีก 2 มัด คอื กล้ามเนอื้ เทนเซอรท์ ิมพาไน (tensor tympani) ซ่ึงยึดติดอยู่กับส่วนด้ามของกระดูกค้อนและกล้ามเนื้อสเตปีเดียส (stapedius) ซงึ่ ยึดติดอยูก่ ับส่วนคอของกระดกู โกลน หูชั้นใน (inner ear) เป็นช้ันท่ีอยู่ลึกท่ีสุด คืออยู่ภายในส่วนลึกของกระดูกขมับ แบ่งออกเป็น 2 สว่ นย่อย คอื สว่ นท่ี 1 คอื สว่ นทอ่ รปู ครงึ่ วงกลม (semicircular canals) ซง่ึ เปน็ ทอ่ รปู ครงึ่ วงกลม 3 ทอ่ วางทำ� มุมตั้งฉากกัน ทำ� หนา้ ทเี่ ก่ียวกบั การควบคมุ การทรงตวั ส่วนท่ี 2 คอื สว่ นของท่อรปู กน้ หอย (cochlea) ท�ำหนา้ ที่เกยี่ วกับการรบั เสยี ง ทง้ั สองสว่ นนมี้ คี วามสลบั ซบั ซอ้ นลกั ษณะเหมอื นกบั เขาวงกต (labyrinth) โดยใน สว่ นของขมบั กจ็ ะมลี กั ษณะซบั ซอ้ นเหมอื นเขาวงกต เพอ่ื เปน็ โครงสรา้ งใหก้ บั อวยั วะเหลา่ นี้ (osseous labyrinth) สว่ นภายในชอ่ งของกระดูกจะเป็นสว่ นเน้อื เยือ่ (membranous

15

labyrinth) ซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ ทอ่ มขี องเหลวอยภู่ ายใน สว่ นของทอ่ รปู กน้ หอย (cochlea) นน้ั ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ สว่ นสดุ ทา้ ยของการรบั เสยี ง (end organ of hearing) มลี กั ษณะเปน็ ทอ่ ขดวน 25 รอบ เปรียบเหมือนหอยโข่งหรือหอยทาก ภายในท่อถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่องย่อย ดว้ ยเนอื้ เยอื่ ทก่ี น้ั อยตู่ รงกลางเรยี กวา่ สกาลา่ มเี ดยี (scala media หรอื cochlea partition) โดยสว่ นขาเขา้ ทต่ี อ่ มาจากเยอื่ ของชอ่ งรปู ไข่ เรยี กวา่ ชอ่ งสกาลา่ เวสทบิ ไู ล (scala vestibuli) เมอ่ื เดนิ ทางวนเขา้ ไปจนสดุ ปลายดา้ นในของวงกน้ หอย (helicotrema) กจ็ ะวกกลบั ออกมา เปน็ ขาออกเรยี กชอ่ งนว้ี า่ สกาลา่ ทมิ พาไน (scala tympani) ซงึ่ จะเดนิ ทางไปสนิ้ สดุ ทเ่ี ยอ่ื ของชอ่ งรูปกลม (round window) ซ่ึงเปิดออกสูโ่ พรงของหูชั้นกลาง ในชอ่ งยอ่ ยของทอ่ รปู กน้ หอยทง้ั หมด ภายในจะมขี องเหลวบรรจอุ ยเู่ ตม็ ของเหลว ที่อยู่ในช่องสกาล่าเวสทิบูไลและสกาล่าทิมพาไน เรียกว่า เพอริลิมฟ์ (perilymph) สว่ นของเหลวทอ่ี ยใู่ นชอ่ งสกาลา่ มเี ดยี ซง่ึ อยตู่ รงกลางนน้ั เรยี กวา่ เอนโดลมิ ฟ์ (endolymph) ชอ่ งสกาล่ามีเดยี น้ี ถกู ลอ้ มรอบดว้ ยเย่ือบางๆ ท้ัง 2 ด้าน เยื่อด้านทีต่ ิดกบั สกาล่า เวสตบิ ไู ล เรยี กวา่ เยอื่ ไรสเ์ นอร์ (Reissner’s membrane) สว่ นเยอ่ื ทตี่ ดิ กบั สกาลา่ ทมิ พาไน เรยี กวา่ เยอื่ เบซลิ า่ ร์ (basilar membrane) ซงึ่ มสี ว่ นประกอบเลก็ ๆ เรยี กวา่ อวยั วะคอรต์ ิ (organ of corti) วางตวั อยู่ ซงึ่ สว่ นประกอบนเ้ี องทเ่ี ปน็ กลมุ่ เซลลป์ ระสาทสมั ผสั ซง่ึ ทำ� หนา้ ทร่ี บั เสยี ง ลักษณะภายในท่อรปู กน้ หอยและส่วนประกอบของอวยั วะคอรต์ ิ ดงั แสดงในภาพที่ 2.3

ภาพท่ี 2.3 แสดงลกั ษณะภายในทอ่ รปู กน้ หอย (cochlea) และสว่ นประกอบของอวยั วะคอรต์ ิ (organ of corti) ท่มี า: Wikipedia.org

16

ภายในอวัยวะของคอรต์ มิ ีเซลลป์ ระสาทสมั ผสั (sensory cell) อยู่ 2 ชนิด คือ เซลลข์ นดา้ นนอก (outer hair cell : OHC) กับเซลลข์ นดา้ นใน (inner hair cell : IHC) เซลลข์ นดา้ นนอกเรยี งกนั อยู่ 3 แถว ทส่ี ว่ นบนของเซลลม์ ลี กั ษณะเปน็ เสน้ ขน (stereocilia) ปลายสดุ ของขนยดึ ตดิ อยกู่ บั เยอื่ เทคตอรเ์ รยี ล (tectorial membrane) ซง่ึ เปน็ เยอ่ื ทป่ี ดิ คลมุ อวยั วะของคอรต์ ไิ ว้ สว่ นเซลลข์ นดา้ นในจะมอี ยเู่ พยี ง 1 แถว และสว่ นปลายของขนจะอยใู่ กล้ แต่ไม่ได้ยึดกับเย่ือเทคตอร์เรียล ลักษณะของเซลล์ขนด้านนอกและด้านใน ดังแสดงใน ภาพที่ 2.4

เซลล์ขนดา้ นใน เซลลข์ นดา้ นนอก

ภาพท่ี 2.4 แสดงลกั ษณะของเซลลข์ นดา้ นนอก (outer hair cell ; OHC) เป็น 3 แถวเรียงกันอยู่ ดา้ นลา่ งของภาพ สว่ นเซลลข์ นดา้ นใน (inner hair cell ; IHC) เปน็ 1 แถว เรยี งกนั อยดู่ า้ นบนของภาพ ทีม่ า: WHO, 2001

เซลลข์ นเหลา่ น้ี ถกู เชอ่ื มต่อดว้ ยเซลล์ประสาท เมื่อเซลล์ประสาทรวมกันมากเข้า กลายเป็นเส้นประสาทคอเคลีย (cochlea nerve) ซึ่งรับสัญญาณประสาทเก่ียวกับ เรอื่ งการไดย้ นิ จากทอ่ รปู กน้ หอยเมอื่ ไปรวมกบั เสน้ ประสาทเวสทบิ ลู า่ ร์ (vestibular nerve) ซ่ึงรับสัญญาณประสาทเก่ียวกับเร่ืองการทรงตัวมาจากท่อรูปครึ่งวงกลมจะกลายเป็น เส้นประสาทสมองคูท่ ี่ 8 (vestibulocochlear nerve หรอื eighth cranial nerve หรอื CN VIII) ซง่ึ เสน้ ประสาทนี้ จะสง่ สญั ญาณประสาทเขา้ สกู่ า้ นสมอง (brain stem) และไปถงึ สมองส่วนนอก (cerebal cortex) เพ่ือประมวลผลเปน็ การไดย้ ินเสียงต่อไป

17

2.2.2 กลไกการได้ยิน การไดย้ นิ (hearing) เปน็ กลไกทพ่ี บในสตั วช์ น้ั สงู เชน่ กลมุ่ สตั วท์ ม่ี กี ระดกู สนั หลงั จะเกิดข้ึนได้ต้องมีพลังงานเสียง มีตัวกลางน�ำเสียง (เช่น อากาศ) และจะต้องมีอวัยวะ ที่ท�ำหน้าท่ีรับเสียงและสามารถแปลผลเสียงท่ีได้ยินได้ การได้ยินมีประโยชน์ท้ังในแง่ เปน็ การปอ้ งกนั อนั ตราย โดยการระบตุ ำ� แหนง่ ทมี่ าของเสยี ง และใชใ้ นการสอื่ สารระหวา่ งกนั ในมนษุ ยซ์ งึ่ มกี ารพฒั นาของระบบภาษา สามารถแปลเสยี งพดู เปน็ คำ� ทม่ี คี วามหมายตา่ งๆ เพอื่ ใชป้ ระโยชนใ์ นการสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งซบั ซอ้ นยง่ิ ขนึ้ กลไกการไดย้ นิ ในมนษุ ยน์ น้ั กม็ คี วาม สลบั ซับซ้อนเชน่ กัน ในการไดย้ นิ หขู องมนษุ ยส์ ามารถเปลยี่ นเสยี งในอากาศซง่ึ เปน็ พลงั งานกลใหก้ ลาย เป็นสัญญาณประสาท ส�ำหรับส่งไปแปลผลที่สมองได้ด้วยกลไกของส่วนประกอบต่างๆ ของหู เสยี งซึง่ เปน็ พลงั งานกลเดนิ ทางมาตามการส่ันสะเทอื นของอากาศมาท่ใี บหู ซ่ึงจะ ทำ� หนา้ ทรี่ วบรวมเสยี งใหเ้ ขา้ สชู่ อ่ งหู ใบหนู นั้ มรี ปู รา่ งแบนและโคง้ เวา้ เขา้ ขา้ งในคลา้ ยกรวย ท�ำให้รวบรวมเสียงได้ดี และช่วยสะท้อนเพิ่มความดังของเสียงในบางความถี่ให้มากขึ้น ตำ� แหนง่ ของใบหมู นษุ ยจ์ ะเอนมาขา้ งหลงั ทำ� ใหไ้ ดย้ นิ เสยี งจากดา้ นหนา้ ไดช้ ดั กวา่ ดา้ นหลงั และการที่มีหู 2 ข้างของศรี ษะ ทำ� ให้ได้รบั เสียงจากทิศทางตา่ งๆ ได้ไมเ่ ทา่ กนั กลไกเหล่า น้ีจะท�ำให้มนุษยส์ ามารถแปลผลหาทิศทางของแหล่งกำ� เนดิ เสียงได้ เมอื่ เสยี งเดนิ ทางเขา้ สชู่ อ่ งหซู งึ่ มรี ปู รา่ งโคง้ และเอยี งกเ็ พอ่ื เปน็ การปอ้ งกนั เยอื่ แกว้ หู ไมใ่ หไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ หรอื มวี สั ดจุ ากภายนอกมาเขา้ หไู ดง้ า่ ยและเพอื่ ชว่ ยสะทอ้ นเสยี งทำ� ให้ เสยี งในบางความถชี่ ดั ขนึ้ เชอื่ กนั วา่ ผลของการเปน็ ตวั สะทอ้ นเสยี ง (resonator) ของใบหู และชอ่ งหูน้ัน จะช่วยให้เสียงทม่ี ีความถ่ีในชว่ ง 3,000 – 4,000 เฮริ ตซ์ มีความดงั เพิม่ ข้นึ มากที่สดุ โดยจะดังเพิ่มขนึ้ ประมาณ 10 - 15 เดซิเบล ความถี่เสยี งในชว่ งน้ี จงึ เปน็ ความถ่ี ทม่ี นษุ ยม์ คี วามไวตอ่ การรบั มากทสี่ ดุ และเสยี่ งตอ่ การสญู เสยี การไดย้ นิ เนอ่ื งจากรบั สมั ผสั เสียงดงั มากทีส่ ุดด้วย เยื่อแกว้ หทู �ำหนา้ ทปี่ ้องกันสิง่ อันตรายจากภายนอกเข้าส่หู ูชั้นกลาง เปน็ ส่วนแรก ของกลไกการเปล่ยี นรูปพลังงานเสยี ง (transducing mechanism) เนื่องจากเยือ่ แก้วหู จะเปล่ียนเป็นพลังงานเสียงที่เป็นการสั่นสะเทือนของอากาศมาเป็นการส่ันสะเทือนของ ของแข็งแทน โดยเม่ือเสียงเดินทางผ่านอากาศมาถึงเย่ือแก้วหู จะท�ำให้เย่ือแก้วห ู

18

สั่นสะเทือนขึ้นและเย่ือแก้วหูจะส่งแรงสั่นสะเทือนน้ีต่อไปท่ีกระดูก 3 ช้ิน ระยะทางท่ี แก้วหูส่ันสะเทือนนั้น แท้จริงแล้วน้อยมาก น้อยกว่า 1 ในสิบล้านเท่าของระยะทาง 1 เซนตเิ มตร แตร่ า่ งกายกส็ ามารถนำ� สญั ญาณการสนั่ สะเทอื นนไ้ี ปแปลผลเปน็ เสยี งตา่ งๆ ได้ การสั่นสะเทือนของเย่ือแก้วหูจะมากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กับระดับความเข้มเสียงที่ได้รับ และการส่นั สะเทือนของเยื่อแกว้ หูจะเรว็ ช้าเพยี งใด ข้ึนอย่กู บั ความถ่ขี องเสียงน้นั การที่ เยือ่ แก้วหมู รี ปู รา่ งเว้าเข้าตรงกลาง เป็นกรวยตืน้ ๆ เหมอื นกับรปู ร่างลำ� โพงเคร่ืองเสียงนี้ เชอ่ื กันวา่ เปน็ รปู รา่ งทด่ี ที ีส่ ดุ ในการนำ� เสียงจากอากาศไปสู่ของแข็ง หูชั้นกลางท�ำหน้าท่ีเหมือนตัวแปลงความต้านทาน (impedance matching transformer) ของพลงั งานเสยี งจากอากาศไปสขู่ องเหลว กลไกนม้ี คี วามสำ� คญั เนอื่ งจาก ปกตกิ ารเดนิ ทางของพลงั งานเสยี งในอากาศ (ในหชู น้ั นอก) ไปสขู่ องเหลว (ในหชู น้ั ใน) นนั้ หากท�ำการถ่ายเทพลังงานกันโดยตรงโดยไม่มีกลไกของหูช้ันกลางค่ันอยู่ พลังงานเสียง จะสญู เสยี ไปอยา่ งมาก คอื จะมพี ลงั งานเสยี งเพยี ง 1 ใน 1,000 เทา่ นนั้ ทเ่ี ดนิ ทางจากอากาศ ของหชู ้ันนอกเขา้ สู่ของเหลวในหชู ้นั ในได้ หรอื หากเป็น เดซเิ บล ก็จะมีระดับเสยี งลดลง ไปถึงประมาณ 30 เดซิเบล ทเี่ ปน็ ดงั นเี้ นอ่ื งจากเสียงเดนิ ทางผ่านตัวกลางแต่ละชนดิ ไดด้ ี ไม่เทา่ กัน โดยจะเดนิ ทางผา่ นอากาศได้แย่กว่าของเหลว ท�ำให้พลงั งานเสยี ง เม่อื สง่ ผา่ น อากาศไปสขู่ องเหลวจะสะทอ้ นกลบั ออกเสยี เปน็ สว่ นมาก กลไกของหชู นั้ กลางนนั้ ชว่ ยทำ� หนา้ ทแ่ี กป้ ญั หาการสญู เสยี พลงั งานเสยี งดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ คอื เยอ่ื แกว้ หจู ะแปลงพลงั งานเสยี ง ในรปู การสน่ั สะเทอื นของอากาศมาเปน็ การสน่ั สะเทอื นของของแขง็ คอื กระดกู 3 ชน้ิ แทน เม่ือเยื่อแก้วหูเกิดการสั่นสะเทือนจะส่งแรงสั่นสะเทือนต่อเข้ามาในหูชั้นกลาง ไปตามกระดกู คอ้ น ทงั่ โกลน ตามลำ� ดบั กลไกทชี่ ว่ ยใหส้ ญู เสยี พลงั งานนอ้ ยลงอกี กลไกหนง่ึ คอื การทีข่ นาดของเย่อื แก้วหูนน้ั จะใหญก่ ว่าขนาดของเย่อื ของชอ่ งรปู ไข่มาก โดยขนาด เฉล่ียของเย่ือแก้วหูมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.7 เซนติเมตร แต่ขนาดของช่องรูปไข ่ จะเล็กกว่าเป็น 10 เท่าท�ำให้ส่งพลังงานได้ดีข้ึน กลไกสุดท้ายท่ีหูช้ันกลางใช้ในการ ลดการสญู เสยี พลงั งาน คอื การทกี่ ระดกู คอ้ นและกระดกู ทงั่ สนั่ สะเทอื นในลกั ษณะเหมอื น คานกระดก โดยมขี อ้ ตอ่ ระหวา่ งกระดกู คอ้ นกบั กระดกู ทงั่ เปน็ จดุ หมนุ ของคาน กลไกน้ี จะทำ� ให้ กระดูกโกลนเกิดแรงสั่นสะเทือนเพ่ิมได้มากข้ึน การส่ันสะเทือนของกระดูกโกลน ทำ� ให้ เกดิ การสน่ั สะเทอื นตอ่ ไปทเี่ ยอื่ ของชอ่ งรปู ไขแ่ ละตอ่ เนอื่ งไปทขี่ องเหลวภายในหชู น้ั ใน

19

นอกจากกลไกในการลดการสูญเสยี พลงั งานเสยี งแลว้ หชู ั้นกลางยังมีกลไกท่ีชว่ ย ในการป้องกันการเกิดอันตรายต่อหูช้ันในหากได้รับเสียงท่ีมีความดังมากเกินไปด้วย เปน็ ปฏกิ ริ ยิ าแบบอตั โนมตั เิ รยี กวา่ ปฏกิ ริ ยิ าอะคสู ตกิ (acoustic reflex หรอื tympani reflex) คอื เม่ือใดที่ร่างกายได้รับเสียงดงั มากเกินไปจะกระตุ้นให้เกดิ ปฏิกริ ยิ านข้ี ึ้นแบบอัตโนมัติ กบั กลา้ มเนอ้ื ในหชู นั้ กลาง 2 มดั โดยจะเกดิ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื สเตปเี ดยี ส (stapedius reflex) ซงึ่ ยดึ ตดิ กบั สว่ นคอของกระดกู โกลน เมอ่ื กลา้ มเนอื้ มดั นหี้ ดตวั จะดงึ กระดกู โกลน ใหอ้ ยนู่ ง่ิ เกดิ การสนั่ สะเทอื นนอ้ ยลง และอกี ดา้ นหนง่ึ จะกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื เทนเซอรท์ ิมพาไน (tensor tympani reflex) ซ่งึ ยึดตดิ อยู่กบั ส่วนด้ามของกระดกู ค้อน เม่ือกล้ามเนื้อหดตัวจะไปดึงส่วนด้ามของกระดูกค้อนซึ่งติดอยู่กับเยื่อแก้วหู ท�ำให้ เย่ือแก้วหูตึงข้ึน ส�ำหรับปฏิกิริยาอะคูสติกในมนุษย์น้ัน ส่วนใหญ่อาศัยกลไกการหดตัว ของกลา้ มเนอ้ื สเตปเี ดยี สเปน็ หลกั สว่ นกลไกการหดตวั ของกลา้ มเนอื้ เทนเซอรท์ มิ พาไนนนั้ มบี ทบาทน้อยมาก ระดับความดังของเสยี งทเ่ี ริม่ กระตุ้นปฏิกริ ยิ าอะคสู ติกน้ีสำ� หรับเสียง ท่มี คี วามถอ่ี ยู่ในชว่ ง 500 – 4,000 เฮริ ตซ์ จะเร่ิมเกดิ ขน้ึ ท่ีประมาณ 85 เดซเิ บล แมร้ า่ งกายจะมปี ฏกิ ริ ยิ าอะคสู ตกิ เปน็ กลไกเพอื่ ลดอนั ตรายจากการไดร้ บั เสยี งดงั อยู่ก็ตาม ปฏิกิริยานี้จะช่วยลดอันตรายได้เฉพาะในกรณีท่ีเสียงนั้นค่อยๆ เกิดข้ึนหรือมี ความดังต่อเนื่องนานเพียงพอท่ีร่างกายจะปรับตัวได้ คือเป็นเสียงแบบ continuous - type noise ในกรณีท่เี สยี งดงั น้ีเกิดข้ึนอย่างรุนแรงและหายไปอยา่ งรวดเร็วคือเป็นเสยี ง แบบ impulsive noise เชน่ เสยี งระเบดิ รา่ งกายอาจจะไมส่ ามารถกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ยิ า อะคูสติกได้ทัน ท�ำให้ธรรมชาติของเสียงท่ีเป็นแบบ impulsive noise น้ัน จะมีความ เปน็ อนั ตรายกอ่ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี การไดย้ นิ ไดม้ ากกวา่ เสยี งแบบ continuous-type noise กลไกการไดย้ นิ ของหชู น้ั ในเรม่ิ จากแรงสนั่ สะเทอื นจากการทก่ี ระดกู โกลนเคลอ่ื นที่ เขา้ และออก (in and out) จากเยอื่ ของชอ่ งรปู ไขถ่ า่ ยทอดมาสขู่ องเหลวเพอรลิ มิ ฟภ์ ายใน ทอ่ ขดรปู กน้ หอย ทำ� ใหส้ น่ั สะเทอื นตามไปดว้ ย แรงสนั่ สะเทอื นนเี้ รมิ่ จากเพอรลิ มิ ฟใ์ นชอ่ ง สกาลา่ เวสทบิ ไู ล วนเขา้ ไปตามรปู รา่ งของทอ่ รปู กน้ หอยแลว้ วกกลบั ออกมาตามเพอรลิ มิ ฟ์ ในช่องสกาล่าทิมพาไน มาส้ินสุดการส่ันสะเทือนที่เยื่อของช่องรูปกลมซึ่งเปิดออก สโู่ พรงหชู นั้ กลาง เยอ่ื ของชอ่ งรปู กลมจงึ ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ เหมอื นทรี่ องรบั แรงสนั่ สะเทอื น ทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในทอ่ ขดรปู กน้ หอย แรงสน่ั สะเทอื นภายในของเหลวทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในทอ่ รปู กน้ หอยนี้

20

จะท�ำให้เย่ือส่วนเบซิล่าร์ขยับตามไปด้วย ยิ่งลึกเข้าไปในท่อรูปก้นหอย การส่ันสะเทือน ของเบซลิ า่ รก์ จ็ ะยง่ิ มากขนึ้ ทำ� ใหเ้ ซลลข์ นภายในอวยั วะของคอรต์ ทิ ต่ี งั้ อยบู่ นเยอื่ เบซลิ า่ ร์ ถูกกระตุ้น ซึ่งการกระตุ้นน้ีจะเกิดข้ึนได้ต่อเม่ือเย่ือเบซิล่าร์น้ันถูกกระตุ้นจนถึง จุดเคลอ่ื นไหวสงู สุด (maximum displacement) โดยเสียงทีม่ ีความถส่ี งู จะทำ� ให้เกดิ การกระตุ้นข้ึนท่ีบริเวณส่วนต้นหรือส่วนฐานของท่อรูปก้นหอย ส่วนเสียงท่ีมีความถ่ีต่�ำ จะทำ� ใหเ้ กดิ การกระตนุ้ ในบรเิ วณสว่ นปลายใกลก้ บั ยอดของทอ่ รปู กน้ หอย เสยี งทม่ี คี วามถ่ี ประมาณ 1,000 เฮิรตซ์ จะกระตุ้นเซลล์ขนท่ีอยู่ตรงกลางความยาวของท่อรูปก้นหอย พอดี การกระตุน้ น้ีจะท�ำใหเ้ ซลล์ขนสง่ สัญญาณประสาทไปตามเซลล์ประสาทที่เชอื่ มต่อ อยกู่ บั เซลลข์ นแตล่ ะเซลล์ จากนนั้ สญั ญาณประสาทจะเขา้ สเู่ สน้ ประสาทคอเคลยี และเขา้ ส ู่ สมองเพื่อประมวลผลไปตามล�ำดับ เน่ืองจากเซลล์ประสาทท่ีเลี้ยงเซลล์ขนแต่ละเซลล ์ จะทำ� หนา้ ทแี่ บง่ แยกกนั ชดั เจน และจะนำ� กระแสประสาทไปประมวลผลทสี่ ว่ นเฉพาะของสมอง จึงเกิดการเรียงตัวแบบจ�ำเพาะ (tonotopic arrangement) ซึ่งการเรียงตัวลักษณะนี้ ท�ำใหก้ ารประมวลผลเสยี งในแต่ละความถ่ีจะเกดิ ขน้ึ ในสมองคนละสว่ นแยกกัน

ภาพที่ 2.5 ลกั ษณะการเรียงตวั แบบจำ� เพาะต่อการประมวลผลเสียงแตล่ ะความถี่ A = ในทอ่ รูปก้นหอย, B = ในสมองสว่ นนอก

ที่มา: Chittka & Brokmann, 2005 เผยแพร่ภายใต้ Creative Commons Attribution License

21

กลไกการแปลงสัญญาณของเซลล์ขนเป็นสัญญาณประสาท เกิดขึ้นโดยเซลล์ขน ดา้ นในซ่งึ มอี ย่ปู ระมาณ 3,500 เซลล์ ภายในท่อรูปกน้ หอย ท�ำหน้าทหี่ ลักในการแปลง แรงสน่ั สะเทอื นทม่ี ากพอ จากของเหลวเปน็ สญั ญาณประสาท ทำ� ใหเ้ ซลลข์ นดา้ นในถกู กระตนุ้ เกิดการแลกเปลี่ยนไอออนบวก (cation) คือโพแทสเซียมไอออน (potassium ion) กับแคลเซยี มไอออน (calcium ion) เข้ามาในเซลล์ และเกิดการปลอ่ ยสารสือ่ ประสาท (neurotransmitter) ออกไปท่ีเซลล์ประสาทท่ีมาเล้ียง เกิดเป็นสัญญาณประสาทข้ึน โดยเซลลข์ นดา้ นในนจ้ี ะถกู กระตนุ้ ไดต้ อ่ เมอื่ สญั ญาณนนั้ มาจากเสยี งทมี่ คี วามเขม้ เสยี งสงู (เสยี งดังมาก) เทา่ นั้น ในกรณีทสี่ ัญญาณมาจากเสียงท่มี คี วามเข้มเสียงปานกลางหรือต�่ำ (ดงั ปานกลางหรือเบา) เกดิ แรงสั่นสะเทือนไมเ่ พียงพอที่จะกระต้นุ เซลล์ดา้ นใน เซลล์ขน ด้านนอกท่ีมีอยู่ประมาณ 12,000 เซลล์ ในท่อรูปก้นหอย จะเข้ามามีบทบาทหน้าท ่ี โดยเซลลข์ นดา้ นนอกน้ี ไมไ่ ดท้ ำ� หนา้ ทแ่ี ปลงแรงสนั่ สะเทอื นเปน็ สญั ญาณประสาทโดยตรง แต่จะท�ำการหดตัวท�ำให้เกิดแรงสั่นสะเทือนภายในของเหลวของท่อรูปก้นหอยเพ่ิมขึ้น สว่ นหนง่ึ เพราะเซลลข์ นดา้ นนอกนย้ี ดึ ตดิ อยกู่ บั เยอื่ เบซลิ า่ รแ์ ละเยอ่ื เทคตอรเ์ รยี ลจงึ ทำ� ให้ เกิดแรงสั่นสะเทือนเพิ่มได้ แรงส่ันสะเทือนท่ีเพิ่มขึ้น หากมากพอก็จะช่วยกระตุ้นเซลล์ ด้านใน ส่วนในกรณีที่มีสัญญาณมาจากเสียงที่มีความเข้มเสียงสูงเพียงพออยู่แล้วนั้น เซลลข์ นดา้ นนอกกจ็ ะเกดิ การหดตวั อยเู่ ชน่ เดมิ แตไ่ มเ่ กดิ ผลใดๆ ขน้ึ เนอ่ื งจากเซลลข์ นดา้ นใน สามารถถกู กระตนุ้ ไดอ้ ยูแ่ ลว้ เซลลข์ นดา้ นนอกนนั้ ออ่ นแอกวา่ เซลลข์ นดา้ นใน เมอื่ ไดร้ บั เสยี งดงั หรอื มอี ายทุ ม่ี ากขนึ้ เซลล์ขนด้านนอกจะถูกท�ำลายได้มากกว่า ในขณะท่ีเซลล์ขนด้านในมีความทนทาน ถกู ทำ� ลายนอ้ ยกวา่ ทำ� ใหผ้ ทู้ ม่ี ปี ญั หาสญู เสยี การไดย้ นิ จากการไดร้ บั เสยี งดงั หรอื มอี ายมุ ากขน้ึ มักจะมีปัญหาการได้ยินเสียงท่ีมีความเข้มเสียงปานกลางหรือต่�ำ แต่ยังคงได้ยินเสียงท่ีมี ความเขม้ เสยี งสงู เกดิ เปน็ ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ หรอื สภาวะหตู งึ (hearing loss) แตจ่ ะไมเ่ กดิ ภาวะหหู นวก (deafness) และเนอ่ื งจากหชู นั้ นอกจะทำ� การสะทอ้ นเพมิ่ ความดงั ของเสยี ง ในช่วงความถ่ี 3,000 – 4,000 เฮริ ตซ์ ไดม้ ากทีส่ ุด จึงทำ� ใหเ้ ซลล์ขนด้านนอกที่ท�ำหน้าท่ี รบั เสียงสว่ นน้ีมีความเสีย่ งตอ่ การถูกทำ� ลายจากเสียงดังมากท่สี ุดดว้ ย การประมวลผลสัญญาณประสาทที่ได้จากการรับเสียงภายในสมองนั้น เส้นประสาทสมองคู่ท่ี 8 จะเดนิ ทางเข้าส่สู ว่ นกา้ นสมองและจะทำ� การถ่ายทอดสญั ญาณ

22

ท่ีเน้ือสมองส่วนคลอเคลียนิวเคลียส (cochlear nucleus) ด้านเดียวกับหูท่ีรับเสียง (ipsilateral) จากนน้ั เซลลป์ ระสาทสว่ นใหญป่ ระมาณรอ้ ยละ 75 จะเดนิ ทางขา้ มไปสมอง ฝั่งตรงข้าม (contralateral) แต่ยังมีบางส่วนประมาณร้อยละ 25 เดินทางอยู่ในสมอง ขา้ งเดยี วกนั ขนึ้ ไปประมวลผลทสี่ มองสว่ นนอก สำ� หรบั การประมวลผลเสยี งพดู เปน็ ความหมาย ต่างๆ น้ันส่วนใหญ่เกิดขึ้นท่ีสมองส่วนขมับข้างซ้าย (left temporal lope) เป็นส่วน ทท่ี �ำหน้าทน่ี มี้ ากท่สี ุด 2.2.3 ความสามารถของหูในการไดย้ ินเสียง “เสียง” กับ “การได้ยินเสียง” นั้นเป็นส่ิงท่ีแตกต่างกัน “เสียง” เป็นพลังงาน แวดล้อมทเ่ี กิดขน้ึ ในสง่ิ แวดลอ้ ม แต่ “การไดย้ นิ ”เปน็ กระบวนการสลับซบั ซอ้ นท่เี กดิ ใน ร่างกายของมนษุ ยห์ รอื สงิ่ มีชีวิตหลังจากการไดร้ บั เสยี งและระดับความเข้มของเสียงทีส่ งู หรอื ตำ�่ นนั้ จะทำ� ใหม้ นษุ ยเ์ กดิ กระบวนการรบั รู้ เปน็ ความดงั ของเสยี ง (loudness) ทม่ี าก (เสียงดัง) หรือน้อย (เสียงเบา) แตกต่างกันออกไปเพ่ือประเมินผลของเสียงต่อร่างกาย ของมนษุ ย์ เราจำ� เปน็ ตอ้ งทำ� การวดั ระดบั “ความดงั ของเสยี ง” แตโ่ ดยทวั่ ไปการวดั ระดบั ความดงั ของเสียงเป็นสิ่งท่ีท�ำได้ยากกว่าการวัดระดับความเข้มเสียง เน่ืองจากความดังของเสียง เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนจากกระบวนการได้ยินของร่างกายมนุษย์ ซึ่งมีกลไกที่สลับซับซ้อน และแตกต่างกันไปในแตล่ ะคน การวดั ระดบั ความดงั ของเสยี ง ทมี่ นษุ ยร์ บั รอู้ ยา่ งแทจ้ รงิ นนั้ ปจั จบุ นั ยงั ไมส่ ามารถทำ� ได้ เนอื่ งจากกลไกการไดย้ นิ ของหใู นมนษุ ยแ์ ตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกนั ระดบั ความเขม้ เสยี ง ในแต่ละความถี่ที่มนุษย์แต่ละคนได้ยินก็แตกต่างกันออกไป รวมถึงการประมวลผล ที่สมอง ก็ท�ำให้การรับรู้ความดังของเสียงในมนุษย์แต่ละคนแตกต่างกันออกไปด้วย แต่เพ่ือให้สามารถท�ำการวัดความดังของเสียงท่ีมนุษย์ได้รับโดยประมาณได้ จึงมีการ พยายามวดั ความดังของเสียงเป็นหนว่ ยทเ่ี ราเรียกว่า เดซเิ บลเอ (decibel A หรือ dB (A) หรอื dBA) ข้ึน หลกั ของการวดั ความดงั ของเสยี งเปน็ หนว่ ย เดซเิ บลเอ ในการวดั ระดบั ความเขม้ เสยี ง ด้วยเครื่องวัดเสียง (sound Level meter) จะมีการปรับระดับการวัดความเข้มเสียง ในแต่ละความถี่ให้ไม่เท่ากัน โดยการปรับที่นิยมมากท่ีสุดคือ ปรับแบบ A-weighting ซง่ึ เปน็ การปรบั ความเขม้ เสยี งทว่ี ดั ไดใ้ นแตล่ ะความถใ่ี หม้ ลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั ความสามารถ

23

ในการรับเสียงของมนุษย์ (ซ่ึงรับเสียงได้ดีในช่วง 1,000 – 4,000 เฮิรตซ์) การปรับน้ี จะท�ำในลักษณะของการถ่วงน้�ำหนักโดยการน�ำค่าความเข้มเสียงที่วัดมาได้ มาค�ำนวณ แบบลอกกาลทิ มึ กบั คา่ ถว่ งนำ้� หนกั ทกี่ ำ� หนดไว้ คา่ ความดงั ของเสยี งทไี่ ดจ้ ากการปรบั แบบ A-weighting น้ี จะมหี นว่ ยเปน็ เดซเิ บลเอ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยทนี่ ยิ มนำ� มาใชใ้ นการบอกความดงั ของเสียงในส่ิงแวดล้อมและเสียงในสถานประกอบการในงานอาชีวอนามัยมากท่ีสุด ในการวดั ระดบั ความเขม้ เสียงนนั้ เรานยิ มใช้ หน่วย เดซเิ บล ณ ซาวดเ์ พรสเชอร์เลเวล (sound pressure level : SPL) เปน็ หนว่ ยหลักทบี่ อกระดบั ความเขม้ เสียง

ตารางที่ 2.1 แสดงระดบั ความดงั ของเสยี งจากแหลง่ กำ� เนดิ เสยี งตา่ งๆ ทม่ี นษุ ยอ์ าจพบได้ ในชวี ติ ประจ�ำวัน

ระดบั ความดงั ของเสยี ง ตัวอย่างทพ่ี บในชีวิตประจำ� วัน (เดซเิ บลเอ)

160 เสียงปืนใหญ่ เสียงระเบดิ

150 เสยี งเคร่ืองเสยี งในรถยนต์ทเ่ี ปดิ เตม็ ท่ี

120 เสียงสว่านลม

110 เสียงจากวงดนตรรี อ็ คแอนด์โรล

105 เสยี งเครอ่ื งทอผ้า

95 เสยี งเคร่ืองพมิ พ์หนังสือพิมพ์

90 เสียงเคร่อื งตดั หญ้าทต่ี �ำแหนง่ ทีค่ นคุมเครอ่ื ง

80 เสียงเครือ่ งสขี ้าวที่อย่หู า่ งออกไป 1 - 2 เมตร

75 เสยี งรถบรรทกุ ทขี่ บั เรว็ 70 กโิ ลเมตร/ชวั่ โมง ทอ่ี ยหู่ า่ งออกไป 15 เมตร

70 เสยี งเครื่องดดู ฝนุ่

60 เสยี งจากรถยนตท์ ขี่ บั เรว็ 80 กโิ ลเมตร/ชว่ั โมง ทอ่ี ยหู่ า่ งออกไป 15 เมตร เสยี งในห้องท่มี เี คร่ืองปรบั อากาศท่ีอยหู่ ่างออกไป 1 เมตร เสยี งจากการพดู คยุ กนั ตามปกตเิ มอ่ื นงั่ หา่ งกนั 1 เมตร

24

ตารางที่ 2.1 แสดงระดบั ความดงั ของเสยี งจากแหลง่ กำ� เนดิ เสยี งตา่ งๆ ทม่ี นษุ ยอ์ าจพบได ้ ในชวี ติ ประจำ� วัน (ตอ่ )

ระดบั ความดงั ของเสยี ง ตวั อยา่ งทพ่ี บในชวี ติ ประจำ� วัน (เดซิเบลเอ)

40 เสียงกระซิบ เสียงในห้องทเ่ี งียบ

20 พืน้ ท่เี งียบในชนบททไี่ มม่ ีเสียงลมและไมม่ เี สียงแมลง

10 ระดบั เสียงภายในห้องตรวจการได้ยิน

0 ระดบั ท่เี ริม่ ได้ยนิ ของคนสว่ นใหญ่

-10 ระดบั ท่ีเรมิ่ ไดย้ ินของคนทห่ี ูดีอย่างมาก

ในแงค่ วามถ่ี หขู องมนษุ ยม์ คี วามสามารถในการไดย้ นิ เสยี งในชว่ งความถที่ ก่ี วา้ งมาก ในคนท่ีมีการได้ยินปกติ จะได้ยินเสียงท่ีช่วงความถี่ประมาณ 20 – 20,000 เฮริตซ์ ช่วงความถ่ีทีห่ ขู องมนษุ ย์ได้ยินชัดเจนดี คอื ช่วงความถ่ปี ระมาณ 1,000 – 4,000 เฮิรตซ์ โดยเฉพาะในชว่ งความถี่ 3,000 – 4,000 เฮริ ตซ์ เปน็ ชว่ งความถที่ ห่ี ขู องมนษุ ยร์ บั เสยี งไดด้ ที สี่ ดุ ส�ำหรับเสียงพูดของมนุษย์ ซึ่งเป็นเสียงท่ีจัดว่ามีความส�ำคัญมากที่สุดท่ีมนุษย์ต้องรับฟัง ในชวี ติ ประจ�ำวัน จะเป็นเสยี งผสมทอ่ี ยู่ในช่วงประมาณ 500 - 3,000 เฮิรตซ์ ซง่ึ จดั วา่ ใกล้เคียงกับช่วงความถ่ีของเสียงท่ีมนุษย์สามารถได้ยินชัดเจนท่ีสุด อาจเป็นผลจาก วิวัฒนาการตามธรรมชาติที่ช่วยให้หูของมนุษย์น้ัน สามารถรับเสียงในช่วงเสียงพูด ของมนุษย์ได้อย่างพอดี

2.3 ภาวะสญู เสยี การไดย้ ินจากเสยี งดังในที่ท�ำงาน ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน (occupational noise - induced hearing loss : ONIHL) เปน็ ปัญหาสุขภาพทรี่ ู้จักกนั ดี ตั้งแต่มกี ารปฏิวัตอิ ตุ สาหกรรม มีคนงานชาวอเมริกันนับล้านที่มี “ภาวะสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังในท่ีท�ำงาน” เปน็ สาเหตใุ หส้ ญู เสยี คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ แี ละเกดิ ผลแทรกซอ้ นทางเศรษฐกจิ กระจายออกในวงกวา้ ง เปน็ 1 ใน 10 ปญั หาในการทำ� งานทพ่ี บบอ่ ยทส่ี ดุ และเสยี งดงั เปน็ ปจั จยั ทท่ี ำ� ใหป้ ระชากร

25

ผู้ใหญ่ 1 ใน 3 มีปัญหาการไดย้ ิน (NIH, 1990) ทง้ั ที่สามารถป้องกนั ไดเ้ กือบรอ้ ยละ 100 โดยมขี ้อยกเวน้ น้อยมาก ด้วยต้นทุนต่�ำ ข้อมูลทางการแพทย์ องค์ความรู้ในเรื่องของโรค ผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต และแนวทางการป้องกัน อาจไม่ได้ถูกกระจายกว้างเพียงพอ โดยเหตุผลทางเศรษฐกิจ และการเมอื ง จงึ มไิ ดเ้ กดิ โครงการอนรุ กั ษก์ ารไดย้ นิ (hearing conservation) และโปรแกรม การควบคุมเสียงดัง (noise control programs) ท่ีได้มาตรฐานและยั่งยืนการสูญเสีย การได้ยินจากเสียงดังในที่ท�ำงาน เป็นความผิดปกติท่ีมองไม่เห็น อาจไม่รบกวนหรือ เปน็ อปุ สรรคในการทำ� งานสว่ นใหญ่ แมว้ า่ จะมผี ลกระทบตอ่ คณุ ภาพชวี ติ แตก่ ลบั ไมไ่ ดร้ บั การสนใจหรือให้ค่าตอบแทน จากกองทุนเงินทดแทนเทียบเท่าความพิการทางตา หรอื การสูญเสียอวยั วะอน่ื ภาวะสูญเสียการได้ยินจากการท�ำงาน (occupational hearing loss : OHL) ประกอบดว้ ย ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน (ONIHL) ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากสารระเหยในโรงงาน (occupational solvents/ototoxic hearing loss) และภาวะ ภยนั ตรายจากเสยี งดงั ทำ� ใหส้ ญู เสยี การไดย้ นิ (occupational acoustic/physical trauma) 2.4 ลกั ษณะภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน (characteristics of ONIHL) 2.4.1 นยิ าม และปัญหาทางคลินกิ สมาคมอาชีวเวชศาสตร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา (American Occupational Medicine Association : AOMA) ใหน้ ยิ าม ภาวะสญู เสยี การไดย้ ินจากการท�ำงานในท่ี เสียงดงั (occupational noise-induced hearing loss : ONIHL) วา่ เปน็ ภาวะสูญเสยี การไดย้ นิ ทม่ี อี าการอยา่ งชา้ ๆ ลกุ ลามในระยะเวลาเปน็ แรมปี เปน็ ผลจากการทำ� งานสมั ผสั กบั เสยี งดังอยา่ งตอ่ เน่อื ง (continuous) หรอื เป็นระยะ (intermittent) เป็นเวลานาน ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน เปน็ โรคเฉพาะเกดิ จากไดร้ บั บาดเจบ็ จากเสียงในระดับดังมากเพียงพอ ทีละเล็กละน้อย ซ้�ำๆ ท�ำให้เกิดอาการและตรวจพบ ความผดิ ปกติได้ ภาวะภยันตรายจากเสียงดังท�ำให้สูญเสียการได้ยิน (occupational acoustic/ physical trauma) มีอาการสูญเสียการได้ยินอย่างทันทีทันใด จากการสัมผัสเสียงดัง

26

รุนแรงเพียงครั้งเดียว จากการท�ำงานหรือไม่ก็ได้ เช่น เสียงระเบิด ฟ้าผ่า (acoustic trauma) หรอื เกดิ จากอบุ ตั เิ หตบุ รเิ วณศรี ษะ ใบหู แรงกระแทกโดยตรงตอ่ หชู นั้ นอก ชน้ั กลาง และช้นั ใน กระดกู temporal (physical trauma) เปน็ ต้น

  1. การวนิ จิ ฉยั ตอ้ งอาศยั การซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร และการได้ยินอยา่ งละเอียดครบถว้ น โรคอนื่ ท่อี าจเปน็ สาเหตุของภาวะสูญเสยี การได้ยนิ ต้องค้นหาและตัดออก เนื่องจากโรคที่เป็นสาเหตุของการสูญเสียการได้ยินมากมายที่มี ลกั ษณะคลา้ ยคลงึ กบั ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทที่ ำ� งาน เกณฑก์ ารวนิ จิ ฉยั ดงั น้ี ก. ประวตั กิ ารสมั ผสั เสยี งดงั ในระดบั ความดงั มากพอ และระยะเวลานานเพยี งพอ ทำ� ใหเ้ กิดภาวะสญู เสยี การได้ยินได้ ข. ลกั ษณะกราฟการไดย้ นิ (air-bone audiogram, speech discrimination) เขา้ ไดก้ บั การสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั คอื ลกั ษณะสญู เสยี การไดย้ นิ เฉพาะจดุ 4,000 เฮริ ตซ์ (4,000-Hz Dip) หรือชว่ งความถี่ 3,000 – 6,000 เฮริ ตซ์ หรือชว่ งความถ่ีสงู ค. ระดับการได้ยินค่อนข้างคงท่ี ไม่มีการเสื่อมลุกลามมากข้ึน เมื่อออกจาก บรเิ วณทมี่ ีเสียงดงั หรอื หยดุ สัมผัสกับเสยี งดงั ระยะเวลาหนึ่ง ง. ไมม่ สี าเหตอุ นื่ หรอื ขอ้ มลู อน่ื ทอ่ี ธบิ ายสาเหตขุ องการสญู เสยี การไดย้ นิ นนั้ ได้ ตอ้ งมีการตรวจหาสาเหตุอื่น แมจ้ ะตรวจพบลกั ษณะกราฟการไดย้ ินตามขอ้ ข.
  2. เสยี งรบกวน (noise) หมายถงึ เสยี งทไ่ี มต่ อ้ งการ ไมต่ ง้ั ใจจะรบั ฟงั หรอื ดงั เกนิ ไป รับรู้โดยบคุ คลใดใด มีผลกระทบข้ึนกบั ลกั ษณะของเสยี ง ก. ระดบั ความดัง (intensity) เสยี งดงั มาก รบกวนมาก และท�ำลายหชู น้ั ใน มากระดบั เสียงดงั เกิน 75 - 80 เดซเิ บลเอ เพ่ิมความเสย่ี งมากข้ึน และลกั ษณะการสัมผสั เสียงท่แี ตกตา่ ง ซงึ่ มกี ารเปล่ยี นแปลงทุกขณะ ได้แก่ - เสยี งรบกวนระดบั ความดงั คงทตี่ อ่ เนอื่ ง (steady state noise - continuous) ระดับความดังของเสียงเปล่ียนแปลงไม่เกิน ±5 เดซิเบล ไม่มีเสียงกระแทก (impulse) ไดแ้ ก่ เสยี งเครอื่ งจกั รเปดิ ดงั ทำ� งานตลอดเวลา - เสยี งรบกวนดงั - เบาไมค่ งทแ่ี ตต่ อ่ เนอ่ื ง (fluctuating noise - continuous) ระดับความดังของเสียงเปล่ียนแปลงมากกว่า ±5 เดซิเบล ตลอดเวลา พบในคนงานท่ี ท�ำงานท่ีต้องเคล่อื นที่

27

- เสียงรบกวนไมต่ ่อเน่ือง (intermittent noise) ดงั ๆ หยุดๆ ระยะเวลา ทเ่ี สยี งดงั เปน็ อนั ตรายผสมกบั เสยี งดงั ไมอ่ นั ตราย พบบอ่ ยในงานทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื งานเชอื่ มโลหะ (welding) สวา่ นเจาะ (drilling) ซง่ึ เปดิ ๆ ปดิ ๆ และกจิ กรรมสนั ทนาการตา่ งๆ (recreation) - เสียงกระแทก (impulse noise) ระยะเวลาสั้น คล้าย shock wave มีระยะเวลาขนึ้ เสียง (rise time) เรว็ มาก พบในเสยี งระเบดิ ระยะเวลา 0.5 วนิ าที - เสยี งบีบอัด (impact noise) มรี ะยะเวลาข้นึ เสยี ง (rise time) ยาวกว่า ระยะเวลานานกวา่ พบในการทบุ และตอกหมนุ (hammering & riveting) เสยี งรบกวนดงั -เบาไมค่ งทแี่ ตต่ อ่ เนอ่ื ง และเสยี งรบกวนไมต่ อ่ เนอ่ื ง วดั ปรมิ าณยาก ใชก้ ารคำ� นวณ เชน่ เสยี ง 90 เดซเิ บล นาน 2 นาที ไดพ้ ลงั งานเทา่ กบั เสยี ง 93 เดซเิ บล นาน 1 นาที หรอื อาจวดั โดยเครอ่ื ง noise dose และ time - weighted average (TWA) เปน็ ตน้ ความถ่ีหรือสเปคตรัม เสียงความถี่สูงท�ำลายหูช้ันในมากกว่าเสียงความถ่ีต�่ำ เนอื่ งจากกลไกการปอ้ งกนั หชู น้ั ในจากเสยี งของ acoustic reflex ทำ� งานทคี่ วามถต่ี ำ�่ ไดด้ กี วา่ ข. ระยะเวลาที่สัมผัสเสียง ยิ่งสัมผัสนาน มีลักษณะของการท�ำลายหูช้ันใน แบบสะสมตลอดชีวติ (cumulative life time) ค. เสยี งรบกวนในระดบั ตำ่� มพี ลงั งานตำ่� เปน็ เสยี งดงั รบกวนไมม่ ากเพยี งรบกวน การสอ่ื สาร โดยไมเ่ กดิ ปญั หาการไดย้ นิ หรอื ทำ� ลายระบบประสาทการไดย้ นิ ทงั้ ระยะสนั้ และยาว แต่ในระดับพลังงานสูง หรือเสียงดังมาก ท�ำให้สูญเสียการได้ยินชั่วคราว (temporary threshold shift : TTS) และหากเกินระดบั วิกฤต อาจเกดิ ภาวะสญู เสยี การได้ยนิ ถาวร (permanent threshold shift : PTS) ตามมา กฎหมายเก่ียวกับสุขภาพและความปลอดภัยในการท�ำงานของประเทศ สหรัฐอเมรกิ า(Occupational Safety & Health Act : OSHA) ระบุวา่ หากสถานท่ี ท�ำงานใด มีระดับเสียงดังมากกว่า 85 เดซิเบลเอ ก�ำหนดให้คนงานท�ำงานได้ไม่เกิน 8 ชวั่ โมงตอ่ วนั มผี ลบงั คบั ใชต้ ง้ั แต่ ปี ค.ศ. 2003 และตอ้ งรายงานระดบั การไดย้ นิ เฉลย่ี ในหู ของคนงานทค่ี วามถี่ 2,000 3,000 และ 4,000 เฮิรตซ์ มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งนอ้ ย 10 เดซิเบล จากระดับการได้ยินมากกว่า 25 เดซเิ บล (hearing level) หรอื ระดับการไดย้ ิน ปกติ การสัมผสั เสียงดังระดับ 85 - 90 เดซเิ บลเอ ตาม OSHA กำ� หนด เป็นระดับที่ต้อง มโี ปรแกรมอนุรกั ษก์ ารไดย้ ิน และแนะน�ำให้ใช้อุปกรณ์/เครอ่ื งมือป้องกนั เสยี งมาตรฐาน

28

2.4.2. ลักษณะของกราฟการไดย้ นิ (audiological features)

  1. ทุกรายจะสูญเสียการได้ยินแบบประสาทหูเส่ือม (sensorineural hearing loss : SNHL) เนอื่ งจากเสยี งดงั ผา่ นเขา้ ไปทำ� ลายหชู นั้ ใน โดยไมม่ ผี ลตอ่ หชู นั้ นอกและชนั้ กลาง จงึ ไมม่ ลี กั ษณะสญู เสยี การไดย้ นิ แบบทางนำ� เสยี งเสอื่ ม (conductive hearing loss : CHL) เมื่อเซลล์ขน (hair cells) ในหูชั้นในถูกท�ำลาย ปลายเส้นประสาทท่ีมารับสัมผัส จะถูกท�ำลายด้วย
  2. เกอื บทกุ รายจะมปี ระสาทหเู สอ่ื มทง้ั สองขา้ ง (bilaterality – symmetry HL) เนอ่ื งจากหู 2 ขา้ ง มคี วามไวพอกนั ในการเกดิ ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ ทงั้ ชนดิ ชว่ั คราว (TTS) และถาวร (PTS) จากการสัมผัสเสียงดังในท่ีท�ำงาน เสียงจะกระจายไปทุกทิศทาง แบบอสิ ระในสนามอากาศเปดิ (free field) ดงั นนั้ การทำ� ลายจงึ เกดิ ในหทู งั้ สองขา้ งพอๆ กนั หากคนงานทำ� งานในสง่ิ แวดลอ้ มทม่ี เี สยี งดงั การศกึ ษารายงานในคนงาน 246 คน พบคนงาน ประสาทหูเส่ือมในหูทั้งสองข้างร้อยละ 80 และพบคนงานสูญเสียการได้ยินแบบ ไม่สมมาตร ร้อยละ 20 สิ่งแวดล้อมในโรงงานส่วนใหญ่เป็นพื้นผิวแข็งเรียบ มักก้องกังวาน เกิดการ สะทอ้ นเสยี งมาก แบบกระจาย (reverberant) และเสยี งดงั ในโรงงาน เปน็ เสยี งเครอ่ื งจกั ร ใหเ้ สยี งความถตี่ ำ่� ความยาวคลนื่ มาก สามารถเดนิ ทางออ้ มศรี ษะไปยงั หฝู ง่ั ตรงขา้ มไดพ้ อๆ กนั ไม่เกดิ ผลศรี ษะบังเสยี ง (head shadow effect) จงึ ท�ำใหส้ ูญเสียการได้ยินในหูทง้ั สอง ขา้ งพอๆ กัน (symmetry) ในโรงละคร แสดงเสียงดนตรี หรือห้องอดั เสยี ง สิง่ แวดล้อม ไมก่ อ้ ง มวี สั ดดุ ดู ซบั เสยี ง ไมเ่ กดิ เสยี งสะทอ้ น นกั ดนตรมี กั อยขู่ า้ งเครอื่ งดนตรชี นดิ ใดชนดิ หนงึ่ เป็นการสัมผัสเสียงด้วยหูข้างเดียว และเครื่องดนตรีส่วนใหญ่มักให้เสียงกลาง หรือสูง ซง่ึ มคี วามยาวคลนื่ สัน้ ไม่สามารถเดนิ ทางอ้อมศีรษะมายงั หดู า้ นตรงข้ามได้ เกดิ ผลศรี ษะ บังเสียง (head shadow effect) ท�ำใหส้ ญู เสยี การได้ยินแบบไม่สมมาตร หรือข้างหน่ึง มากกว่าอกี ขา้ งหน่งึ ได้ (asymmetry) ตามตำ� แหน่งทยี่ ืน ลักษณะสูญเสียการได้ยินแบบไม่สมมาตร (asymmetric) มีระดับการได้ยิน ผดิ ปกตใิ นหทู งั้ สองขา้ ง แตร่ ะดบั การไดย้ นิ ไมเ่ ทา่ กนั ตา่ งกนั มากกวา่ 15 เดซเิ บล พบไดเ้ สมอ หากแหลง่ กำ� เนดิ เสยี ง อยเู่ อยี งไปดา้ นขา้ ง หรอื งานอาชพี ตำ� รวจ ทหารทต่ี อ้ งมกี ารซอ้ มยงิ ปนื ลักษณะการจับปืน และมือข้างที่ถนัด จะท�ำให้หูข้างท่ีอยู่ใกล้พานท้ายปืนยาวไรเฟิล จะสูญเสียการได้ยินมากกว่า มีอาการก่อนหูอีกข้างหน่ึง แต่ในระยะยาวการสูญเสีย

29

การไดย้ นิ จะเกดิ ในหทู งั้ สองขา้ ง อยา่ งไรกต็ าม หากตรวจพบภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ ขา้ งหนง่ึ มากกวา่ อีกข้างหน่งึ (asymmetry) ไมส่ มมาตร ควรตรวจหาสาเหตุอนื่ เสมอ โดยเฉพาะ โรคเน้อื งอกของเส้นประสาทหู (acoustic neuroma)

  1. ลักษณะกราฟสูญเสียการได้ยินตกเฉพาะจดุ 4,000 เฮิรตซ์ (The 4000-Hz. audiometric Dip) ONIHL มีลักษณะเป็นประสาทหูเส่ือมสองข้างท่ีความถี่จ�ำเพาะ โดยกราฟการได้ยนิ จะตกเฉพาะทีบ่ ริเวณความถี่ 4,000 เฮริ ตซ์ (ภาพท่ี 2.6) เกณฑร์ ะดบั การไดย้ นิ ทต่ี กจะตอ้ งตกมากกวา่ 15 เดซเิ บล เทยี บกบั ความถขี่ า้ งเคยี ง และมากกวา่ 30 เดซเิ บล พบคนงาน เพยี งรอ้ ยละ 37 ทีม่ ีกราฟการได้ยินเปน็ notch แบบน้ี ในรายทส่ี มั ผสั เสยี งดงั นาน สงู อายุ สญู เสยี การไดย้ นิ มากขน้ึ กราฟการไดย้ นิ สญู เสยี มากที่ความถี่ 8,000 เฮริ ตซ์ และขึ้นกับสเปคตรมั ของเสียงรบกวน (noise spectrum) ท�ำให้สูญเสียการได้ยินอยู่เหนือความถี่ท่ีตรวจ เช่น เคร่ืองดนตรีไวโอลินท�ำให้สูญเสีย การได้ยนิ ท่ี 8,000 เฮริ ตซ์ เป็นตน้ กราฟ 4,000-Hz. Dip แสดงการลกุ ลามแบบคลาสกิ (classic notch) ของผปู้ ว่ ย หลายรายทเี่ กดิ จากการยงิ ปืน แตก่ ารสัมผสั เสียงดงั อยา่ งต่อเนอ่ื ง (continuous noise) เชน่ โรงสี (weaving mill) โรงงานโลหะ (metal plants) มลี ักษณะคล้ายกันโดยความถ่ี ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบกอ่ นจะอยรู่ ะหวา่ ง 3,000 – 6,000 เฮริ ตซ์ เสยี งดงั บางชนดิ เชน่ โรงงาน ทำ� กระดาษ (paper making machines) อาจทำ� ลายทคี่ วามถี่ 2,000 เฮริ ตซ์ กอ่ นความถ่ี ที่สูงข้ึนไป ขณะที่เสียงจากเคร่ืองเจาะ (chipping/jackhammers) จะท�ำลายบริเวณ ความถส่ี งู กอ่ นความถต่ี ำ�่ พบการสญู เสยี การไดย้ นิ 6,000-Hz dip อยา่ งไรกต็ าม โดยทวั่ ไป ความถ่ีต�่ำกว่า 3,000 เฮิรตซ์ ไม่ค่อยถูกท�ำลายจากเสียงดังในโรงงาน โดยไม่มีความถ่ี สูงถกู ทำ� ลายกอ่ น อธิบายธรรมชาติการตอบสนองของหูชั้นในแบบ nonlinear monotonic ซง่ึ อาจเปน็ สาเหตุของ 4,000-Hz Dip เกดิ จาก ก. ความถกี่ ารสน่ั พอ้ ง (resonance) ของชอ่ งหชู นั้ นอกทคี่ วามถี่ 2,000 – 3,000 เฮริ ตซ์ เกดิ การขยายสงู สดุ และทำ� ลายสงู สดุ บรเิ วณสองเทา่ ความถี่ คอื 4,000 – 6,000 เฮริ ตซ์ การสัมผัสเสียงดังยาวนานให้ผลสูงสุดบริเวณสองเท่าของความถ่ี (one-half octave) เหนอื ความถส่ี งู สดุ ของสเปคตรมั ของเสยี งรบกวน เสยี งทกุ สเปคตรมั จะถกู ขยายทค่ี วามถี่ สนั่ พอ้ งของชอ่ งหชู นั้ นอก (2,000 – 3,000 เฮริ ตซ)์ ดงั นน้ั จงึ เกดิ notch บรเิ วณ 4,000 – 6,000 เฮริ ตซ์

30

ข. กลไกการปอ้ งกนั หชู น้ั ในจากเสยี ง โดย acoustic reflex ทำ� งานทค่ี วามถตี่ ำ่� ไดด้ ีกว่า และท�ำงานไม่ตอ่ เน่อื ง (intermittency) ค. เซลลข์ นแถวนอก (outer hair cells : OHC) มีความไวตอ่ การถกู ท�ำลาย อย่างมาก (susceptible) ต�ำแหนง่ ที่รับเสยี ง 3,000 – 6,000 เฮริ ตซ์ จะอยู่บรเิ วณฐาน ของอวยั วะ รปู กน้ หอย (cochlea) ซงึ่ โครงสรา้ งเซลลส์ นบั สนนุ (supporting structure) บรเิ วณนี้ มีเลอื ดไหลเวยี นน้อย ง. ฐานของกระดกู stapes (footplate) วางมมุ หนั (orientation) เข้าหา OHC บรเิ วณ 3,000 – 6,000 เฮริ ตซ์ นไี้ ดร้ บั แรงกระแทกจากเสยี งดงั โดยตรง ทำ� ใหก้ ลไก hydromechanic ไม่สมบูรณ์ ถา้ ไดร้ บั เสยี งดงั สม่�ำเสมออย่างตอ่ เน่อื ง (continuous noise) ภาวะสูญเสยี การไดย้ ินจากการทำ� งานที่ความถ่ี 3,000 4,000 และ 6,000 เฮริ ตซ์ จะสูงสุดในเวลา 10 - 15 ปี การสัมผัสเสียงดังต่อเนื่องเป็นแรมปีจะถูกท�ำลายมากกว่าการสัมผัสเสียงดัง ทไ่ี ม่ต่อเน่อื ง (interrupted noise) เน่ืองจากหูได้พัก พยาธิสภาพของหูชั้นในส่วนใหญ่มีการสูญเสียการได้ยินเริ่มท่ี 4,000 และ 6,000 เฮริ ตซ์ แลว้ กระจายลกุ ลามไปยงั ความถอี่ นื่ และอาจมคี วามถอ่ี น่ื ทสี่ งู กวา่ 8,000 เฮริ ตซ์ ถกู ทำ� ลายจากเสียงดังการตรวจกราฟการได้ยนิ ตามปกติ (conventional audiogram) อาจตรวจไมพ่ บ ตอ้ งใชก้ ารตรวจพเิ ศษ หรอื ความถส่ี งู พเิ ศษ (extended high frequency audiogram) 12,000 และ 18,000 เฮิรตซ์ ซึ่งเกิดจากเสียงดังลักษณะคงท่ี (steady state) หรือดังๆ หยุดๆ (interrupted noise) ซึ่งอาจต้องใช้ระดับความดังท่ีแตกต่าง จากเสียงดังกลุ่มแรก และยังไม่เป็นท่ีตกลง ส่วนเสียงระเบิด (blast trauma) จะให้ ลักษณะกราฟการได้ยินแบบอืน่ หรือตกเฉพาะจดุ 4,000 เฮิรตซ์ ก็ได้

  1. คะแนนการฟงั แยกเสยี งคำ� พดู (speech discrimination/word recognition scores) ในการตรวจการได้ยินด้วยเครื่องไฟฟ้า (audiometry) จะต้องมีการตรวจ ดว้ ยเสยี งบรสิ ทุ ธน์ิ ำ� เสยี งผา่ นทางอากาศและกระดกู (pure tone audiometry - air & bone) และการตรวจดว้ ยเสยี งคำ� พดู (speech audiometry) เสยี งบรสิ ทุ ธจิ์ ะใหร้ ะดบั การไดย้ นิ (hearing thresholds) ทางอากาศและทางกระดกู ซงึ่ มหี นว่ ยเปน็ เดซเิ บล สว่ นเสยี งคำ� พดู จะให้ระดับเร่ิมการรับฟัง (speech perception threshold) และคะแนนการฟัง

31

แยกเสยี งคำ� พูด (speech discrimination score : SDS) ซง่ึ คดิ เปน็ ร้อยละเกือบทุกราย ของภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทที่ ำ� งาน (ONIHL) ทค่ี วามถส่ี งู แมจ้ ะสญู เสยี ในระดบั รุนแรง แต่ค่าคะแนนการฟังแยกเสียงค�ำพูด (SDS) จะยังท�ำได้มากกว่าร้อยละ 85 จากการตรวจ ในห้องเงียบ หากผู้ปว่ ยทดสอบไดค้ ่า SDS ต�่ำ ให้นกึ ถึงสาเหตอุ ่นื เสมอ อาการผู้ป่วยท่ีพบบ่อยท่ีสุด ได้แก่ มีความล�ำบากในการฟังเสียงค�ำพูด โดยเฉพาะเมือ่ มีเสียงรบกวน เสียงความถ่ตี �่ำจะกลบสว่ นทรี่ ับฟังไดด้ ีของการไดย้ นิ ทำ� ให้ ค่า SDS เลวลง เสยี งคำ� พดู ผดิ เพี้ยนไป (distortion) เวลาฟงั เสยี งแหลม เชน่ เสียงผู้หญงิ หรอื เดก็ หากสญู เสยี การไดย้ นิ ในชว่ งความถเี่ สยี งคำ� พดู (speech frequency) ประมาณ 500 – 2,000 เฮริ ตซ์ คา่ SDS จะลดลงอยา่ งมากและหากสญู เสยี การไดย้ นิ ทคี่ วามถ่ี 3,000 เฮิรตซ์ ไม่มีผลต่อคา่ SDS

ภาพที่ 2.6 คา่ ประมาณ noise-induced threshold shift ท่คี วามถ่ีตา่ งๆ และระยะเวลาท่ที �ำงานสัมผสั เสยี งดงั

ภาพ A แสดงระยะเวลาช่วง 10 ปแี รก ภาพ B แสดงระยะเวลา 10 ปี ขึ้นไป

  1. การลกุ ลามของภาวะสญู เสียการไดย้ ินจากเสยี งดังในทท่ี ำ� งาน (ONIHL) เรมิ่ มี อาการเรว็ (early onset) แตล่ กุ ลามชา้ ๆ (gradual/insidious deterioration) นอกจาก ลักษณะกราฟ 4,000-Hz Dip ท้งั สองขา้ ง อาการหดู ับทนั ที (ฉับพลนั ) จะไม่เกดิ จากเสียง ดังในท่ีทำ� งาน แมใ้ นคนงานท่ีท�ำงานประจำ� ทุกวนั โดยเฉพาะหดู ับทันทขี า้ งเดียว มกั เกิด จากเสยี งระเบดิ หรอื เสยี งคลา้ ยคลงึ กนั เชน่ เสยี งฟา้ ผา่ เปน็ ตน้ ดงั นนั้ ภาวะหดู บั ฉบั พลนั ข้างเดียวหรือสองข้าง (sudden sensorineural hearing loss : SSNHL) จะตอ้ งตรวจ

32

หาสาเหตอุ ่ืนเสมอ อาจพจิ ารณาค่าประมาณ permanent threshold shifts ทคี่ วามถี่ ตา่ งๆ จากการสัมผสั เสยี งดังจากภาพท่ี 2.6 ภาวะสูญเสียการได้ยนิ จากเสยี งดงั ในท่ีทำ� งาน (ONIHL) เรม่ิ มีอาการใน 2 - 3 ปแี รกของการทำ� งานและเลวลงในเวลา 8 - 10 ปี หากทำ� งานตอ่ เนอ่ื ง แตก่ ารทำ� ลายจาก เสยี งดงั จะไมล่ กุ ลามเรว็ หรอื เพยี งเลก็ นอ้ ย แมจ้ ะสมั ผสั เสยี งดงั ตอ่ ภายหลงั การทำ� งาน 10 - 15 ปี พบไมบ่ อ่ ยทค่ี นงานทที่ ำ� งานในสถานทเี่ สยี งดงั ตอ่ เนอ่ื ง (continuous) จะมกี ารไดย้ นิ ปกติดีอยู่ประมาณ 4 - 5 ปี จากนั้นมีอาการสูญเสียการได้ยินจากเสียงดังลุกลาม อยา่ งรวดเร็ว (progressive HL) เปน็ อยา่ งมากในระยะ 10 - 15 ปี ลักษณะตกเฉพาะจุด (notch) จะหายไปและสูญเสยี การไดย้ ินทค่ี วามถีส่ ูง 8,000 เฮิรตซ์ มากขน้ึ คนงานเกษยี ณอายหุ ลงั 60 ปี หากอาการสญู เสยี การไดย้ นิ เปน็ มากขนึ้ โดยไม่ กระทบเสยี งดงั อกี มกั ไมเ่ กยี่ วขอ้ งกบั งานเดมิ เชน่ เดยี วกบั คนงานทส่ี วมอปุ กรณป์ อ้ งกนั เสยี ง อยา่ งถกู ตอ้ งและสมำ�่ เสมอ แตเ่ กดิ ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ หรอื เปน็ มากขน้ึ มกั ไมเ่ กย่ี วขอ้ ง กับการสมั ผัสเสยี งดังในสถานท่ที �ำงาน ONIHL เมื่อหยดุ สัมผัสเสยี งดงั การได้ยินจะไม่เปลี่ยนแปลงเลวลง คนงานท่ี สญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งานอยเู่ ดมิ จะไมม่ คี วามไวมากขนึ้ ตอ่ เสยี งดงั ขณะที่ ระดับการได้ยินสูงข้ึนหรือหูตึงมากขึ้น แต่อัตราสูญเสียการได้ยินหรือการเปล่ียนแปลง การได้ยนิ ตอ่ ปจี ะลดลง

ภาพท่ี 2.7 ค่าประมาณ permanent threshold shifts ท่ีความถีต่ า่ งๆ จากการสมั ผัสเสยี งดงั เปน็ ระยะเวลานานกวา่ 10 ปี

33

  1. ภาวะสูญเสียการได้ยินแบบ asymptotic หมายถึง ภาวะสูญเสียการได้ยิน จากเสยี งดังในทท่ี ำ� งาน (ONIHL) เกิดจากเสยี งเฉพาะ ทำ� ให้สูญเสยี การไดย้ นิ ความถ่สี ูง ระดับรุนแรงมาก เชน่ เคร่ืองเจาะถนน (jackhammers) เปน็ ต้น โดยการได้ยินทค่ี วามถี่ ต่ำ� จะเสยี เพียงเล็กนอ้ ย คนงานในสถานทเี่ สยี งดงั ระดบั 92 เดซเิ บลเอ ทำ� งานนานหลายปี อาจสญู เสยี การไดย้ นิ มากกวา่ 20 เดซเิ บล ทคี่ วามถต่ี ำ่� และเมอ่ื สญู เสยี การไดย้ นิ ความถสี่ งู ในระดบั หนง่ึ จะไมส่ ูญเสยี การไดย้ นิ ท่ีความถต่ี �ำ่ เพม่ิ ขนึ้ ส่วนคนงานจ�ำนวนมากท่ีท�ำงานในโรงงานทอผ้า เครื่องหูกทอผ้า (weaving looms) ใหร้ ะดบั การสญู เสยี การไดย้ นิ เฉลย่ี ประมาณ 40 เดซเิ บล ในชว่ งความถเี่ สยี งคำ� พดู ไม่มากกว่าน้ี หากคนงานที่มีระดับการสูญเสียการได้ยินมากกว่าลักษณะเฉพาะส�ำหรับ เสยี งดงั ลักษณะเดียวกนั ใหน้ กึ ถงึ สาเหตุอืน่ ONIHL เกอื บทง้ั หมด จะไมส่ ญู เสยี การไดย้ นิ รนุ แรงถงึ ระดบั หนวกสนทิ (profound HL) ขดี จำ� กดั ของการสญู เสยี การไดย้ นิ ทค่ี วามถตี่ ำ่� ไมค่ วรมากกวา่ 40 เดซเิ บล และขดี จำ� กดั การสญู เสียการได้ยนิ ท่ีความถ่สี ูงไมค่ วรมากกว่า 75 เดซิเบล
  2. เสยี งดงั รบกวนในหู (tinnitus) มกั เกดิ รว่ มกบั ONIHL มลี กั ษณะเปน็ เสยี งแหลม คลา้ ยเสียงกริง่ (ringing) หรอื เสียงต�ำ่ ห่งึ ๆ (buzzing) คลา้ ยลม (blowing) เสียงซ่าๆ (hissing) หรอื ไมค่ ลา้ ยเสยี ง (non-tonal) เชน่ เสยี งดงั ปอ๊ กๆ (popping) คลกิ๊ ๆ (clicking) ในหู เปน็ ตน้ เสยี งดังรบกวนมกั จะเขา้ คู่ได้ (match) กับความถี่ของการสญู เสียการได้ยนิ และระดับความดงั ประมาณ 5 เดซิเบล เหนือระดบั การไดย้ ิน

34

2.5 ปจั จัยท่ีมผี ลตอ่ การเกดิ โรคสูญเสียการไดย้ นิ แหลง่ ทม่ี าของเสียงดังในโลกปจั จุบัน (modern world) ระดบั เสียงดงั ท่ีอาจเปน็ อันตรายต่อการได้ยิน นอกจากในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ พบได้ในงานอาชีพอื่นๆ และในชวี ิตประจ�ำวันซ่งึ มีผล ต่อ ONIHL ที่สำ� คญั ไดแ้ ก่

2.5.1 งานอาชีพอน่ื

  1. งานในกองทัพ เสียงดังรบกวนมาก ได้แก่ รถถัง

เครอ่ื งบนิ ไอพน่ ระเบดิ ปนื ใหญ่ปนื อนื่ ๆเครอ่ื งมอื หนกั เสียงสัญญาณต่างๆ มีรายงานภาวะสูญเสีย การไดย้ นิ ในนกั ศึกษาวชิ าทหาร และนกั บนิ ไอพน่

  1. งานเหมืองแร่ ไดแ้ ก่ เครอ่ื งมอื กอ่ สรา้ ง ท�ำเหมือง เครื่องขดุ เจาะ ระเบดิ
  2. งานดา้ นการดนตรี ไดแ้ ก่ เครอื่ งดนตรี เครอ่ื งขยาย เสียง ลำ� โพง การฟัง การแสดงดนตรีสด การเล่น ดนตรีเองทั้งระดับอาชพี และสมคั รเลน่
  3. เสียงและความดันจากลม (wind noise/wind pressure) ได้แก่ เสียงลมปะทะหูขณะขับขี่ รถจกั รยานยนต์ (motor cycling) รายงานผลสำ� รวจ การไดย้ นิ ในผขู้ บั ขรี่ ถจกั รยานยนต์
  4. งานขนส่ง รายงานผลส�ำรวจการได้ยินในผู้ขับข่ี เรือหางยาว
  1. การจราจร รายงานผลการไดย้ ินในตำ� รวจจราจร
  1. ในฟารม์ ทมี่ ีการใชเ้ ครื่องมอื ชนดิ ตา่ งๆ

35

2.5.2 เสยี งในชวี ติ ประจ�ำวัน

  1. อปุ กรณเ์ ลน่ ดนตรแี บบพกพา (portable players : MP3) พบเปน็ ปญั หามากทสี่ ดุ เนอ่ื งจากอปุ กรณเ์ ลน่ ดนตรแี บบพกพา ทกุ ชนดิ สามารถนำ� ตดิ ตวั ไปทกุ ที่ การเปดิ ฟงั ในสิ่งแวดล้อม เสียงดังยิ่งเพ่ิมความดังเคร่ืองเล่น บางรุ่นให้กำ� ลงั ขยายออก สงู สดุ (output gain) มากกวา่ 130 เดซเิ บล (peak SPL) หากใช้ หูฟงั ชนดิ supra-aural headphones คำ� นวณคา่ ปรมิ าณเสยี งทไี่ ดร้ บั สงู สดุ (maximum noise dose) ทค่ี วรไดร้ บั อาจถงึ ในเวลา 1 ช่ัวโมง ที่ฟังด้วยระดับความดังร้อยละ 70 ของกำ� ลงั ขยายสงู สดุ ดงั นนั้ หากใชห้ ฟู งั รนุ่ supra-aural แนะนำ� ใหจ้ ำ� กดั การใชง้ านไมเ่ กนิ 1 ชั่วโมงต่อวัน โดยให้เปดิ ความดังเพียงรอ้ ยละ 60 ของก�ำลังขยายสงู สดุ
  1. เสยี งประทดั -พลุ วนั ตรษุ จีน วนั เฉลมิ ฉลองต่างๆ

2.6 การตรวจการได้ยนิ (hearing evaluation) และข้อจำ� กัดของกราฟการไดย้ นิ (limitation of the audiogram) คนงานตอ้ งพกั งานไมส่ มั ผสั เสยี งใดๆ อยา่ งนอ้ ย 12 ชว่ั โมงกอ่ นการตรวจการไดย้ นิ การตรวจครั้งแรกเป็นข้อมูลเบื้องต้น (baseline data) ควรตรวจในระยะ 6 เดือน หลังเรมิ่ งาน ไมค่ วรเกิน 1 ปี จากน้ันเปน็ การตรวจตดิ ตาม หากบริเวณที่ท�ำงานมเี สยี งดงั เกนิ ทก่ี ฎหมายกำ� หนด ใหค้ นงานสวมอปุ กรณป์ อ้ งกนั เสยี งใหถ้ กู ตอ้ งสมำ่� เสมอหลงั 6 เดอื นแรก โดย OSHA อนุญาตให้ฝกึ เจา้ หน้าท่เี ทคนิคตรวจการไดย้ นิ ได้ 2.6.1 การตรวจการไดย้ นิ (hearing evaluation) มกั ใชช้ ดุ ตรวจประเมนิ การไดย้ นิ (audiometric test battery) เปน็ การประเมนิ ในเชิงปรมิ าณ (quantitative means) มีท้ังแบบต้องใช้ความร่วมมือ (subjective) และไม่ต้องการความร่วมมือของคนงาน (objective)

36

  1. การตรวจระดบั การไดย้ นิ โดยใชเ้ ครอ่ื งตรวจวดั การไดย้ นิ แบบใชไ้ ฟฟา้ ดว้ ยเสยี งบรสิ ทุ ธ์ิ (pure tone) ผ่านทางอากาศ และกระดกู หลังหู (air bone conduction) การตรวจ ดว้ ยเสียงค�ำพดู เพือ่ หาระดบั เร่มิ การรบั ฟัง (speech perception threshold : SPT) มีคา่ เปน็ เดซเิ บล และคะแนนการฟงั แยกเสยี งค�ำพดู (speech discrimination score : SDS) มีคา่ เปน็ รอ้ ยละ เคร่ืองตรวจวัดการได้ยินแบบใช้ไฟฟ้า จะต้องได้รับการตรวจปรับมาตรฐาน (calibration) ภายในระยะเวลา 1 ปีตามมาตรฐาน ANSI
  2. เครือ่ งตรวจวดั เสียงสะทอ้ นจากหชู ัน้ ใน (otoacoustic emissions : OAEs) ทั้งชนิด transiently-evoked และ distortion product อาจมปี ระโยชนใ์ นการตรวจ คดั กรองได้ แตเ่ รม่ิ ในผปู้ ว่ ยทม่ี ผี ลตรวจการไดย้ นิ จากกราฟการไดย้ นิ ปกติ แตเ่ ซลลข์ นแถวนอก (outer hair cells : OHCs) ถกู กระทบ สามารถตรวจพบการเปล่ียนแปลงของ OAEs กอ่ นการเปลย่ี นแปลงของกราฟการไดย้ นิ จงึ ควรพจิ ารณาใหเ้ ปน็ การตรวจหลกั ในชดุ ตรวจ ประเมินการได้ยิน เนือ่ งจากค่าความแปรปรวนของ OAEs ในตวั คนงานแต่ละคนมีน้อย (intra-subject variability) ใชต้ ดิ ตามระยะยาวได้ OAEs จะใชไ้ ดด้ ใี นรายทมี่ ภี าวะสญู เสยี การได้ยินถาวรจากประสาทการได้ยินเส่ือมระดับน้อย 40 เดซิเบล ณ ระดับการได้ยิน (hearing level : HL)
  3. acoustic reflex เป็นปฏิกิริยาตอบสนองหดตัวของกล้ามเนื้อ stapedius เมอ่ื มเี สยี งดงั มากกวา่ 90 เดซเิ บลเอเขา้ หู เพอ่ื ปดิ กนั้ เสยี งไมใ่ หเ้ ขา้ สหู่ ชู น้ั ในมากเกนิ (dampen) ตอบสนองไดด้ ีกับเสยี งความถี่ตำ่� มีระยะแฝง (latency) 25 - 150 มลิ ลวิ ินาที (msec.) ท�ำให้ตอบสนองกับเสียงกระแทก (impulse) ไม่ดีเท่าเสียงดังต่อเนื่อง สามารถตรวจ การทำ� งานโดยเครอ่ื งตรวจวดั การทำ� งานของหชู น้ั กลาง(acoustic impedance audiometer)
  4. Electrocochleography (ECochG) ตรวจการท�ำงานของหูช้ันใน รายงาน ในการตรวจนกั ดนตรพี บความไวและความจำ� เพาะ รอ้ ยละ 82 และ 96 ตรวจพบความผดิ ปกติ ไดเ้ รว็ ภายหลังไดร้ บั เสียงดัง 90.3 เดซเิ บลเอ หากตรวจพบระดบั การได้ยินเปลย่ี นแปลง 10 เดซเิ บล ทค่ี วามถ่ี 2,000 3,000 และ 4,000 เฮริ ตซ์ เกดิ standard threshold shift (STS) ทำ� การปรบั คา่ มาตรฐานตามอายุ (age - adjusted) ในแต่ละความถ่ี (ตารางที่ 2.2 และ 2.3) ตรวจซำ�้ ใน 30 วัน หากพบ

37

ระดับการไดย้ ินเปล่ียนแปลง 10 เดซิเบลจริง ตอ้ งพจิ ารณาระบบปอ้ งกนั มีการกระท�ำ ทีเ่ หมาะสม (Take action)

ตารางท่ี 2.2 ค่ามาตรฐานระดับเสยี งรบกวน sound pressure levels (dB SPL) สูงสุดทย่ี อมรับได้ในแต่ละความถใ่ี นห้องตรวจการไดย้ นิ

ความถ่ี (เฮริ ตซ)์ 500 1000 2000 4000 8000 ระดับเสยี ง (dB SPL) 40 40 47 57 62

ตารางที่ 2.3 ตัวอย่างการพิจารณาการเปลย่ี นแปลงการไดย้ ิน standard threshold shift (STS)

ผลตรวจการไดย้ นิ ภายหลงั การทำ� งาน 30 ปี 2,000 ความถี่ (เฮริ ตซ์) 3,000 4,000 คา่ เฉลี่ย

ประจ�ำปี hearing @ 58 years old 30 35 40 35 presbycusis adjustment ระดับการได้ยนิ ปรบั ตามอายุ 12 22 31 18 13 9 13.3

พื้นฐาน hearing @ 28 years old 5 10 10 8.3 presbycusis adjustment ระดบั การได้ยินปรบั ตามอายุ 346 4 264

ระดับการได้ยนิ เปล่ียนแปลง: 35 – 8.3 = 26.7 เดซิเบล ระดบั การได้ยินเปลีย่ นแปลงจริง: 13.3 – 4 = 9.3 เดซิเบล

2.6.2 ขอ้ จำ� กัดของกราฟการไดย้ ิน (limitation of the audiogram) สาเหตุอ่นื ของกราฟ 4,000 - Hz Dip ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ ตกเฉพาะจดุ 4,000 เฮริ ตซ์ แมจ้ ะเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทเ่ี กดิ จาก เสียงดังแต่ไม่ทั้งหมด เพราะรอยโรคของหูชั้นในอื่นอาจมีลักษณะกราฟการได้ยิน

38

แบบเดยี วกนั ได้ ทำ� ใหว้ นิ จิ ฉยั ผดิ พลาดได้ ลำ� พงั เฉพาะลกั ษณะกราฟ ไมเ่ พยี งพอในการวนิ จิ ฉยั ONIHL อย่างน้อยต้องมีประวัติสัมผัสเสียงดังในที่ท�ำงานระยะเวลานานพอ และระดับ เสยี งดงั พอจะทำ� ใหส้ ญู เสยี การไดย้ นิ หากไมม่ ปี ระวตั ิ หรอื ประวตั ไิ มช่ ดั เจน หรอื ไดป้ ระวตั ิ สาเหตุอื่น ต้องท�ำการตรวจเพ่ิมเติมเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของการสูญเสียการได้ยินนั้น แพทยแ์ ละผเู้ กย่ี วขอ้ งควรทำ� ความเขา้ ใจวา่ เปน็ ไปไมไ่ ดท้ จ่ี ะลงความเหน็ วา่ ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดังในท่ีทำ� งาน หรอื ตัดสาเหตอุ น่ื ออกไดอ้ ย่างสมบูรณท์ ัง้ หมดเสมอไป หากสัมผัสเสียงดังระดับรุนแรงเพียงพอ และไม่พบสาเหตุอื่นที่อธิบายได้ ร่วมกับกราฟ การได้ยินที่สนับสนุน (4,000-Hz Dip audiogram) แพทย์ย่อมสามารถให้การวินิจฉัย ภาวะสญู เสยี การไดย้ ินจากเสียงดงั ในทท่ี ำ� งานไดอ้ ย่างสมเหตุผล สาเหตุอ่นื ของกราฟ 4,000-Hz Dip ได้แก่

  1. หูช้ันในอักเสบจากเชื้อไวรัส (viral cochleitis) อาจให้อาการสูญเสีย การไดย้ ินแบบช่วั คราว (TTS) หรือถาวร (PTS) โดยมีลกั ษณะกราฟการไดย้ นิ ตา่ งกนั ไป รวมทงั้ กราฟ 4,000-Hz Dip รว่ มกบั อาการเสยี งดงั รบกวนในหู (tinnitus) และอาการแนน่ หู (aural fullness) ทตี่ า่ งจากการเปน็ หวดั ธรรมดาทพี่ บบอ่ ย คอื การตดิ เชอ้ื ทางเดนิ หายใจ ส่วนบน (upper respiratory infection) นอกจากน้ีในโรคหัดเยอรมัน (Rubella) โรคหัด (Measles) คางทมู (Mumps) ไวรัส Herpes และอน่ื ๆ
  2. ภยันตรายท่ีศีรษะ (head/skull trauma/concussion) อาจเกิดจาก อุบตั ิเหตขุ ณะทำ� งานโดยตรง หรือโดยออ้ มจากแรงระเบิด (explosion) ความดนั อากาศ ทก่ี ระแทกเขา้ หู (impulsion/ barotrauma) ระดบั รนุ แรงทำ� ใหก้ ระดกู temporal แตก มีผลต่อหูช้ันใน อาจท�ำให้สูญเสียการได้ยินระดับรุนแรงมาก ถึงหนวกสนิททุกความถี่ ภยนั ตรายระดบั เล็กนอ้ ยอาจเพยี งท�ำให้เกิดการชำ้� (concussion) ของหูชน้ั ในท�ำให้เกิด กราฟ 4,000-Hz Dip ชว่ั คราวหรอื ถาวรได้ ซงึ่ มลี ักษณะพยาธิสภาพคล้ายกบั ถกู ทำ� ลาย ดว้ ยเสยี งดงั หรอื อาจเกดิ รว่ มกบั ภาวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากทางนำ� เสยี งเสอื่ ม (conductive HL) เนื่องจากการกระทบกระเทือนของกระดูกหูชั้นกลางหลุดจากการยึดเกาะหรือ เยื่อแก้วหูฉีกขาด
  3. การสูญเสียการได้ยินจากเหตุพันธุกรรม (hereditary hearing loss) ผปู้ ว่ ยหลายรายอาจไมม่ ปี ระวตั สิ ญู เสยี การไดย้ นิ ในสมาชกิ ครอบครวั หรอื อาจเกดิ จากยนี

39

ลกั ษณะดอ้ ย (autosomal recessive gene) แตล่ กั ษณะกราฟ 4,000-Hz Dip พบไดบ้ อ่ ย อาจต้องทดสอบยีนหรือดเี อ็นเอ ในผ้ปู ว่ ยท่ีสงสัย หรืออายุน้อย

  1. สารพษิ ตอ่ หู (ototoxicity) ยาทใ่ี ชบ้ อ่ ยและมพี ษิ ตอ่ หชู นั้ ใน คอื ยาตา้ นจลุ ชพี กลมุ่ Aminoglycoside ยาขบั ปสั สาวะ เคมีบำ� บัด และแอสไพรินขนาดสงู จะพบภาวะ สูญเสียการได้ยินท่ีความถ่ีสูงบ่อย และลุกลามในระดับรุนแรงมาก แต่อาจพบลักษณะ กราฟ 4,000-Hz Dip ไดเ้ ชน่ กนั ตวั ยาแอสไพรนิ จะเปน็ พษิ ตอ่ หใู นขนาดยาทส่ี งู มาก แตกตา่ ง จากกลมุ่ อนื่ คอื จะสญู เสยี การไดย้ นิ ชวั่ คราวและกลบั เปน็ ปกตไิ ดห้ ลงั จากหยดุ ยา (reversible)
  2. โรคเนอ้ื งอกของเสน้ ประสาทหู (acoustic neuroma) อาจพบการได้ยนิ ตง้ั แตร่ ะดบั ปกตถิ งึ หหู นวกสนทิ (profound deafness) แตล่ กั ษณะกราฟ 4,000-Hz Dip กพ็ บไดไ้ มย่ าก ลกั ษณะเดน่ จะมคี า่ SDS ตำ�่ และกราฟการไดย้ นิ ไมส่ มมาตร (asymmetry) ควรคดิ ถงึ โรคเนอ้ื งอกของเสน้ ประสาทหู แมจ้ ะมปี ระวตั สิ มั ผสั เสยี งดงั ผปู้ ว่ ยภาวะสญู เสยี การได้ยินจากเสียงดังในท่ีท�ำงานหลายราย ที่การฟื้นตัวในหูสองข้างไม่เท่ากัน หรือฟื้น ข้างเดียว เน่ืองจากเส้นประสาทมีเน้ืองอกอยู่ การตรวจการได้ยินแบบพิเศษ (special audiometry) ชนิด tone decay อาจตรวจไม่พบความผิดปกติ และเชื่อถือได้น้อย ในการแยกพยาธสิ ภาพหลงั หชู น้ั ใน (retrocochlear) ออกจากหชู น้ั ใน (cochlear) การตรวจ ด้วยเคร่อื งตรวจวดั การไดย้ นิ ระดบั ก้านสมอง (auditory brainstem response : ABR) ร่วมกบั เครือ่ งตรวจวัดเสียงสะท้อนจากหูชน้ั ใน (OAEs) จะแยกพยาธสิ ภาพไดด้ กี วา่
  3. โรคหดู บั ฉบั พลนั (sudden hearing loss) มกั พบเปน็ ขา้ งเดยี ว (unilateral) และไมท่ ราบสาเหตุ แต่อาจมอี าการในหทู ้ังสองขา้ งได้ (bilateral) และมีลักษณะกราฟ 4,000-Hz Dip ได้ เนื่องจากเย่ือบางของหูชั้นในฉีกขาด หรือแตกท�ำลายจากความดัน อากาศ (barotrauma)
  4. โรคปลอกห้มุ เส้นประสาทเสือ่ ม (multiple sclerosis) เกิดจากปลอกหมุ้ ทางเดนิ เสน้ ประสาทส่วนกลางสลายตวั ไป (demyelination) มีอาการสญู เสยี การไดย้ นิ ชนิดประสาทหูเสื่อมได้ในหลายรูปแบบ ลักษณะ และอาจมีอาการเปล่ียนแปลงขึ้นลง (fluctuating) จากภาวะสูญเสียการได้ยนิ ระดับรุนแรง กลับมาเปน็ ปกตไิ ด้ และอาจพบ ลักษณะกราฟ 4,000-Hz Dip ได้
  5. สาเหตอุ ่ืนทีอ่ าจใหล้ ักษณะกราฟ 4,000-Hz Dip เชน่ โรคไขเ้ ยื่อหมุ้ สมอง อกั เสบ (meningitis), สารพษิ ชนดิ ตา่ งๆ ในรา่ งกาย (systemic toxins) โรคทางเมตาบอลกิ

40

(เบาหวาน ไทรอยด์ รูมาตอยด์ โรคแพ้ภมู ิตัวเอง ไขมันในเลือดสงู ) ภาวะขาดออกซเิ จน ในทารกแรกเกิด (neonatal hypoxemia) และภาวะตวั เหลืองในเดก็ ทารก (jaundice) ประสาทหเู สอื่ มวยั ชรา(presbycusis)ความดนั นำ�้ ในหมู ากผดิ ปกติ(Meniere’sdisease)เปน็ ตน้

2.7 ประวัตสิ ัมผัสเสียงดงั ในโรงงาน (noise exposure history) เสยี งทคี่ วามถใ่ี ดใด และระดบั ความดงั ใดใด จะตอ้ งใชร้ ะยะเวลาหนง่ึ ในการทำ� ให้ เกดิ ภาวะสญู เสียการไดย้ ินในคนงานสว่ นใหญ่ ซึ่งอาจไมเ่ ทา่ กนั ในคนงานแต่ละคน 2.7.1 การสมั ผสั เสยี งดังเพยี งพอ ไมใ่ ช่ไดจ้ ากประวตั เิ ทา่ นัน้ คนงานโรงงานทอผ้า (weaving looms) โรงงานท�ำกระดาษ (papermaking machines) เครอื่ งต้มแรงดันสงู เครอื่ งรดี โลหะ (sheet metal) เครอื่ งเจาะถนน (jackhammers) เครอื่ งบดหนิ (chippers) และอน่ื ๆ ทค่ี ลา้ ยกนั คนงานเกอื บทกุ คนจะมภี าวะสญู เสยี การไดย้ นิ จากเสยี งดงั ในทท่ี ำ� งาน เครอื่ งมอื บางชนดิ แมค้ นงานบางรายสมั ผสั เพยี งเลก็ นอ้ ยกม็ ภี าวะสญู เสยี การไดย้ นิ ชดั เจน ดงั นน้ั แพทยจ์ ำ� เปน็ ตอ้ งไดข้ อ้ มลู ทช่ี ดั เจนจากประวตั กิ ารทำ� งานจากรายงานของนายจา้ ง คา่ เฉลี่ยการสมั ผสั เสียงตามระยะเวลา (time-weighted average : TWA) แพทยค์ วร พิจารณาขอ้ มูลก่อนใหก้ ารวนิ ิจฉยั และทบทวนการศึกษาในโรงงาน ระดับเสียงดัง 85 - 90 เดซิเบลเอ ไม่ใช่ระดับเสียงที่จะเป็นสาเหตุของภาวะ สญู เสยี การไดย้ นิ ในชว่ งความถเี่ สยี งคำ� พดู (speech frequency) แมจ้ ะสมั ผสั กบั เสยี งดงั มานาน ดังนั้นควรตรวจหาสาเหตุอ่ืน ซึ่งอาจมีอาการโดยไม่เก่ียวกับงานท่ีท�ำ ท�ำให้เข้าใจผิด วินจิ ฉยั พลาด ไม่เหมาะสมและการรบี รอ้ นในการวนิ จิ ฉยั ONIHL 2.7.2 ค�ำว่า “ความไวต่อเสียงดัง” (biological hypersensitivity) มักใช้ผิด และต้องการค�ำอธิบาย แพทย์หลายทา่ น เช่ือวา่ ภาวะประสาทหูเสอ่ื มในผู้ปว่ ยบางราย เกดิ จากหขู องคนคนนน้ั มคี วามไวตอ่ เสยี งแมร้ ะดบั เสยี งจะนอ้ ยกวา่ หรอื เทา่ กบั 85 เดซเิ บลเอ ซง่ึ เปน็ ไปไมไ่ ด้ แมจ้ ะสมั ผสั เสยี งดงั ในระดบั น้ี เปน็ เวลานานกไ็ มท่ ำ� ใหม้ กี ารสญู เสยี การไดย้ นิ ทเี่ ปน็ ปัญหาผดิ ปกติรุนแรงในช่วงความถีเ่ สยี งคำ� พูด

41

“ความไวต่อเสียงดัง” ไม่ได้หมายถึง บุคคลใดที่สัมผัสเสียงดังระดับต่�ำกว่า 90 เดซิเบลเอ แล้วเกิดภาวะประสาทหูเสื่อม แต่หมายถึงกลุ่มของคนงานที่สัมผัสเสียงดัง มากกว่า 90 เดซเิ บลเอ เปน็ ประจ�ำ โดยไม่ใชเ้ ครอื่ งหรืออุปกรณ์ป้องกนั เสียง ใน 100 คน จะมเี พยี ง 2 - 3 คน ทมี่ ภี าวะประสาทหเู สอ่ื มระดบั เลก็ นอ้ ยหรอื ไมม่ ภี าวะประสาทหเู สอ่ื มเลย (hard ears) ขณะทคี่ นงานสว่ นใหญม่ ภี าวะประสาทหเู สอ่ื มรนุ แรงพอประมาณ และบางคน 2 - 3 คน จะมีภาวะประสาทหูเสื่อมระดับมากกว่าคนอ่ืน (soft ears) จากภาวะ “ความไวต่อเสียงดงั ” (hypersensitive) ลกั ษณะเดน่ ใน ONIHL แมค้ นงานจะทำ� งานในโรงงานทม่ี เี สยี งดงั ทสี่ ดุ เปน็ เวลานาน ก็จะไม่มีภาวะประสาทหูเส่ือมรุนแรงมากหรือหนวกสนิทในช่วงความถ่ีเสียงค�ำพูด โดยมผี ใู้ หค้ ำ� อธบิ ายงา่ ยๆ วา่ ภาวะประสาทหเู สอ่ื มสามารถปอ้ งกนั เสยี งดงั ทจ่ี ะมากระทบ ภายหลังไปในตัว ซ่ึงเสียงที่หูไม่ได้ยินจะไม่เป็นอันตรายต่อหูน้ันอีก หากผู้ป่วยสัมผัส เสยี งดังตอ่ แมเ้ สยี งดังมากจะไม่ท�ำอันตรายต่อหเู พิ่มขึน้ นน่ั คอื คนหตู ึงไมไ่ ด้ยินเสียงดงั พอทจี่ ะทำ� ลายหู ดงั นน้ั หากคนงานมคี วามผดิ ปกตขิ องการไดย้ นิ ในชว่ งความถเี่ สยี งคำ� พดู อย่างรนุ แรง ควรตรวจหาสาเหตุอื่น 2.7.3 ประวตั กิ ารใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั เสยี ง ระยะเวลา ประสทิ ธผิ ล (effectiveness) การสมั ผัสเสยี งดัง ชนิดของเสยี ง เสยี งท่ดี ังตอ่ เนอื่ ง (continuous) เสียงท่ีดงั เปน็ ระยะ ไม่ตอ่ เนอ่ื ง (intermittent) ปรมิ าณเสียงทีไ่ ด้รบั ต่อระยะเวลา (dosage of exposure) เวลาทำ� งานในแตล่ ะวนั ปที ที่ ำ� งาน และเสยี งทสี่ มั ผสั นอกเวลางาน (recreational noise) เชน่ ยงิ ปนื ขบั รถมอเตอรไ์ ซด์ รถมอเตอรไ์ ซดห์ มิ ะ เลอ่ื ยไฟฟา้ เครอ่ื งยนตก์ ำ� ลงั เครอื่ งตดั หญา้ ไถนา เรอื หางยาว สวา่ นไฟฟา้ เป็นตน้ อาจสนบั สนนุ ให้ ONIHL มอี าการมากขน้ึ แนะนำ� ให้ใช้อปุ กรณป์ ้องกันเสยี ง 2.7.4 เสยี งทดี่ งั ยาวนานตอ่ เนอ่ื ง (continuous noise) จะมอี นั ตรายมากกวา่ เสยี ง ท่ีดังๆ หยุดๆ และการสัมผัสเสียงดังตลอดเวลา (continue exposure) ก็มีอันตราย มากกวา่ หากมีระยะพกั หูช้ันในจะถูกทำ� ลายลดลง

42