ค ม อ extension สำหร บงานก อสร าง

  • 1. Extension เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสรางโมเดลสามมิติและถอดปริมาณวัสดุ (Quantity Takeoff)
  • 2. ม.อ.ก. PART-01
  • 3. FACE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับ Face EXTEND TO STRUCTURE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับชิ้นสวนอื่น GROW TO FACE คําสั่งเพื่อยืด Group/Component ใหวิ่งไปชนกับ Face ที่ตองการ COMBINE EACH คําสั่งสําหรับการรวม Group/Component เขาดวยกัน TABLE EDITOR สราง/ปรับแก ตารางมาตรฐานเหล็กหรือโครงสรางตางๆ QUERY ATTRIBUTE แสดงคา Attribute ของ Group/Component ที่สรางขึ้น BST SOLID FROM FOOT PRINT ใชสราง Group จาก Footprint PROFILE SCHEMA EDIT สําหรับตรวจสอบการใสคาตัวแปรตางๆ 1) คลิ๊กที่ SHOW_TOOLS แสดงชื่อหมวดของ Structure ตางๆ Structure ที่อยูในหมวดตางๆ คําสั่งสําหรับจัดการขอมูลทั้งหมด 2) คลิ๊กที่ Load เพื่อเปด Database ที่ตองการ 3) คลิ๊กที่ Sample_pflist_japan เพื่อโหลด Structure ตามมาตรฐานของญี่ปุนหรือ JIS 4) คลิ๊ก Open
  • 4. Add Row เพื่อสราง Database ใหม ตรงตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 6) คลิ๊ก DELETE ROWS เพื่อลบ Database ทั้งหมด 8) คลิ๊กตําแหนงนี้เพื่อเลือกหนาตัดของ Structure 9) เลือกหนาตัดของเหล็กกลอง 10) พิมพ " SHS-100x100x3.2-9.52 kg/m เพื่อสรางเหล็กกลองขนาดหนาตัด 100x100 มม. หนา 3.2 มม. โดยมีน้ําหนักเฉลี่ยเทากับ 9.52 กก./ม. 11) จากนั้นคลิ๊ก Add Row เพิ่มเติม จากนั้น เพิ่มหนาตัดเหล็กกลองเพิ่มอีก 1 ตัว โดยพิมพ "SHS-50x50x3.2-4.5 kg/m"
  • 5. (TSV) AS เพื่อ Save Database เก็บไวใชในภายหลัง 13) พิมพ "มาตรฐาน TIS" เพื่อสรางไฟล Database ของวัสดุตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 14) คลิ๊ก Save จากนั้นปดหนาตาง ทั้งหมด 15) คลิ๊ก SHOW_TOOLS 16) คลิ๊ก OK 17) คลิ๊ก Property 17) เลือกหนาตัดเหล็กกลอง 18) เลือกเหล็กกลองขนาด 100x100x3.2-9.52 kg/m 19) คลิ๊กที่บริเวณนอกกรอบ 1 ครั้งเพื่อปดหนาตาง
  • 6. By Clicks เพื่อเริ่มตน การสราง Structure ของเหล็กกลอง 21) คลิ๊กเสนเสนในแนวดิ่งดังภาพเพื่อสรางโครงสราง ของเหล็กกลอง 22) คลิ๊กขวา เพื่อเปด Entity Info 23) สังเกตชื่อของเหล็กกลองถูกสรางขึ้นมา ทําการ Copy ชื่อของ Component ไวโดยการเลือก ชื่อทั้งหมดแลวกด Ctrl+C 24) คลิ๊กขวาที่ Component 25) คลิ๊กที่ Explode เพื่อทําการระเบิด Component 26) เลือกชิ้นสวนดานบนสุดแลว กด Delete หรือลบทิ้ง 27 ถาทําถูกตองเราจะไดหนาตัดเหล็กดังภาพ
  • 7. ของเหล็กอื่นๆ เพิ่มเติมดังภาพ เชน เหล็กฉาก เหล็กตัวเอช เหล็กรางน้ํา และเหล็กรูปตัวซี เปนตน WORK SHOP 01 ทดลองการใช T2HBuilding Structure Tool สรางเหล็กรูปพรรณขนาดตางๆ กัน
  • 8. Database เก็บไวใชงานดวย Extension ที่ชื่อวา Profile Builder 2
  • 9. ใชสําหรับการปรับแก Profile Member Trim to Face ใชสําหรับตัด Profile Member เขา กับ Face ที่เราเลือกไว Trim to Solid ใชสําหรับตัด Profile Member เขา กับ Solid Group/Component ที่เราเลือกไว Extend Tool ใชสําหรับการยืดและหด Profile Member Smart-Patch Select ใชสราง Profile Member จากเสนที่เราเลือก สวนที่ใชในการหาปริมาณและราคา สวนที่ใชในการปรับแก/เปลี่ยนแปลง Profile Member สวนที่ใชในการสราง Profile Member Assembler Dialog ใชสําหรับสรางชิ้นสวนงานที่ซับซอน แบบ Auto คลาย Dynamic Component Profile Builder Dialog ใชสําหรับสราง Profile 1) สรางวงกลมเสนผาศูนยกลาง 60.5 มม. 2) Offset ใหมีความหนา 3.2 มม. เพื่อสราง Profile ของทอเหล็กกลมขนาด 2" หนา 3.2 มม.ดังภาพ 3) ลบ Face ตรงกลางออก เมื่อแลวเสร็จก็ได Profile ของทอเหล็ก กลมขนาด 2" ที่มีความหนา 3.2 มม. ดังภาพ
  • 10. Builder Dialog 5) เลือก Profile ทั้งหมด 6) คลิ๊กเครื่องหมายบวกเพื่อ สราง Profile ของทอเหล็กกลม 7) ตั้งชื่อวา CarbonSteelPipe50x32mm 8) คลิ๊ก Save 9) คลิ๊กสราง Folder ใหมเพื่อเก็บ Profile ที่เราสรางขึ้นมา 10) เลือก Save ใน Folder ที่เราสรางขึ้นมา 11) คลิ๊ก Save 12) สราง Profile ทอเหล็กกลมขนาด 34 มม. หนา 3.2 มม. อีกตัวขึ้นมา จากนั้นทําแบบเดิมซ้ําอีกครั้งโดยตั้งชื่อ Profile วา CarbonSteelPipe25x3.2mm 13) เมื่อทําเสร็จแลวเราจะได Profile เปน Database เก็บไวใชประโยชน ในอนาคต
  • 11. Profile ของเหล็กรูปพรรณตางๆ ตามมาตรฐาน ม.อ.ก.
  • 12. 2 PART-03
  • 13. ของ เหล็ก รูปตัวเอชขนาด 300x300x10x15x13 2)คลิ๊ก Build เพื่อสราง Profile member 3) คลิ๊กจุดแรก 4) ลากเสนขึ้นแนวดิ่งจากนั้นคลิ๊กอีก 1 ครั้ง เพื่อสราง Profile Member 5) ถาทําถูกตองจะได Profile Member ดังภาพ 6) สรางเสนรูปตัว L กลับดานดังภาพ 7) คลิ๊กสองครั้งเพื่อเลือกเสนทั้งหมด 8) คลิ๊ก Build along patch เพื่อสราง Profile member 3.1 การสราง Profile Member
  • 14. Member ของเหล็กH-250x125x6x9x8 อีก 1 ตัวดังภาพ สังเกตภาพและชื่อของ Profile 10) คลิ๊กที่ Get Attribute เพื่อทําการเปลี่ยน Profile ใหเกลับไปเปน H-300x300x10x15x13 อีกครั้ง 11) จากนั้นไปคลิ๊กที่ Profile member ของเหล็ก H-300x300x10x15x13 12) ถาทําถูกตอง ภาพและชื่อของ Profile จะเปลี่ยนไปเปน H-300x300x10x15x13 ตรงตามตัวที่เราคลิ๊ก 13) คลิ๊ก Stamp Profile 14) คลิ๊กอีกครั้งในตําแหนงที่ตองการเพื่อทดสอบ การ Copy Profile ของ Profile Member H-300x300x10x15x13 H-300x300x10x15x13 H-300x300x10x15x13
  • 15. Member 1) คลิ๊ก Extend Tool เพื่อยืดหรือหด Profile Member 2) คลิ๊กที่ปลายของ Profile member ที่ตองการ 3) จากนั้นลากเหล็กขึ้นมาตามระยะที่ตองการหรือพิมพ ระยะที่ตองการแลวกด Enter 4) สังเกตเหล็กจะยาวขึ้นตามระยะที่ตองการ 5) คลิ๊กสองครั้งที่ Profile Member เพื่อทําการ Edit 6) คลิ๊ก Edit Patch เพื่อปรับแก 7) ลากเสนออกมาตามแกนแดงเพื่อปรับแกขนาดของ Profile Member
  • 16. Member ของเหล็กก็จะเปลี่ยนขนาดใหม ตามเสนที่เรา Edit 10) คลิ๊ก Trim to Solid 9) สราง Profile Member สองตัวดังภาพ โดยตัวดานขวาเอียงทํามุม 45 องศากับแนวราบ 11) คลิ๊กครั้งที่ 1 12) คลิ๊กครั้งที่ 2 13) เมื่อทําถูกตอง Profile Meber ตัวเอียงจะเชื่อมติด กับ Profile Member แนวตั้งดังรูปโดยปลายจะโดนเฉือนหรือ Trim ดังภาพ
  • 17. Member สองตัวมาติดกันดังภาพ 15) สราง Face เอียงทํามุม 45 องศาดังรูป จําลองแนวตัดของเหล็กเอียงทํามุม 45 องศา 16) คลิ๊ก Trim to Face 17) คลิ๊กครั้งแรกที่ Face 18) คลิ๊กครั้งที่สองที่ Profile Member ตัวนอน 19) คลิ๊กครั้งที่สามที่ Profile Member แนวตั้ง 20) ลบ Face ออกจะเห็นวาเหล็กตัด กันทํามุม 45 องศาดังรูป
  • 18. Materials และการคิดราคา (Cost Estimation) ดวย Profile Builder 2 PART-04
  • 19. Memeber ของเหล็ก H-300x300x10x15x13 2) สราง Layer ที่ชื่อวา H-300x300x10x15x18-94 kg/m 3) คลิ๊กที่ Quantifier เพื่อเปดคําสั่งในการคิดปริมาณงานและราคา 4) คลิ๊กที่ Profile Member H-300x300x10x15x18 5) อานคาความยาวของเหล็ก 6) อานคาพื้นที่ผิวของเหล็ก 7) อานคาปริมาตรของเหล็ก
  • 20. Member เพิ่มเติม ดังภาพ 10) ตรวจสอบความยาวรวมของเหล็กทั้งหมด 11) ตรวจสอบพื้นที่ผิวของเหล็กทั้งหมด 12) ตรวจสอบปริมาตรรวมของเหล็กทั้งหมด 9) ตรวจสอบจํานวนเหล็กทั้งหมด 13 คลิ๊กที่ HTML Report เพื่อตรวจสอบ ปริมาณงานทั้งหมด ชื่อ Group ของ Profile Member ชื่อของ Profile ความยาวของ Profile Member พื้นที่ผิวของ Profile Member
  • 21. เพื่อกําหนดน้ําหนักและราคาของเหล็ก 15) เลือก Layer ที่เราสรางไว 16) เลือกหนวย kg/m และกําหนดใหมีคา 94 kg/m 17) กําหนดราคาคาของและคาแรงเทากับ 32 บาท/kg 18) คลิ๊ก ok 19) กําหนดให Profile Member ทั้งหมด อยูใน Layer ที่ชื่อวา H-300x300x15x18-94 kg/m ซึ่งเปน Layer ที่กําหนดน้ําหนักและราคาไว 20) คลิ๊กที่ Profile Member 1 ชิ้น 21) ถาทําถูกตองเราจะเห็นสูตรคํานวณราคาขึ้นมา ในที่นี้คือ ราคา = ความยาวเหล็กxน้ําหนัก/เมตรxราคาตอน้ําหนัก
  • 22. kg/m3 23) สังเกตราคาจะเปลี่ยนไปตามสูตรใหม ราคา =ปริมาตรxความหนาแนนxราคาตอกิโลกรัม 24) เลือกเหล็กทั้งหมด 25) ดูราคาทั้งหมด26) คลิ๊ก Show Missing เพื่อตรวจสอบวา Profile Member ตัวใดไมมีการบันทึกขอมูล 27) Profile Member ที่มีการบันทึกขอมูล จะขึ้นกรอบสีเขียวทั้งหมด 28) ในกรณีที่ไมมีการบันทึกขอมูลผาน Layer Profile Member นั้นจะขึ้นกรอบสีแดง
  • 23. Group ของ Profile Member ทุกตัวโดย การ Paint สีเหลืองที่ผิวดังภาพ 30) เลือก In Model 31) เลือกสีเหลือง 32) เปลี่ยนชื่อของสีใหมวา "สีเหลือง" 33) คลิ๊กที่ Material เพื่อกําหนดราคางานทาสี 34) เลือก Material ที่ชื่อวา สีเหลือง 35) กําหนดราคาคาของและคาสีเทากับ 150 บาท/m2 36) คลิ๊ก Ok 37) คลิ๊กที่เหล็ก 1 ชิ้นดังภาพ 38) สังเกตราคาของเหล็กจะมีสูตรคํานวณพื้นที่เพิ่มเขาไป
  • 24.
  • 25. Materials ใชสําหรับ Copy ตัวแปรตางๆ ใชสําหรับการ Edit คาตางๆ ใชสําหรับสราง Component ของ Coolpipe ใชสําหรับการสรางหนาแปลน ใชสําหรับการสราง Cap ใชสําหรับการสรางสามทาง ใชสําหรับการสรางขอลด (Reducer) ใชสําหรับการสรางของอ (ELBOW) ใชสําหรับการสรางทอตรง 1) คลิ๊กสําหรับการปรับภาษาและตั้งคาตางๆ 2) ปรับเปนภาษา English 3) ปรับขอบของทอใหเปน 12 ขอบ 4) กดหนดใหทอมีความหนา (ไมไชทอตัน) เมื่อเสร็จแลว คลิ๊ก Save 6) ใชสําหรับสรางหัวขอมาตรฐานตางๆ เชน DIN, JIS หรือ TIS 7) ใชสําหรับสรางทอชนิดตางๆ 8) ใชสําหรับสรางทอขนาดตางๆ 9) ใชสําหรับกําหนด Layer ของทอ 10) ใชสําหรับกําหนด Materials ของทอ 5) คลิ๊กที่เครื่องมือทอเพื่อตรวจสอบคําสั่งตางๆ
  • 26. ตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 13) คลิ๊กเพิ่มชื่อ โดยพิมพ TIS หรือ มาตรฐาน ม.อ.ก. 14) คลิ๊ก Save 12) คลิ๊ก New เพื่อสรางมาตรฐานใหม 15) คลิ๊กเพื่อสรางประเภทของทอเพิ่มเติม 16) คลิ๊ก New 17) ตั้งชื่อ TIS 982-2548 18) กําหนดชื่อใหเปนทอ HDPE PIPE PE 100 PN 10 19) คลิ๊ก Save 20) เลือกมาตรฐาน TIS 21) เลือก STANDARD ที่เราสรางไว 22) คลิ๊กบวกเพื่อสรางขนาดทอที่ตองการ 23) คลิ๊ก New เพื่อสรางขนาดทอใหม 24) กําหนดคาขนาดมาตรฐาน 25) กําหนดขนาดเสนผาศูนยกลางวงนอก 26) กําหนดขนาดความหนาของทอ 27) กําหนดน้ําหนักทอความยาว 1 เมตร 28) กําหนดชื่อของทอที่ตองการใหผูใชเห็น เสร็จแลวคลิ๊ก Save
  • 27. Use layers 31) กําหนด Layer ใหมที่ชื่อวา HDPE PIPE 32) เลือกทอขนาด 125 33) คลิ๊ก Draft เพื่อดําเนินการสรางทอ HDPE 34) คลิ๊กหนึ่งครั้งเพื่อกําหนดจุดเริ่มตนของทอจากนั้น ลากลูกศรขึ้นในแนวดิ่ง 1 เมตร คลิ๊กอีกครั้งเพื่อสราง ทอ HDPE ขนาด 125 OD PE 100 PN 8
  • 28. คลิ๊กที่ปลายทอดานบน 1 ครั้งเพื่อสรางของอ (ELBOW) 37) หมุนใหไดมุมเอียงใหเทากับ 90 องศาดังรูป 38) กําหนดชนิดของของอเปน 90 องศาดังรูป 39) เมื่อทําเสร็จแลวจะไดของอ 90 องศาดังรูป
  • 29. กําหนดมาตรฐานเหมือนกับทอที่ทําไว 42) คลิ๊กเพื่อสรางขอลด (Reducer) 43) กําหนดขนาดมาตรฐานทอ 1 44) กําหนดขนาดมารตฐานทอ 2 45) กําหนดขนาดวงนอกทอหมายเลข 1 46) กําหนดทอวงนอกทอหมายเลข 2 47) กําหนดความหนาทอหมายเลข 1 48) กําหนดความหนาทอหมายเลข 2 49) กําหนดความยาวของขอลด 50) ตั้งชื่อขอลดวา " ขอลดกลม 140x125 PE 100 PN 10 51) คลิ๊กขอลด 52) เลือกทอ 140 53) เลือกทอ 125 54) เลือก Option 2 55) คลิ๊ก Draft เพื่อสราง ขอลด 56) คลิ๊ก 1 ครั้งที่ปลายของอเพื่อสรางขอลด 57) ขอลดถูกสรางขึ้น ตามขอมูลที่สรางไว
  • 30. เพิ่มดังภาพ จากนั้นเลือกทั้งหมด 59) คลิ๊กเพื่อสราง Bill of Materials 60) เมื่อทําถูกตองจะเห็น Bill of Materials แสดงบัญชีวัสดุทั้งหมดที่เราเลือกไว 61) กําหนด Fitting ทั้งหมดใหอยูใน Layer ที่ชื่อวา HDPE FITTING 62) เลือกทอทั้งหมดอีกครั้ง 63) เลือกแบงหมวดงานตาม Layer 64) สังเกตวา Bill of Materials จะแบงตามหมวดงาน
  • 31. SKETCHUP PART-06
  • 32. for SketchUp 2) ใชสําหรับการแบงหมวดงานตาม Components, Layers, Materials และ Quotes ที่เรากําหนด 3) ใชสําหรับการกําหนดคาตางๆ 4) ใชสําหรับการสราง Reports เพื่อรายงานปริมาณวัสดุ และราคา 5) หนาตางสําหรับการบันทึกขอมูล 6) คลิ๊กเพื่อปรับแกคาพื้นฐาน 7) ผูใชสามารถสรางเอกสารพื้นฐาน ที่เกี่ยวกับขอมูลราคา ขอมูล Supplier และหนวยตาง ในโปรแกรม Excel แลว นํามา Link เขากับ Estimator ได 8) พื้นที่สําหรับกรอกขอมูลบริษัท 9) คลิ๊กเพื่อ Upload โลโกของบริษัท 10) คลิ๊ก Save Company Changes เพื่อบันทึกขอมูล10) คลิ๊ก Save Company Changes เพื่อบันทึกขอมูล
  • 33. ตั้งชื่อวา F1 เพื่อทําเปน Footing ขนาด 1.2x1.2x0.25 เมตร 12) ทาสีไมลงในบริเวณที่ใชเปนไมแบบดังภาพโดยเปลี่ยนชื่อ Texture ใหเปนชื่อใหมวา ไมแบบ-ฐานราก F1 13) สรางเสาตอมอขนาด 0.2x0.2x1.0 เมตร ตั้งชื่อวา C1 14) ทาสีดวย Texture ไมในบริเวณที่เปนไมแบบ โดย ตั้งชื่อ Texture วา ไมแบบ-เสาตอมอ C1 15) Copy ฐานรากและตอมอเพิ่มเติม ดังภาพ พิมพ ไมแบบ-เสาตอมอ C1
  • 34. ขนาดหนาตัด 0.2x0.4 เมตร จากนั้นทาสี Texture ตั้งชื่อวา ไมแบบ-คาน B1 ดังภาพ 17) สรางพื้น S1 ขึ้นมาขนาด 3.8x3.8x0.10 เมตรดังภาพ 18) ตั้ง Layer ใหมขึ้นมา ตั้งชื่อวา "งานคอนกรีตทั้งหมด" 20) สังเกตชื่อ Component ขึ้นวา F1 21) เลือก Cost Code ที่ชื่อวา 3400-CONCRETE 22) กําหนดรายละเอียดวา งานคอนกรีต F1 23) กําหนดชื่อ ผูรับเหมาวา บริษัท ชางไทย จํากัด 24) เลือก Attribute เปน ปริมาตรหนวย Meters3 25) กําหนดราคาเหมาคาแรง+คาของ = 2,800 บาท 26) กําหนดใหมีการสูญเสีย (Waste)=10% 27) เพิ่มกําไร 12 % 28) คลิ๊ก Save Changes เมื่อกรอกขอมูลทั้งหมดเสร็จสิ้น 19) คลิ๊กที่ฐานราก F1 หลังจากนั้นคลิ๊ก Components 3.80m 3.80m
  • 35. ทั้งหมดใหอยูใน Layer ที่ชื่อวา งานคอนกรีตทั้งหมด 30) คลิ๊กที่ F1 31) คลิ๊กที่ Layers และบันทึกขอมูล ดังแสดงไวในภาพ 32) คลิ๊กที่ Materials และ บันทึกขอมูงดังแสดงไวในภาพ
  • 36. เพื่อเริ่มบันทึกขอมูล 34) คลิ๊ก Components และบันทึกขอมูล 36) คลิ๊กคาน B1 เพื่อเริ่มตนการบันทึกขอมูล 35) คลิ๊ก Materials และบันทึกขอมูล
  • 37. และบันทึกขอมูล 38) คลิ๊ก Materials และบันทึกขอมูล 39) คลิ๊กพื้น S1 เพื่อเริ่มบันทึกขอมูล
  • 38. เพื่อบันทึกขอมูล 41) เมื่อเสร็จแลว คลิ๊ก Reports เพื่อดําเนินการ ทํารายงานปริมาณวัสดุและราคา 42) กรอกขอมูลทั้งหมดของโครงการจากนั้น คลิ๊กที่ Save Job Changes 43) คลิ๊ก HTML Report เพื่อสราง Report 44) เมื่อทําถูกตองจะเห็น BOQ แสดงการ แจกแจงหมวดงาน ปริมาณงาน และราคาทั้งหมด สังเกตวาปริมาตรคอนกรีตที่อานจาก Layer เทากับ 27 ลบ.ม. แตปริมาตรคอนกรีตจากการแยกหมวดงานตาม Component จะรวมเทากับ 28 ลบ.ม นี้ก็เปน เพราะการปดหนวยนั้นเอง
  • 39. 25,000 บาท 46) คลิ๊กบวกเพื่อเพิ่มคาใชจายอื่นๆ 47) คิดคาออกแบบเพิ่มเติมดังภาพ 48) เมื่อคลิ๊กที่ Report ก็จะเห็นวามีคาใชจายเพิ่มขึ้นในรายงานดังภาพ
  • 40.