Eastern state โซนท ม การจ ดแสดงร ปภาพฝาผน ง

ภาพท่ี ๓-๘ : พระพุทธรูปศลิ าแบบนงั่ หอ ยพระบาท ภายในวหิ ารนอย วดั หนา พระเมรุ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

๔๙

๓.๑.๔ วัดสวุ รรณดาราราม

๓.๑.๔.๑ ประวตั ิวัดโดยสังเขป

วดั สุวรรณดาราราม ตงั้ อยใู นกําแพงเมอื งเกา ดานตะวันออกตอนใต เหนือบริเวณปอมเพชร เลขท่ี ก. ๕๐ ตําบลหอรัตนไชย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เขตและอุปจารวัด ทางทิศ เหนือจดลํารางวัดกระบือ (วัดราง) และติดท่ีราชพัสดุ มีเสาหลักเปนเขต ทิศตะวันออกจดถนนอูทองและ แมนํ้าปา สัก ทศิ ใตจ ดถนนอทู องและแมนํ้าปาสัก แมนํ้าเจาพระยา ทิศตะวันตกจดลํารางวัดกําแพง (วัดราง) วดั ทา โพธิ์ (วัดรา ง) และลาํ คลองหรอื คู เปนเน้อื ทขี่ องวัดทงั้ หมดประมาณ ๘๒ ไร ๓ งาน โดยรวมท่ีดินซ่ึงทาง วัดซ้ือเขาไวดวย พิกัดทางภูมิศาสตร รุง ๘๖ องศา ๒๐ ลิปดา ๕ ฟลิปดาเหนือ แวง ๗๐ องศา .๓๕ ลิปดา ๑ ฟลปิ ดาตะวนั ออก

สถานะของวัดสุวรรณดาราราม เปน พระอารามหลวงชน้ั เอก ชนดิ วรมหาวิหาร เปนพระอารามของ ตนราชวงศจักรี กรมศิลปากร ประกาศข้ึนทะเบียนโบราณสถานในราชกิจจานุเบกษา เลมท่ี ๕๒ ตอนที่ ๗๕ วันท่ี ๘ มนี าคม ๒๔๗๘ ส่งิ สาํ คัญคือ พระอโุ บสถ พระวหิ าร และพระเจดีย

วดั สุวรรณดารารามน้ี ขนุ ศารทประภาศกึ ษากรไดก ลาวถงึ ประวตั ิความเปน มา ไววา

“...วัดน้เี ปนวดั ทม่ี ีมาแตสมัยกรุงศรีอยุธยา ตั้งอยูภายในกําแพงเมืองดานตะวันออกตอนใต เหนือ บริเวณปอมเพชร โดยสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแหงพระบรมราชวงศจักรี พระนามเดิมวา “ทองดี” มี อัครชายาวา “ดาวเรอื ง” รบั ราชการเปนเสมยี นตรามหาดไทย ในแผนดินสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ ไดรับ บรรดาศักด์ิเปนออกพระอักษรสุนทรศาสตร มีนิวาสสถานอยูเหนือปอมเพชร นายทองดีสืบเชื้อสายมาจาก เจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) คือ บุตรเจาพระยาโกษา มีชื่อวา คุณทอง ไดรับบรรดาศักด์ิเปนพระราชนิกูล พระราชนกิ ลู มบี ุตรช่ือทองดี และทานผนู ้ีเปน พระบรมมหาชนกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก เปนผูทรงสรางวัดนี้ข้ึนและใหชื่อวา “วัดทอง” (ในราวแผนดินพระเจาอยูหัวบรมโกศตอพระเจาอยูหัวทาย สระ)” วัดนีจ้ งึ จดั เปน วัดของตน บรมราชวงศจกั รี ทางฝายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช คู กับวดั อัมพวนั เจต-ิ ยาราม แขวงบางซา ย อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ซ่ึงสมเด็จพระรูปศิริโสภาคยม หานาคนารี (นาค) พระชนนีของ สมเด็จพระอมรินทรามาตย พระบรมราชินีของพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟาจุฬาโลกสรางข้ึน”

๕๐

สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองดี) พระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก พระผทู รงสถาปนาราชวงศจ กั รีน้ี มพี ระประวตั กิ ลา วตอไปอีกวา อนั พระบุรุษบรรพชนของทานซึ่งสืบเช้ือสาย มาจากเจาพระยาโกษาปานน้ัน ทานเจาพระยาโกษาปานผูน้ี เปนบุตรของหมอมเจาหญิงบัวราชนัดดาของ สมเด็จพระเจาเอกาทศรถ พระราชอนุชาของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริยราชวงศสุโขทัย หมอมเจา หญิงบัว ผูน ้ีในพงศาวดารมกั จะรูจกั กันในนาม เจาแมวัดดุสิต พระนมของสมเด็จพระนารายณมหาราช สวน ฝา ยขา งบิดาของเจา พระยาโกษาปานนน้ั เลา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ ๔ ไดทรงเลา ใหฟงวามีเชื้อสายสืบมาแตทหารมอญ ซ่ึงไดละท้ิงการอยูภายใตบังคับบัญชาของพมา ติดตามสมเด็จพระ นเรศวรมหาราชมาแตเมอ่ื คราวเสด็จกลับจากถูกนําพระองคไปเปนองคจํานําและเม่ือคราวกรุงศรีอยุธยาเสีย แกพ มาเม่ือ พ.ศ. ๒๓๑๐ น้นั สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (ทองด)ี มีบรรดาศกั ด์เิ ปนท่ีออกพระอักษรสุนทร- ศาสตรห รอื พระอกั ษรสนุ ทร ทานหาไดอยูในกรุงไม หากแตทานไดไปรับราชการอยูที่เมืองพิษณุโลกแตตอน กอ นกรุงแตก ครัน้ เมื่อกรุงแตกแลวไดมีคนไทยผรู ักชาตติ ้งั กก ตา ง ๆ เพอื่ ทําการกชู าติข้ึน ๕ กก และเจาพระยา พิษณโุ ลกก็ไดเ ปนหัวหนา กก ๆ หนึง่ ดวยน้นั ทานเจาพระยาพษิ ณโุ ลกก็ไดแตงตง้ั พระอกั ษรสุนทร (ทองดี) ข้ึน เปนท่ี “เจา พระยาจกั ร”ี ในรัฐบาลของทา นดว ย

สวนพระอัครชายาของสมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก (ทองด)ี นน้ั เลา นอกจากบางตําราวาทาน ช่ือ “ดาวเรือง” เชน ตาํ ราเรื่องราชนกิ ูล รชั กาลที่ ๕ พระนิพนธของสมเดจ็ เจาฟา ฯ กรมพระยาภาณุพนั ธุวงศ- วร เดช ก็ช่ือวา “ดาวเรอื ง” เหมือนกันน้ัน แตจากพระนิพนธของพระองคเจาจุลจักรพงศในหนังสือ ช่ือก็มีบาง ตาํ รากลา ววา ช่ือ “หยก” อีกพระนามหน่ึงซึ่งมีอยูไมนอยเลมเหมือนกัน อาทิ เจาชีวิตทรงกลาววาช่ือ หยก เหมือนกัน โดยพระองคทานทรงอางถึงหลักฐานจากหนังสือชื่อ... ซึ่งทานเซอรจอนบาวริง อางวา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั ทรงเลาใหฟง เปนภาษาอังกฤษวา ชื่อ “หยก” และเปนธิดามหาเศรษฐี ชาวจนี แหง กรงุ ศรีอยุธยา น่กี อ็ ีกตําราหนงึ่ จงึ เปนการสมควรจะไดนํามากลา วไวใ นทน่ี ี้ดว ย

ตอมาเมื่อป พ.ศ. ๒๓๑๐ กรงุ ศรอี ยธุ ยาเสยี แกพมาขาศึก พมาไดเอาไฟเผาพระราชวังวัดวาอาราม ตา ง ๆ ตลอดจนบานเรือนภายในกําแพงเมืองเสียยอยยับ กวาดตอนเจานายและราษฎรเก็บทรัพยสินไปจน หมดสนิ้ เพ่อื มิใหชาติไทยตั้งหลักฐานไดตอไป ขาราชการผูใหญผูนอย ราษฎรตางหอบหนีเขาดงเขาปาลี้ภัย พมา และพมายังไดต้ังคายกวาดตอนผูคนเก็บทรัพยสินอยูที่ตําบลโพธิ์สามตน อําเภอบางปะหัน จังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา

๕๑

นับตั้งแตนั้นมากรุงศรีอยุธยาก็เปนปารกรางถูกร้ือทําลายขุดคนหาทรัพยสินภายในกําแพงเมือง พระนครศรีอยุธยา สมัยกรุงธนบุรี ถึงกับประมูลผูกขาดขุดคนทรัพยและรื้อทําลายเอาอิฐไปสรางกรุงธนบุรี และกรงุ เทพฯ วัดทองน้กี ็ไดถูกร้อื ทําลายไปเชนเดียวกนั ปลอยรกรา งมาประมาณ ๑๘-๑๙ ป

ภาพที่ ๓-๙ : ดา นหนาเขตกาํ แพงแกว วดั สวุ รรณดาราราม ราชวรวหิ าร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา

๓.๑.๔.๒ ตําแหนงพืน้ ทเ่ี ก็บขอ มลู ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ตําแหนงท่ีเก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ีมี คือ พระอุโบสถ มีลักษณะเปนอาคาร กออิฐถือปูน ยกฐานสูง ฐานมีลักษณะออนโคงทรงเรือสําเภา ตัวอาคารมีขนาด ๗ หอง ภายในกวาง ๗.๖๘ เมตร ยาว ๑๖.๔๖ เมตร สูงจากเพดานถึงพ้ืนภายใน ๖.๘๖ เมตร มีมุขหนาและหลัง หลังคาช้ันลด ๒ ชั้น เครื่องประดับอาคารมีชอฟา ใบระกา นาคสะดุง หางหงส และคันทวยไมจําหลักทําเปนลายเถาวัลย เชนเดียวกับฝมือชางวังหนาท่ีพระที่นั่งพุทไธสวรรย พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ วัดมหาธาตุฯ กับวัดชนะ- สงคราม กรุงเทพฯ ลงรักประดับกระจกสีทอง หนาบันเปนไมจําหลักอยางเดียวกัน ประดับกระจกรูป พระนารายณทรงครฑุ ยดุ นาค ลายประกอบเปนกา นขดเทพนม พืน้ หลงั ประดับกระจก ประตหู นาตา ง มปี ระตู ดานหนา ๓ ประตู ดานหลัง ๒ ประตู มหี นา ตา งดา นขางดา นละ ๗ บาน เปนหนาตางหลอก ๔ บาน หนาตาง จรงิ ๓ บาน ประดบั กรอบประตู หนาตา งดว ยฐานสงิ ห เสากรอบวงกบมีหัวเสาเปนบัว และประดับกรอบเปน เรือนแกว ๒ ช้ัน ทําดวยปูนปนประดับกระจก บานประตูหนาตางดานนอกเขียนลายรดนํ้า ลายเทพชุมนุม พุมขาวบิณฑ ดานในเขียนสลี ายทวารบาล ประตดู านในเขยี นเสีย้ วกาง มลี านประทักษิณรอบพระอุโบสถและ กาํ แพงแกว ใบเสมาคเู ปนหินสีเขียวของจีนตั้งอยูบนกําแพงแกว บริเวณพุทธาวาส ซึ่งมีพระอุโบสถ พระวิหาร พระเจดีย และตน มหาโพธ์ินีม้ กี ําแพงลอมอีกชั้นหน่งึ มซี มุ ประตปู ระดับปูนปนเปน รูปพระมหามงกุฎ

๕๒

ภายในพระอโุ บสถมจี ติ รกรรมฝาผนงั เขยี นดวยสฝี นุ เตม็ ผนงั ทัง้ ๔ ดาน ดานหลังพระประธานเขียน เรือ่ งไตรภมู ิ มีภาพวมิ านเล็ก ๆ อยูเตม็ พนื้ ที่ตอนบน และภาพเขาพระสุเมรุ เขาสัตตบรรพต มนุษยโลก และ นรกภมู ติ า ง ๆ ดานหนา พระประธานเขยี นภาพมารผจญ ดา นบนข้นึ ไปเขยี นภาพวิทยาธรเหาะ ในมือถือผลไม และชอ ดอกไม ดานขางเหนอื บานหนา ตา งทงั้ ๒ ดา น เขียนภาพเทพชุมนุม ๒ ช้ัน ช้ันบนพื้นสีแดง เขียนภาพ เทวดาท้งั หมด ชนั้ ลางพ้ืนดําเขยี นภาพเทพสลบั ยักษ ผนังตอนลางระหวา งแนววงกบบนกับวงกบลางของบาน หนาตาง สูงขึ้นไปจากพื้นภายใน ๙๕ เซนติเมตร จากมุมหองดานซายหนาพระประธานไปจรดมุมหอง ดานหลังพระประธานเขียนเร่ืองพระเตมีย พระมหาชนก พระสุวรรณสาม พระเนมีราช พระมโหสถ พระ ภูริทัต พระจันทกุมาร พระพรหมนารถ และพระวิฑูรชาดก ตามลําดับ สวนผนังดานขวาของพระประธาน เขยี นเร่ืองพระเวสสนั ดรชาดกกัณฑตาง ๆ ตั้งแตต นจนจบเตม็ ทัง้ ผนงั มีชื่อกณั ฑเ ขียนไวต อนลางของภาพ

ภาพท่ี ๓-๑๐ : ภายนอก พระอโุ บสถ วัดสวุ รรณดาราราม ราชวรวหิ าร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

ภาพท่ี ๓-๑๑ : ภายในพระอุโบสถ วัดสุวรรณดาราราม ราชวรวิหาร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

๕๓

๓.๑.๕ วัดพทุ ไธศวรรย ๓.๑.๕.๑ ประวตั วิ ดั โดยสงั เขป ต้งั อยูรมิ แมนํา้ เจา พระยาทางดานทิศใตของเกาะเมือง สรางขึ้นในบริเวณเวียงเหล็ก หรือเวียงเล็ก

สมเดจ็ พระเจาอทู อง โปรดใหสรา งขึ้นในป พ.ศ. ๑๘๙๖ เพ่ือเปนที่ระลึกตรงบริเวณท่ีพระองคเคยเสด็จมาต้ัง พระนครอยูกอ นสรา งกรุงศรีอยุธยา และไดสถาปนาวัดพุทไธศวรรยข้ึนเปนอนุสรณถึงความสําคัญของพื้นที่ บรเิ วณนี้

ปจจุบันโบราณวัตถุและโบราณสถานตางๆ ในวัดพุทไธศวรรยมีคุณคาและมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะนอกจากเปนหลักฐานแสดงพลังความเลื่อมใสศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนาอยางม่ันคงของคนไทย ทามกลางสภาวะสงั คมและวฒั นธรรมตางชาตทิ ห่ี ลากหลายโดยรอบของวดั แลว ความงดงามของศิลปะในการ กอสรา งและการตกแตง ยังเปนหลกั ฐานใหค นรนุ หลงั ไดร ับรถู ึงความสามารถของชางและวิชาชางท่ีสูงสงแสดง ความรุง โรจนในอดีตกาลอกี ดว ย

ดวยเหตทุ ี่วดั พทุ ไธศวรรย ต้งั อยนู อกเกาะเมอื งอยุธยาจึงไมไ ดรับผลกระทบจากภัยสงครามคร้ังตาง ๆ มากนัก สิง่ กอ สรางตาง ๆ ในเขตพุทธาวาส ซ่ึงไดแก พระปรางค พระมณฑป พระอุโบสถ และพระระเบียง ซ่งึ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ ๑ (พระเจา อูทอง) โปรดเกลาฯ ใหสรางข้ึนตลอดจนวิหาร เจดีย ที่ไดสรางเพ่ิมเติม ข้นึ อีกมากในรัชกาลตอ ๆ มา สว นใหญยังมีสภาพคอ นขา งดี ถา เทยี บกับส่งิ กอ สรางของวัดอ่ืน ๆ ที่สรางมาใน สมัยใกลเคียงกันแตมีเจดีย วิหาร จํานวนไมนอยที่พังทลายลงจนไมอาจคาดคะเนรูปทรงเดิมได สําหรับเขต สังฆาวาสอนั เปนที่อยขู องสงฆนนั้ ปจจุบนั สงิ่ กอ สรา งโบราณที่เหลอื อยู คอื ตาํ หนักสมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย และหอระฆงั เทาน้ัน สวนกุฏแิ ละอาคารอื่น ๆ ของเดมิ สนั นิษฐานวาทาํ ดวยไมจงึ ผพุ ังไปหมดไมเหลอื ซาก

ภาพท่ี ๓-๑๒ : พระปรางคประธาน วัดพุทไธศวรรย จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

๕๔

๓.๑.๕.๒ ตาํ แหนง พืน้ ที่เกบ็ ขอ มูลภาพจิตรกรรมฝาผนัง ตําแหนง ท่เี กบ็ ขอมูลภาพจติ รกรรมฝาผนงั ภายในวดั นี้ คือ ตําหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย ใน สมัยกรุงศรอี ยธุ ยาเปนราชธานีใชเ ปน กฏุ ขิ องสมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย เปนอาคารตึก ๒ ชั้น กวางประมาณ ๕.๗๐ เมตร ยาวประมาณ ๑๘.๓๒ เมตร ชองหนาตางและประตูทุกชองมีลักษณะพิเศษ คือทําเปนโคงยอด แหลมตามลักษณะสถาปตยกรรมท่ีนิยมในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ผนังช้ันบนทั้งส่ีดานเขียนภาพ จิตรกรรม ผนังดานทิศตะวันออกเปนภาพพระพุทธโฆษาจารยลงเรือสําเภาเดินทางไปกรุงลังกา พบพระ พุทธทตั ตเถระกลางทะเล ภาพขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค เพ่ือเสด็จไปนมัสการพระพุทธบาทและภาพ พระเจดียท ี่มมี นษุ ยแ ละเทพมาชุมนมุ สักการบูชา ผนังดานทิศตะวันตก เปนภาพเรื่องทศชาติชาดก ผนังดาน ทศิ เหนือ เปน ภาพเร่ืองไตรภูมิ ผนงั ดานทิศใต ชองบนเปนภาพมารผจญใตลงมาเปนภาพพระสาวก ชวงลาง เปน ภาพเร่ืองรามเกยี รต์ิ หลงั บานประตูและหนาตาง เปน ภาพเขยี นสีทวารบาล เปน ภาพชาวตา งประเทศ ๑๒ ภาษา ภาพจิตรกรรมฝาผนังและภาพเขียนบานประตูและบานหนาตางในตําหนักพระพุทธโฆษาจารย นับวาเปนงานศิลปะช้ินสําคัญ ซ่ึงใชเปนหลักฐานใหคนรุนหลังไดศึกษาและทราบถึงสภาวะสังคมและชีวิต ความเปน อยขู องคนในสมัยอยุธยายคุ ตา งๆ ได นอกจากความมีคุณคาของงานศิลปะการเขียนภาพจิตรกรรม ฝาผนัง ปจจุบนั ภาพเขียนตางๆ ดังกลาวมีสวนที่ไดลบเลือนไปบางเปนปริมาณมาก สวนที่เหลือฝายอนุรักษ จติ รกรรมและปฏิมากรรม กรมศลิ ปากร ไดท าํ การอนุรักษไ วแลว

ภาพที่ ๓-๑๓ : ตําหนักสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ซา ย) และภาพจิตรกรรมภายในกุฏิสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ขวา) วัดพทุ ไธศวรรย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา

๕๕

๓.๑.๖ วัดพระงาม ๓.๑.๖.๑ ประวัติวดั โดยสงั เขป วัดพระงาม ตั้งอยูเลขท่ี ๒๗ หมูท่ี ๑ ตําบลบางเดื่อ อําเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

สงั กดั คณะสงฆม หานกิ าย มีที่ดินต้ังวัดเนื้อที่ ๒๗ ไร ๑ งาน โฉนดเลขที่ ๑๑๑๘๐ อาณาเขต ทิศเหนือติดตอ กับคลองชลประทาน ทิศใตติดตอกับทางโคกระบือ ทิศตะวันออกติดตอกับคลองชลประทาน ทิศตะวันตก ตดิ ตอกับคลองเกาะเล่งิ มที ี่ธรณีสงฆจ าํ นวน ๒ แปลง เนอ้ื ท่ี ๗ ไร ๑ งาน โฉนดเลขที่ ๔๓๖๑ อยูที่ตําบลบาง ปะหัน ๑ แปลง ตําบลขยายอกี ๑ แปลง

พ้นื ทต่ี ั้งวดั เปน ที่ดอนอยตู ดิ ตอ กบั ลาํ คลองเกาะเล่ิง อาคารเสนาสนะตางๆ มี อุโบสถกวาง ๗ เมตร ยาว ๑๓ เมตร กออฐิ ถือปูน ศาลาการเปรียญกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๑๕ เมตร หอสวดมนตกวาง ๗.๕๐ เมตร ยาว ๑๒.๕๐ เมตร กุฏีสงฆ จํานวน ๑๐ หลัง เปน อาคารไม สําหรับปูชนียวัตถุมีพระประธานในอุโบสถขนาด พระเพลากวา ง ๕ ศอก และมเี จดยี ใ หญ

วัดพระงามสรางข้ึนเปนวัดนับต้ังแตประมาณ พ.ศ. ๒๑๑๒ ในสมัยอยุธยาไดรับพระราชทาน วสิ ุงคามสมี า พ.ศ. ๒๔๐๑ ทางวัดไดเปด สอนพระปริยัตธิ รรม พ.ศ. ๒๔๘๔ มีหองสมุด โรงเรียนประถมศึกษา ตัง้ อยูในทว่ี ดั น้ดี วย

ภาพท่ี ๓-๑๔ : วิหารจตุรมุข (ซาย) และบานประตูจําหลักที่พบภายในวัดพระงาม (ขวา) จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

๕๖

๓.๑.๖.๒ ตําแหนง พน้ื ท่เี ก็บขอ มูลภาพจติ รกรรมฝาผนงั ตาํ แหนงทเี่ ก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ี คือ มณฑปรอยพระพุทธบาท เปนอาคาร กออิฐถือปูน ลักษณะผังเปนรูปส่ีเหล่ียมจัตุรัส ยกฐานสูง กอระเบียง ๑ ชั้น มุมของระเบียงท้ัง ๔ ทิศมี หอระฆังตงั้ อยู รูปแบบหลังคาของหอระฆังคลายสถาปตยกรรมจีน ตรงกลางของระเบียงท้ัง ๔ ดานมีบันได ทางขึ้นและซมุ ประตูหลังคาโคง ภายในระเบียงมีอาคารรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสต้ังตรงกลาง เปนอาคารเคร่ืองยอด ทรงมงกฎุ ภายในประดษิ ฐานรอยพระพทุ ธบาท ผนังทั้งสี่ดานถูกเจาะเปนชองประตูทุกดาน ดานละ ๑ บาน ภายในอาคารพบภาพจิตรกรรมเลาเร่ืองพระเจาพิมพิสาร สันนิษฐานวาเปนผลงานการเขียนภาพของ ขรวั อินโขง

ภาพที่ ๓-๑๕ : ดา นหนา มณฑปพระพทุ ธบาท วดั พระงาม จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา

ภาพที่ ๓-๑๖ : ภาพจิตรกรรมภายในมณฑปพระพุทธบาท วดั พระงาม จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

๕๗

๓.๑.๗ วัดกลาง ๓.๑.๗.๑ ประวัติวดั โดยสังเขป ตัง้ อยูท ี่ หมทู ี่ ๔ ตาํ บลนครหลวง อาํ เภอนครหลวง จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ตั้งอยูริมแมน้ําปาสัก

ไมพ บประวัตอิ ่นื ๆ พบเพยี ง ปท ่ีสราง ประมาณ พ.ศ.๒๓๓๐ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน ไดรับพระราชทาน วสิ ุงคามสีมาประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๐ สังกัดคณะสงฆมหานิกาย พื้นท่ีวัดเปนที่ราบวัดมีโบราณสถานและภาพ จิตรกรรมสาํ คญั ตัง้ อยู คือ พระมณฑป

๓.๑.๗.๒ ตาํ แหนงพ้ืนท่เี กบ็ ขอ มลู ภาพจติ รกรรมฝาผนัง ตําแหนงที่เก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดนี้ คือ มณฑป เปนอาคารกออิฐถือปูนในผัง ส่ีเหล่ยี มจตั ุรัส มที างเขาสที่ างโดยทางเขา หลักอยูทางทิศเหนือ สันนิษฐานจากรองรอยการสรางทางเดินปูอิฐ ตรงไปสูแ มน ํ้าปาสกั ซมุ ประตูทางเขาทําเปนวงโคงเลียนแบบศิลปะตะวันตก หลังคาของมณฑปเปนทรงจอมแห ประกอบดวยหลังคาที่เอียงลาดเขาหากันท้ังส่ีดานจนถึงคอสอง แลวจึงมีหลังคายอดทรงกรวยเหล่ียมคลาย ปร ามดิ สดี่ า นตอ ข้ึนไป เปนเครื่องไมมุงกระเบื้อง ยอดของหลังคาทําคลายปลองไฉนหรือบัวคลุมเถาเปนทรง กรวยแหลม ชายคาทั้งสี่ดานรองรับดวยผนังอาคารไมมีเสารับชายคาดานนอก หางหงสปูนปนเปนรูปหงอน นาค ครีบเรียงกันตามแนวสันหลังคา มณฑปแหงน้ีสรางขึ้นดวยงานชางแบบพ้ืนบานโดยมีอิทธิพลจากงาน แบบประเพณีนยิ มท่ผี สมผสานอทิ ธิพลจากตะวันตกดว ย ภายในประดิษฐานประตมิ ากรรมชดุ พระมหากัสสปะ เถระถวายบงั คมพระศพพระพทุ ธองค ประกอบดว ยรูปโลงทีม่ พี ระบาทต้ังตรงโผลออกมาทางทิศเหนอื มีสาวก คือพระกัสสปะยืนประคองอัญชลีอยูดานขางพระพุทธบาท โลงแตงดวยลายทองบนพ้ืนสีแดง ภาพรวมของ งานศิลปกรรมท่ีมณฑปวดั กลาง เปนการสือ่ ถงึ เร่อื งราวของพระกัสสปะในคราวถวายพระเพลงิ พระพทุ ธเจา

ภาพท่ี ๓-๑๗ : ดานหนามณฑป (ซาย) และประติมากรรมชุดพระกัสสปะเถรถวายบังคมพระศพพระพุทธองค (ขวา) วัดกลาง จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

๕๘

๓.๑.๘ วัดขนอนเหนอื

๓.๑.๘.๑ ประวัติวดั โดยสงั เขป

วัดขนอนเหนือ ต้ังอยูเลขท่ี ๗๐ บานกรด หมูที่ ๑๑ ตําบลบานกรด อําเภอบางปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยา สังกัดคณะสงฆมหานิกาย มีที่ดินต้ังวัดเนื้อที่ ๓๐ ไร อาณาเขตทิศเหนือยาว ๒๐๐ วา ตดิ ตอกบั ลาํ คลองบานกรด ทิศใตยาว ๒๐๐ วา ติดตอกับลํารางสาธารณะ ทิศตะวันออกยาว ๖๐ วา ติดตอ กับลําคลองบานกรด ทิศตะวันตกยาว ๖๐ วา ติดตอกับท่ีนาของนายวิเชียร บางกุหลาบ มีท่ีธรณีสงฆ ๑๑ แปลง เน้อื ที่ ๑๔๒ ไร ๓ งาน ๕๘ ตารางวา โฉนดเลขท่ี ๑๕๖๕, ๑๘๗๓, ๒๑๘๐, ๓๐๒๑, ๓๐๔๔, ๓๐๘๔

พ้ืนท่ีตั้งวัดเปนท่ีราบลุม สภาพแวดลอมเปนท่ีนาและมีลําคลองหวยกรดเปนทางสัญจรทางนํ้า อาคารเสนาสนะตางๆ มี อโุ บสถกวาง ๙ เมตร ยาว ๒๒ เมตร ท่ีฝาผนังภายในมีภาพพุทธประวัติโดยรอบ ศาลา การเปรียญกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๙ เมตร หอสวดมนตกวาง ๗ เมตร ยาว ๑๕ เมตร กุฏิสงฆ จํานวน ๒๔ หลัง สําหรับปชู นียวัตถมุ พี ระประธานในอุโบสถ พระเพลากวาง ๖ ศอก สูง ๗ ศอก และมีพระพทุ ธฉายดวย

วัดขนอนเหนือ สรางข้ึนเปนวัดนับตั้งแตประมาณ พ.ศ. ๒๒๐๖ โดยมีนายดานใหญช่ือพระยาสี หราชเดโช เปนผสู รางวดั นี้ขึ้น เดมิ ที่ตั้งวัดนเ้ี ปนที่ตัง้ ดา นเก็บภาษอี ยรู มิ คลองหวยกรด และมีอีกวดั หนงึ่ อยูทาง ตอนใตม นี ามวา “วัดขนอนใต” วดั นีจ้ งึ ไดนามวา “วดั ขนอนเหนือ” เดมิ เรยี กวา “วัดปทุมสังขรขนอนเหนือ” ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมาประมาณ พ.ศ. ๒๒๒๕ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๙ เมตร ยาว ๒๒ เมตร การศึกษาทางวัดไดเ ปดสอนพระปริยตั ธิ รรมแกพระภิกษสุ ามเณรตั้งแต พ.ศ. ๒๔๗๓ เปนตนมา นอกจากน้ีได ใหทางราชการจดั ตงั้ โรงเรียนประถมศึกษาขน้ึ ในทว่ี ดั น้ดี ว ย

๓.๑.๘.๒ ตาํ แหนงพน้ื ทีเ่ ก็บขอ มลู ภาพจิตรกรรมฝาผนงั

ตําแหนงท่ีเก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ี คือ พระอุโบสถ เปนอาคารกออิฐถือปูน ลักษณะอาคารทรงคฤหห  มมี ุขลดทั้งดานหนาและดานหลัง หลังคาอาคารซอนกัน ๒ ช้ัน หนาบันไมปดทอง ประดับกระจก ตรงกลางหนาบันประดับลายพระนารายณทรงครุฑลอมรอบดวยลายกานขด ถัดลงมาขางใต หนา บันประดบั รวงผึ้งลายดอกประจาํ ยามทง้ั ดานหนา และดานหลงั อาคาร อาคารมปี ระตูทางเชาออก ๔ ดาน ทางดา นหนา และดานหลัง ดานละ ๒ บาน ดานขางเจาะเปนชองหนาตาง ดานละ ๕ บาน ภายนอกโดยรอบ กรอบบานประตู-หนา ตางประดับปนู ปนลายบษุ บก

๕๙

ภายในอาคารมีภาพจิตรกรรมเลาเร่ืองพุทธประวัติ ดานหลังพระประธานเขียนภาพพระธาตุเจดีย จุฬามณีและปราสาทตางๆ ถัดลงมาเขียนเร่ืองพระมาลัยโปรดสัตวนรก ดานหนาพระประธานเขียนภาพมาร ผจญ สว นผนังดานขางทงั้ ๒ ดาน เลาเรอื่ งพุทธประวัติ เหนือภาพพุทธประวัติเขียนภาพเทพชุมนุม บานประตู- หนา ตางเขยี นลายทวารบาล สว นฝาเพดานทาพ้นื ดวยสีแดง เขยี นลายดาวลอมเดอื นและปดทองทับลาย

ภาพที่ ๓-๑๘ : ภายในพระอุโบสถ (ซาย) และภาพจิตรกรรมฝาเพดาน (ขวา) วัดขนอนเหนือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

๓.๑.๙ วัดเสนาสนาราม ราชวรวหิ าร ๓.๑.๙.๑ ประวัติวัดโดยสงั เขป วัดเสนาสนารามเปนพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร ตั้งอยูดานหลังพระราชวังจันทร

เกษม เดิมชือ่ วาวัดเส่ือ เปน วดั โบราณในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาท่สี มเด็จพระเจาปราสาททองทรงปฏิสังขรณ วัดน้ี แตเดิมเปนวัดที่ไมมีพระสงฆ เพราะเปนวัดในเขตกําแพงพระราชวัง ภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 2 พระราชวังไดรบั ความเสยี หายและถูกทงิ้ รางเร่ือยมา จนกระท่งั ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจาอยูหัว ไดทรงเหน็ ถงึ ความสําคญั จึงทรงสถาปนาขนึ้ ใหมห มดทง้ั พระอารามใน พ.ศ. 2406 เสร็จแลว พระราชทานนาม วาวัดเสนาสนาราม นอกเหนือไปจากเจดียประธาน พระอุโบสถ และหมูเจดียราย ซึ่งเปนงานสถาปตยกรรม พระราชนิยมในรัชกาลท่ี ๔-๕ แลว ภายในวัดยังปรากฏหมูกุฎิตึกโบราณซ่ึงเปนกลุมอาคารที่มีคุณคาทาง การศึกษาท่ีสําคญั อกี แหงหนงึ่ ในปจจุบนั

๓.๑.๙.๒ ตาํ แหนง พื้นท่เี กบ็ ขอ มลู ภาพจติ รกรรมฝาผนัง ตาํ แหนง ท่ีเกบ็ ขอมลู ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ี คือ พระอุโบสถ และ พระวิหารพระอินทรแปลง พระอโุ บสถ สรางเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๐๖ ลกั ษณะอาคารกออิฐถอื ปูน ขนาด ๗ หอ ง กวา ง ๓ หอง ต้ังอยูบนฐานยก พื้นสงู ๑.๑๕ เมตร มีมขุ หนาและหลัง หนาบนั มุขเปนลายปนู ปนรูปชางเอราวัณมีพระมหามงกฎุ อยหู ลังชา ง มี

๖๐

พระเศวตฉตั รประดบั อยู ๒ ขาง พ้นื หลังประดับกระจกสีครามและปดทอง มุขดานหนาพระอุโบสถดานนอก ประดิษฐานพระพทุ ธรูปยืนสัมฤทธ์ิปางเปด โลก ซมุ เปนรปู ปูนปน ประดับกระจกยอดทรงมงกุฎ ๓ ยอด ประตู ขางเปนยอดปราสาทมีซุมจระนํา ภายในมีปูนปนพระมหามงกุฎและพระเศวตฉัตร ซุมหนาตางทําแบบ เดยี วกัน มหี นา ตา งดานละ ๗ บาน ประตดู า นละ ๒ บาน บานหนา ตางดานนอกเขียนลายรดนํ้า ดานในเขียน รปู ทวารบาล เหนือกรอบประตหู นา ตา งดานในมจี ารึกอกั ษรขอม ดานนอกพระอุโบสถมีกําแพงแกวลอมรอบ หลงั พระอุโบสถตั้งพระเจดียองคใ หญรวมไวในเขตพัทธสมี า มีใบเสมา หินออนรูปส่ีเหลยี่ มตั้งไวบนกําแพงแกว ฝาผนังภายในพระอโุ บสถทงั้ ๔ ดา น

ภายในพระอุโบสถเหนืออาสนสงฆเปนท่ีต้ังซุมเรือนแกวยอดเปนรูปพระมหามงกุฎประดิษฐาน พระพทุ ธรูปสัมฤทธ์ิปางมารวิชัย หนาตักกวาง ๒ ศอก ๒ น้ิว สูงตลอดพระรัศมี ๓ ศอก ๑ นิ้ว มีพระนามวา พระสมั พุทธมนี ฝาผนังท้ัง ๔ ดา นมภี าพจิตรกรรม เขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ สามารถแบงออกได ๒ สวน คือสวนเหนอื กรอบบานประต-ู หนาตางขน้ึ ไป เขียนภาพเทวดาลอยอยูทามกลางหมูเมฆ สวนขางใตเขียนเลา เรื่องตางๆ สวนผนังดานหนาพระประธานเขียนเรื่องพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวเสด็จพระราช ดาํ เนนิ ทอดพระเนตรสุริยุปราคา ที่ตําบลหวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ มุมหองทั้ง ๒ ดาน เขียนพระสงฆ ปลงซากศพชักผาบังสุกุลและบําเพ็ญสมถกรรมฐาน ผนังดานหลังพระประธานเขียนภาพปริศนาธรรม พระสงฆปลงซากศพชกั ผาบังสกุลและบําเพ็ญสมถกรรมฐาน สวนผนังดานขางทั้ง ๒ ดานเขียนเลาเร่ืองพระ ราชพิธี ๑๒ เดือน

ภาพท่ี ๓-๑๙ : ดา นหนา พระอโุ บสถ วัดเสนาสนาราม ราชวรวิหาร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

๖๑

ภาพท่ี ๓-๒๐ : พระประธานภายในพระอโุ บสถ วัดเสนาสนาราม ราชวรวหิ าร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา พระวิหารพระอินทรแปลง พระวิหารพระอินทรแปลง เปนอาคารกออิฐถือปูน ขนาด ๕ หอง

กวาง ๒.๕ หอง หลังคามุงกระเบ้ืองดินเผาเคลือบหนาบันและเคร่ืองประดับเปนปูนปน มีประตูดานหนา ๒ ประตู ตอนกลางระหวา งประตูมีหนา ตา ง ๑ บาน หนาตางดานขางดานละ ๔ บาน บานสุดทายทางดานหลัง ทําเปนประตูออกขางผนังดานหลังติดตอกับวิหารพระพุทธไสยาสน จึงเปนผนังทึบดานหนามีมุข สรางสกัด หนา ทําชองซมุ โคง เปนประตู ทุกซมุ ประตูหนาตางประดับลายปูนปน บานประตูหนาตางดานนอกเขียนลาย รดน้ํา ดา นในเขียนสีลายทวารบาล พื้นปูหนิ ออน ยกพืน้ ขนึ้ เปนอาสนสงฆ เพดานปดทองลายฉลุ รูปดาวลอม เดือน ตรงกลางผนังดา นหลงั สรา งเปน หอ งประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ปางปาลิไลยก ตอนหนา ของหอ งสรา งเรือน แกว ประดิษฐานพระประธาน "พระอินทรแปลง" และพระสาวกยืนถวายสกั การะอยูทั้ง ๒ ขา ง

ภายในอาคารมภี าพจติ รกรรมท้งั ๔ ดา น แบงเปน ๒ สวน คอื สวนเหนือกรอบบานประตู-หนาตาง เขียนภาพเทพชุมนุมน่ังพนมมือหันหนาไปทางพระประธาน เหนือข้ึนไปเขียนภาพลายดอกไมรวงและร้ิว ริบบ้ิน สว นใตกรอบบานประต-ู หนาตางลงมาเขียนภาพเลาเรอ่ื งตํานานพระอินทรและวหิ ารพระอินทรแ ปลง

ภาพท่ี ๓-๒๑ : พระประธานภายในพระอโุ บสถ วัดเสนาสนาราม ราชวรวิหาร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา

๖๒

๓.๒ จังหวดั สิงหบุรี

๓.๒.๑ วัดมวง

๓.๒.๑.๑ ประวัตวิ ดั โดยสงั เขป

วัดมวง ต้ังอยูเลขท่ี ๙๖ บานบางกะป หมูท่ี ๘ ตําบลอินทรบุรี อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี สงั กดั คณะสงฆมหานิกาย มีท่ีดินตั้งวัดเน้ือท่ี ๘ ไร ๒ งาน ๔๐ ตารางวา ส.ค. ๑ เลขท่ี ๑๐๖ อาณาเขต ทิศ เหนือยาว ๑๙๑.๕๐ เมตร ติดตอกับทางเดินเขาสูหมูบาน ทิศใตยาว ๑๙๑.๕๐ เมตร ติดตอกับลําคลองและ ทางเดิน ทิศตะวันออกยาว ๖๕.๗๐ เมตร ติดตอกับถนนชนบท ทิศตะวันตกยาว ๖๕.๗๐ เมตร ติดตอกับ แมนํ้าเจาพระยา มีที่ธรณีสงฆ ๗ แปลง เนื้อที่ ๑๑๗ ไร ๑ งาน ๖๕ ตารางวา โฉนดและ ส.ค. ๑ เลขท่ี ๗๘๑๖, ๘๘๖๑, ๕๕๒๗, ๕๕๒๙, ๕๕๖๘, ๑๒๑๘๗, ๑๐๕ อยูทองท่ีตาํ บลอินทรบุรี ๒ แปลง ตําบลน้ําตาล ๓ แปลง ตําบลชอ งแคและตําบลสรอยทอง อําเภอตาคลี จังหวดั นครสวรรค ๒ แปลง

พืน้ ท่ตี ัง้ วดั เปนทร่ี าบลมุ อยรู มิ แมนํา้ เจา พระยา อาคารเสนาสนะตา ง ๆ มี อโุ บสถกวา ง ๘ เมตร ยาว ๒๓ เมตร สราง พ.ศ. ๒๕๒๑ โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่หนาบันอุโบสถมีพระนามาภิไธยยอ “ส.ก.” ประดิษฐานอยู ศาลาการเปรียญกวาง ๑๖ เมตร ยาว ๒๒.๕๐ เมตร สราง พ.ศ. ๒๕๐๔ เปนอาคารไมเสา คอนกรีต หอสวดมนตกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๒.๕๐ เมตร สราง พ.ศ. ๒๔๘๑ กุฏิสงฆ จํานวน ๙ หลัง เปน อาคารคอนกรีต ๒ ชั้น และมีวิหาร ๑ หลัง ท่ีฝาผนังภายในมีภาพพุทธประวัติทศชาติ และนรกสวรรค เปน ภาพเขียนสฝี นุ ฝม ือวาดชัน้ ครทู ี่งดงามสมบูรณมากที่สุดของภาคกลางสันนิษฐานวาเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ แหงกรุงรัตนโกสินทร สําหรับปูชนียวัตถุมี พระประธานในอุโบสถ พระประธานในวิหารและมีเจดีย ๑ องค ฐานกวางดานละประมาณ ๕ วา สูงประมาณ ๑๕ วา ชาวบา นเลาตอ ๆ กนั มาวา เจดยี นี้สรางขนึ้ เพ่ือลางบาป

วัดมวง สรางข้นึ เปน วัดนับต้ังแตป ระมาณ พ.ศ. ๒๓๖๕ เดมิ มีตนมะมว งใหญ ๆ อยูมาก ชาวบานจึง เรียกตามสภาพทองที่ต้ังวัด ชาวบา นแถวนส้ี วนมากมีถิ่นฐานอยูที่เวียงจันทร ไดรับพระราชทานวิสุงคามสีมา คร้ังหลังวันท่ี ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๖ เขตวิสุงคามสีมากวาง ๒๐ เมตร ยาว ๔๐ เมตร มีพระภิกษุอยู จําพรรษาปล ะ ๑๒ รูป สามเณร ๖ รูป ทางวดั ไดเ ปดสอนพระปรยิ ตั ธิ รรม พ.ศ. ๒๕๐๐ เปน ตน มา

ในสมัยรัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาฯ ไดเ คยเสดจ็ มาและไดประทับเสวยพระกระยา หารท่บี นศาลา การเสดจ็ มาครัง้ น้ันไดเสด็จโดยทางน้าํ

๖๓

ในการสรางอุโบสถเมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๑ สมเด็จพระสังฆราช วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามไดเสด็จมา ทรงวางศลิ าฤกษเ พ่อื เปนมิ่งมงคลแกวดั

ตอมาเมื่อวันท่ี ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๖ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถไดเสด็จมาทรง เปดพระนามาภิไธยยอ “ส.ก.” ที่ไดโปรดพระราชทานแกวัด นําประดิษฐานไวท่ีหนาบันอุโบสถ นับวาเปน เกียรตแิ กว ัดอยา งสูงยิง่ หาที่สุดมิได

ภาพท่ี ๓-๒๒ : ภายนอกพระวิหาร วัดมว ง จงั หวดั สงิ หบุรี

ภาพที่ ๓-๒๓ : หนาจ่วั วหิ าร วดั มว ง จังหวดั สิงหบรุ ี ๓.๒.๑.๒ ตําแหนงพ้ืนทเ่ี ก็บขอ มลู ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ตําแหนงที่เก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดนี้ คือ พระวิหาร เปนอาคารกออิฐถือปูน

ต้งั อยขู างพระอุโบสถ เปน อาคารทรงคฤหห ยกพื้นสูง มีมุขลดดานหนา ทางเขาออกอาคารมีเพียงดานเดียว คอื ดานหนา ดานหลังเปน ผนงั ทึบตนั สวนดา นขางเจาะชอ งหนาตางดานละ ๒ บาน เคร่ืองหลังคาประดับชอ ฟา ใบระกา หางหงส บริเวณจว่ั มุขลดดา นหนา อาคารและบรเิ วณจวั่ ดา นหลงั อาคารประดบั เครื่องถว ย

๖๔

ภายในมขุ ลดดา นหลงั จั่วมภี าพจติ รกรรม ภาพรอยพระพุทธบาทและวิถีชีวิตของชาวบาน ผนังดาน นอกอาคารเขยี นภาพจิตรกรรมเลาเรอ่ื งพระมาลัยคร้ังสนทนาธรรมกับพระอินทร พระศรีอาริยเมตไตร และ โปรดสตั วใ นนรกภูมิ

ภายในอาคารมีพระประธานต้ังอยูบนฐานชุกชี ๑ องค เหนือพระประธานมีฝาเขียนลายดาวลอม เดือน ผนังทั้ง ๔ ดาน เขียนภาพจิตรกรรมเลาเร่ืองพุทธประวัติ ดานหลังพระประธานเขียนภาพมารผจญ ดานหนาพระประธานเขียนภาพขนาบชางดา นพระสาวก ภาพคร้ังเสด็จลงจากสวรรคชั้นดาวดึงส และภาพสัตว นรก บริเวณผนังดานขางทั้ง ๒ ดาน เขียนภาพเลาเรื่องพุทธประวัติ สวนบานประตู-หนาตางเขียนภาพทวาร บาล บรเิ วณผนังเหนือบานหนา ตางถูกเจาะเปนชองซุมขนาดเล็ก ภายในเขยี นภาพพระพุทธเจาปางสมาธิ

ภาพท่ี ๓-๒๔ : พระประธานภายในวิหาร วัดมว ง จงั หวดั สงิ หบ ุรี

ภาพที่ ๓-๒๕ : ภาพจิตรกรรมดานหลังจ่ัวมขุ ลดภายในวิหาร วัดมว ง จงั หวดั สงิ หบ รุ ี

๖๕

๓.๒.๒ วัดสทุ ธาวาส (วดั ใหม)

๒.๒.๒.๑ ประวตั ิวดั โดยสังเขป

วดั สุทธาวาส ตั้งอยูเลขที่ ๔๖ บา นใหม หมทู ่ี ๔ ตาํ บลทับยา อําเภออินทรบุรี จังหวัดสิงหบุรี สังกัด คณะสงฆม หานิกาย มีท่ีดินตัง้ วัดเนื้อที่ ๒๔ ไร ๒ งาน ๗๕ ตารางวา อาณาเขต ทิศเหนือยาว ๖ เสน ๑๓ วา ติดตอกับท่ีดินของนายใบ นางฉาย ทิศใตยาว ๖ เสน ๑๓ วา ติดตอกับที่ดินของนางจําลอง นายพวง ทศิ ตะวนั ออกยาว ๓ เสน ๑๘ วา ติดตอกับแมนํ้าเจาพระยา ทิศตะวันตกยาว ๓ เสน ๑๓ วา ติดตอกับที่ดิน ของนางบูญชู

พ้ืนที่ต้ังวัดเปนพ้ืนที่ราบลุม อยูริมแมน้ําเจาพระยาฝงตะวันตก อาคารเสนาสนะตางๆ มีอุโบสถ กวา ง ๖ เมตร ยาว ๒๒ เมตร สราง พ.ศ.๒๕๑๘ โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก มีกําแพงแกวโดยรอบ ศาลา การเปรยี ญกวาง ๑๒.๘๐ เมตร ยาว ๓๑.๕๐ เมตร สราง พ.ศ.๒๔๙๓ เปนอาคารไม หอสวดมนตกวาง ๗.๕๐ เมตร ยาว ๑๓ เมตร สราง พ.ศ.๒๕๐๕ เปนอาคารไม กุฏิสงฆ จํานวน ๕ หลัง เปนอาคารไม นอกจากน้ีมี วิหารพระพุทธบาท ท่ีฝาผนังมีภาพเขียนพุทธประวัติและวิหารพุทธปรินิพพาน สําหรับปูชนียวัตถุมี พระ ประธานในอุโบสถ พระพทุ ธประดษิ ฐานอยตู ามชองกาํ แพง พระพทุ ธฉายประทับยืนพรอมดวยพระอัครสาวก แนบตดิ อยูที่หนา ผา และรอยพระพทุ ธบาทจาํ ลอง

วัดสทุ ธาวาส สรา งข้นึ เปนวัดนับตัง้ แตป ระมาณ พ.ศ.๒๔๐๓ แรกเร่ิมสรางวัดนั้นไดมีบิดาของหลวง ทวสี มบัตชิ อื่ วา “เอม” เปน ชาวบา นบางชาง จังหวัดสมทุ รสงคราม ไดอพยพครอบครัวมาต้ังถ่ินฐานอยูไดพบ พระพุทธรูปศิลาใหญชํารุดอยูบนเนินดิน และมีสระน้ําอยูติดตอกับเนินดิน และมีซากเจดียอีกดวย เปนท่ี เขาใจวาเปนวัดรางอยูเดมิ จึงไดทําการบูรณปฏิสงั ขรณพ ระพุทธรูปไวเ ปน ทีส่ กั การบูชา ตอมา หลวงทวีสมบัติ (สอน ปภสู โร) ผูเปนบุตรก็ไดทําการกอสรางใหเปนวัดท่ีเจริญข้ึนมา ระยะแรกเรียกวา “วัดใหม” ตอมาไดเติม สรอ ยวดั เปน “วดั ใหมสทุ ธาวาส” ในสมยั ของพระใบฎกี าอิม่ เปนเจา อาวาส ถึงป พ.ศ. ๒๔๘๓ ไดเปลี่ยนใหมเปน “วัดสุทธาวาส” ไดรับพระราชทานวิงสุงคามสีมาครั้งหลังเม่ือวันท่ี ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๓ เขตวสิ ุงคามสีมากวาง ๒๐ เมตร ยาว ๑๒ เมตร ไดผ ูกพทั ธสมี าวนั ที่ ๙ มนี าคม พ.ศ.๒๕๑๕ มพี ระภิกษุจําพรรษา อยู ๗ รปู ทางวัดไดเ ปด สอนพระปริยัตธิ รรมพ.ศ. ๒๕๒๓ มโี รงเรียนประถมศึกษาของทางราชการอยทู ่วี ัดนด้ี วย

๓.๒.๒.๒ ตําแหนง พน้ื ท่ีเกบ็ ขอ มลู ภาพจติ รกรรมฝาผนัง ตาํ แหนงท่ีเกบ็ ขอมลู ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ี คือ วหิ ารรอยพระพุทธบาท ลักษณะอาคาร กออฐิ ถอื ปูน ทรงคฤหห  บริเวณจวั่ ดา นหนาอาคารมีรองรอยการประดบั เครื่องถว ย ปจจุบันหลงเหลืออยูเพียง

๖๖

๒ ใบ จากท้ังหมด ๑๗ ใบ ผงั ตวั อาคารเปนรปู สีเ่ หลีย่ มจตั ุรสั แบง พ้นื ทีอ่ อกเปน ๒ สวน ดานหนาเปนระเบียง และดานในประดิษฐานรอยพระพุทธบาท อาคารเขา-ออกไดทางเดียวคือทางดานหนา ผนังภายในถูกเจาะ เปน ชองหนาตา ง ๒ ชอ ง บริเวณดา นขา งอาคาร ดานละ ๑ ชอ ง โดยตําแหนง เจาะชอ งหนา ตา งอยูในแนวแกน เดยี วกบั รอยพระพทุ ธบาท ภายในอาคารมภี าพจติ รกรรมโบราณเลา เรอ่ื งพุทธประวตั ิ

ภาพท่ี ๓-๒๖ : ภายนอกวหิ ารพระพุทธบาท วดั สุทธาวาส (ใหม) จงั หวัดสิงหบ ุรี

ภาพที่ ๓-๒๗ : ภายในวหิ ารพระพทุ ธบาท วดั สุทธาวาส (ใหม) จงั หวดั สิงหบรุ ี

๖๗

๓.๓ จงั หวัดอางทอง

๓.๓.๑ วัดไชโยวรวิหาร

๓.๓.๑.๑ ประวัตวิ ัดโดยสังเขป

วัดนี้เดิมเปนวัดราษฎรเกาแกมาชานาน มีนามวาวัดไชโย คร้ันเม่ือสมเด็จพระพุฒาจารย (โต พรหมารํสี) เจาอาวาสวัดระฆังโฆษิตารามไดเลือกวัดนี้เปนที่สรางพระพุทธรูปองคใหญ ต้ังอยูกลางแจง กลา วกันวา การกอสรางพระพทุ ธรูปนี้ใชเวลานานเกือบ ๓ ป ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จึงแลว เสรจ็ แลว สมเด็จพระพุฒาจารยไดถ วายวัดไชโยเปน วดั หลวง ไดรบั พระราชทานนามวา วดั เกตไุ ชโย

ในป พ.ศ.๒๔๓๐ มีการปฏิสังขรณวัดเกตุไชโยทั้งพระอาราม ทําใหพระพุทธรูปไดรับแรงสะเทือน จากการกอสรางพระวิหารก็พังทลายลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสรางพระพุทธรูปข้ึนใหมทดแทน โดยโปรดเกลาฯ ใหพระวรวงศเธอ พระองคเจาประดิษฐวรการเปนแม กองชา ง โดยรอื้ องคพระเดมิ ออกหมด วางรากฐานกอสรางใหมใชโครงเหล็กรัดอิฐปูนไวภายในลดขนาดจาก องคเ ดิมลง พระพทุ ธรูปองคน ้ีไดรับพระราชทานนาม พระมหาพุทธพิมพ ขนาดหนาตักกวาง ๘ วา ๖ นิ้ว สูง ๑๑ วา ๑ ศอก ๗ นว้ิ และยังมกี ารกอ พระวิหาร สรา งพระอุโบสถเปนมุขลดยื่นออกมาทางดานหนา มีศาลาราย กําแพงแกว กุฎิสงฆ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต หอระฆัง ศาลารายกลางวัด ศาลาทาน้ํา รวมเวลา การปฎิสังขรณนานถึง ๘ ป

วดั เกตุไชโยตั้งอยรู ิมแมน้ําเจาพระยา ในอดตี น้นั เมอ่ื ถึงหนาเทศกาลไหวพระประจาํ ปจะมีเรือพาย มากมายจอดทอดอยูหนาวัดริมนํ้า เสียงเพลงเรือ เพลงพ้ืนบานดังโตตอบกันครึกคร้ืน ปจจุบันทาน้ํามีเพียง สายนาํ้ ไหลรนิ

๓.๓.๑.๒ ตาํ แหนง พน้ื ทีเ่ ก็บขอมลู ภาพจติ รกรรมฝาผนัง

ตําแหนงท่ีเก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดน้ี คือ พระอุโบสถ ภายในประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปนปางสมาธิ ผนังทุกดานมีภาพจิตรกรรม ฝมือชางสมัยรัชกาลท่ี ๕ เลาเร่ืองพุทธประวัติ โดยรอบทุกผนัง โดยเขียนข้ึนไปสูงประมาณคร่ึงหน่ึงของผนัง สวนท่ีเหลือเขียนภาพเทพชุมนุมตามแบบ วดั เขมาภิรตาราม ฝม อื ชา งสมยั รชั กาลที่ ๕ สว นบนประตหู นาตางนั้น ดานนอกเขียนลายตาขายเทพนมลงรัก ปดทอง สวนดานในเปนภาพเขียนสีฝุนรูปเครื่องบูชาจีน ยังอยูในสภาพที่ดี กลาวไดวาพระวิหารแหงนี้มี ความสําคญั และคณุ คาในการศึกษาทางสถาปตยกรรมไทยแหงหน่ึง

๖๘

ภาพท่ี ๓-๒๘ : ดานหนา วหิ าร วัดไชโยวรวหิ าร จงั หวัดอา งทอง

ภาพท่ี ๓-๒๙ : ภายในวหิ าร วัดไชโยวรวหิ าร จงั หวดั อา งทอง ๓.๓.๒ วัดเขยี น

๓.๓.๒.๑ ประวัติวดั โดยสังเขป วัดเขียน ต้ังอยูเลขท่ี ๕๐ บานบางกะพัน หมูท่ี ๘ ตําบลศาลเจาโรงทอง อําเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอา งทอง สังกัดคณะสงฆมหานิกาย มที ดี่ นิ ตง้ั วดั เนื้อที่ ๑๙ ไร ๒๕ ตารางวา น.ส. ๔ ง เลขที่ ๑๓๙๕๕ อาณาเขต ทิศเหนอื ติดตอ กบั ถนนสาธารณะ และหมูบาน ทศิ ใตต ิดตอกับถนนและลํารางสาธารณะและทุงนา ทศิ ตะวันออกติดตอกบั คลองวัดเขยี นและท่ที ี่มีการครอบครอง ทิศตะวนั ตกตดิ ตอ กบั คลองชลประทาน

๖๙

พื้นท่ีตั้งวัดเปนที่ราบลุม มีหมูบานและลําคลองโดยรอบบริเวณวัด วัดเขียน สรางขึ้นเปนวัด นับตงั้ แตสมยั อยธุ ยาปลาย ประมาณ พ.ศ. ๒๒๐๐ ทฝ่ี าผนังอโุ บสถมีภาพเขียนศิลปสมัยอยุธยา นามวัดคงจะ หมายถงึ วาเปนวัดทม่ี ภี าพเขียนมาแตเ ดิม วัดน้ไี ดร บั พระราชทานวสิ ุงคามสมี าแลว ประมาณ พ.ศ. ๒๒๑๐ สิ่ง สาํ คัญท่พี บภายในวัดนี้ ไดแก อโุ บสถ ๑ หลัง กวาง ๗.๔๐ เมตร ยาว ๙.๖๐ เมตร และฐานโบราณสถาน

๓.๓.๒.๒ ตาํ แหนง พ้ืนทเี่ กบ็ ขอ มูลภาพจติ รกรรมฝาผนงั ตําแหนงท่ีเก็บขอมูลภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในวัดนี้ คือ พระอุโบสถ ภายในมีภาพเขียนดวย สียางไม สมัยอยุธยา เขียนแสดงเร่ืองราวเกีย่ วกับพทุ ธประวตั ิ ทศชาติชาดก และสุธนชาดก สันนิษฐานวาเปน ฝม อื ชางสกลุ เมอื งวิเศษชัยชาญสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะภาพคลายกับภาพเขียนที่พระอุโบสถวัดเกาะ และวดั ใหญสุวรรณาราม จงั หวดั เพชรบรุ ี ซึ่งอยูใ นยุคเดยี วกัน

ภาพที่ ๓-๓๐ : ดา นหนาวหิ าร (ซาย) และภาพถายภายนอกลักษณะอาคารเดิม (ขวา) วัดเขียน จังหวดั อา งทอง

๓.๔ จงั หวดั สระบรุ ี ๓.๔.๑ วัดหนองโนเหนือ

๓.๔.๑.๑ ประวัตวิ ดั โดยสังเขป วดั หนองโนเหนอื ตงั้ อยเู ลขที่ ๖๘ บานหนองโน หมทู ี่ ๓ ตําบลหนองโน อําเภอเมืองสระบุรี จังหวัด สระบุรี สงั กดั คณะสงฆมหานกิ าย มที ด่ี นิ ตง้ั วัดเนือ้ ท่ี ๕ ไร ๗๐ ตารางวา ส.ค. ๑ เลขที่ ๑ อาณาเขต ทิศเหนือ ยาว ๔๓ วา ติดตอกับที่สวนของนายเปล่ียม และนายปุก ทิศใตยาว ๕๓ วา ติดตอกับทางนํ้า ทิศตะวันออก

๗๐

ยาว ๔๕ วา ติดตอกับท่ีดินของนายสมบุญ หินออน ทิศตะวันตกยาว ๕๑ วา ติดตอกับถนนประจําตําบล สรางขนึ้ เปน วดั นับตั้งแต พ.ศ.๒๓๖๓ เดมิ ตง้ั อยูในหมูบานเรียก “วัดหนองโน” ไดยายเสานาสนะมาสรางข้ึน เพอ่ื ความเหมาะสมและความสะดวกสบาย ไดร บั พระราชทานวิสงุ คามสีมา พ.ศ.๒๓๗๓

พ้นื ทีต่ ้งั วัดเปน ท่ีราบลมุ มีท่ีนาท่ีสวนของชาวบานลอมรอบ อาคารเสานาสนะตางๆ มีอุโบสถกวาง ๔ เมตร ยาว ๖ เมตร กอ อิฐถือปูน ภายในมีภาพจิตรกรรม ศาลาการเปรียญกวาง ๑๒ เมตร ยาว ๒๒ เมตร เปนอาคาร ๒ ชั้น ครึ่งตกึ ครง่ึ ไม สราง พ.ศ. ๒๕๐๐ หอสวดมนตกวาง ๔ เมตร ยาว ๘ เมตร เปนอาคารไม กุฏสี งฆ จํานวย ๒ หลัง เปน อาคาครงึ่ ตกึ ครึ่งไม สําหรับปชู นียวัตถุมีพระประธานภายในอโุ บสถ

๓.๔.๑.๒ ตาํ แหนงพืน้ ที่เกบ็ ขอ มลู ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ตาํ แหนงท่เี ก็บขอ มลู ภาพจติ รกรรมฝาผนังภายในวัดนี้ คือ พระอุโบสถ ลักษณะอาคารกออิฐถือปูน ขนาดกวา ง ๔ เมตร ยาว ๖ เมตร หลังคาทรงคฤหห ซ อน ๒ ช้นั มรี ะเบยี งลอ มรอบ ๓ ดาน คือดานขางอาคาร และดานหลัง ดานหนามีมุขยื่น หลังคาประดับชอฟา ใบระกา หางหงส อาคารถูกลอมรอบดวยกําแพงแกว มีทางเขาออกท้ัง ๔ ดาน ตัวอาคารเขา-ออกไดทางดานหนาทางเดียว ผนังอาคารดานขางถูกเจาะเปนชอง หนาตา ง ขา งละ ๒ บาน ภายในอาคารประดิษฐานพระพุทธรูปสําคัญ ๒ องค ชาวบานเรียกขานวา “หลวงพอแลง” เปน พระพทุ ธรูปหินทรายสีแดง รปู แบบศลิ ปะอูทองปางมารวชิ ยั องคท ่ี ๑ พระเพลากวา ง ๒๗ นิ้ว สูง ๔๐ นิ้ว องคที่ ๒ พระเพลากวาง ๒๘ นิ้ว สูง ๔๑ นิ้ว ผนังท้ัง ๔ ดานเขียนภาพจิตรกรรมเลาเรื่องตางๆ ดานหลัง พระประธานเขยี นภาพการบชู าพระธาตเุ จดียจุฬามณี และพระเวสสันดรตอนฉกษัตริยและนครกัณฑอยูขาง ใต ดานหนาพระประธานเขยี นภาพมารผจญและเขียนเลาเร่ืองจันทโครพ สวนผนังดานขางทั้ง ๒ ดาน เขียน เลา เรือ่ งพระเวสสันดรและจันทโครพอยขู างใต สันนษิ ฐานวา เขยี นข้ึนในสมัยรตั นโกสินทรต อนตน -ตอนกลาง

ภาพที่ ๓-๓๑ : ดา นหนาพระอโุ บสถ (ซาย) และภายในพระอุโบสถ (ขวา) วัดหนองโนเหนอื จังหวัดสระบุรี

๗๑

๓.๔.๒ วัดจันทบรุ ี

๓.๔.๒.๑ ประวตั ิวัดโดยสงั เขป

วัดจนั ทบุรี ตงั้ อยูเลขที่ ๖ บา นเมอื งเกา หมทู ่ี ๖ ตําบลเมอื งเกา อาํ เภอเสาไห จังหวัดสระบุรี สังกัด คณะสงฆมหานิกาย มีท่ีดินตั้งวัดเน้ือที่ ๒๗ ไร ๓ งาน ๖๐ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๗๗๙๖-๔๕๑ อาณาเขต ทิศเหนือยาว ๑๓๒ เมตร ติดตอกับหมูบานเรือนของประชาชน ทิศใตยาว ๒๘๔ เมตร ติดตอกับที่นาของ เอกชน ทศิ ตะวนั ออกยาว ๒๓๖ เมตร ติดตอ กับแมน ้ําแควปาสัก ทิศตะวันตกยาว ๒๒๘ เมตร ติดตอกับท่ีนา ของเอกชน มีทธ่ี รณสี งฆจ าํ นวน ๑ แปลง เน้อื ที่ ๑๐ ไร โฉนดเลขที่ ๔๒๐

พืน้ ทต่ี ัง้ วดั เปน ที่ราบลุมอยรู ิมแมนํ้าแควปาสัก อาคารเสนาสนะตางๆ มีอุโบสถกวาง ๘ เมตร ยาว ๑๘ เมตร สรา ง พ.ศ.๒๔๓๖ ทหี่ นาบันมีถวยชามประดับ ท่ีฝาผนังมีภาพจิตรกรรม เปนภาพพุทธประวัติและ เทพชุมนุม มีลักษณะสวยงามเปนผลงานของฝมือชางชั้นสูงรูปแบบศิลปกรรมก็อยูในสมัยเดียวกันกับตัว อุโบสถ ศาลาการเปรียญกวาง ๑๓ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สรางดวยไม พ.ศ.๒๕๐๕ หอสวดมนตกวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๕ เมตร สรา งดว ยไมย กพ้ืนสูง กฏุ สี งฆจํานวน ๓ หลงั เปน อาคารไมยกพน้ื สงู สาํ หรับปชู นียวัตถุมี พระประธานในอโุ บสถ

วัดจันทบรุ ี สรางขน้ึ เปน วัดนบั ตง้ั แตวันท่ี ๑๕ มนี าคม พ.ศ.๒๕๓๕ จากคาํ บอกเลาสบื ตอมากันวา มี พี่นองสองคนไดสรางวัดคนละวัด คนพี่ชื่อ “จัน” ไดสรางวัดน้ีจึงไดมีนามวัดวา “วัดจันทบุรี” คนนองช่ือ “ศร”ี ไดสรางวดั ศรมี หาโพธิ ซึง่ ปจจบุ นั เรียก “วดั มะกรดู ” สถานทีต่ ั้งวัดจนั ทบรุ ี แตเ ดิมนัน้ เมืองสระบุรีตั้งอยู แถวนี้ ชาวบานมักเรียกนามวัดน้ีวา “วัดเมือง” ปจจุบันนิยมเรียกวา “วัดจันท” ไดรับพระราชทาน วิสงุ คามสีมาครง้ั แรก ปพ.ศ.๒๔๓๖ ไดรับพระราชทานคร้ังหลังวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๕ มีพระภิกษุจํา พรรษา ๑๐ รูป สามเณร ๒ รูป มโี รงเรยี นประถมศึกษาของทางราชการและมีที่ทาํ การเกษตรตง้ั อยทู วี่ ดั นด้ี ว ย

๓.๔.๒.๒ ตาํ แหนง พื้นทเี่ ก็บขอ มลู ภาพจติ รกรรมฝาผนงั

ตําแหนง ทเ่ี กบ็ ขอ มูลภาพจติ รกรรมฝาผนงั ภายในวัดน้ี คือ พระอุโบสถ ลักษณะอาคารกออิฐถือปูน ทรงจว่ั หลงั คาตบั เดยี ว หนาบนั ประดบั ปนู ปนลายพันธุพฤกษาและประดับเครื่องถวย ทางเขา-ออกอาคารมี เพียงดา นหนาทางเดยี ว แบงเปนบานประตู ๒ บาน ขนาบซุมประตูกอปด ๑ บาน ผนังดานขางถูกเจาะชอง หนา ตา งดานละ ๕ บาน เหนอื กรอบบานประต-ู หนา ตา งประดับลายปูนปน ลายพันธพุ ฤกษาและเคร่ืองถวย

๗๒

ภายในอาคารประดิษฐานพระพุทธรปู ๕ องค พระประธานปางสมาธิ ๑ องค ปางมารวิชัย ๒ องค และปางสมาธิ ๒ องค ผนังทั้ง ๔ ดานเขียนภาพจิตรกรรมครบทุกดาน ดานหนาพระประธานเขียนภาพ มารผจญ และเลาเร่ืองพุทธประวัติขางใต ดานหลังพระประธานเขียนภาพมานแหวกกลางอยางเทศน ลายมานเขียนบลายพุมขาวบิณฑกานแยง สวนผนังดานขางท้ังสองดานแบงเปน ๒ ชั้น ชั้นบนเหนือกรอบ หนาตางเขียนภาพเทพชุมนุม ประดับลายอุบะดอกไมดานบน ผนังระหวางชองหนาตางเขียนภาพเลาเรื่อง ดานขวาพระประธานเขียนภาพทศชาตชิ าดก สวนทางดา นซายพระประธานเขียนภาพพุทธประวัติ ฝาเพดาน ทาสคี ราม เขยี นลายดาวเพดานปดทอง และโครงชื่อทาสีแดงเขียนลายดาวเพดานปด ทองเชน เดยี วกนั

ภาพท่ี ๓-๓๒ : ดานหนาพระอุโบสถ (ซาย) และภายในพระอโุ บสถ (ขวา) วัดจนั ทบรุ ี อําเภอเสาไห จงั หวัดสระบรุ ี