Barometer ว ดอ ณหภ ม ภายในห องเร ยน

- ลากเชื่อมตอ่ ระหวา่ งเสน้ หมายเลข 1 และหมายเลข 2 เป็นเส้นหมายเลข 3สีแดง 4) จากตวั อย่างนี้ พบว่า กราฟเส้นที่ 3 ไม่พาดผ่านเส้น Wet bulb แสดงว่า กลุ่มควันทีอ่ อกจากปลอ่ งสู่บรรยากาศไม่เกิดไอนา้ ควบแนน่ หมายเลข 2 หมายเลข 3 หมายเลข 1 2.6 ถือแผนภูมิเขม่าควันของริงเกิลมานน์ที่ระดับสายตาของผู้ตรวจวัดโดยให้อยู่ในแนวต้ังฉากกับการเคลื่อนท่ีของกลุ่มเขม่าควัน ใหถ้ อื แผนภูมิเขมา่ ควันแบบรูปวงกลมในระดับสายตาและมองเขม่าควันจากปล่องระบายอากาศเสียผา่ นรตู รงกลาง 2.7 ผู้ตรวจวดั สังเกตความทึบแสงของเขมา่ ควนั ทีป่ ล่อยท้ิงจากปล่องระบายอากาศเสียเปน็เวลา 15 นาทตี ่อเนือ่ ง โดยการสังเกตความทบึ แสงของกลมุ่ เขม่าควันทปี่ ล่อยท้ิงจากปากปล่อง ถา้ กลมุ่เขมา่ ควันเกิดขึน้ ไมต่ ่อเน่ือง ใหส้ ังเกตความทบึ แสงจากจุดเขม่าควนั ที่มีความหนาแนน่ มากที่สดุเปรียบเทียบความทบึ แสงกับแผนภมู ิเขม่าควันของรงิ เกลิ มานนเ์ พ่อื หาคา่ ความทึบแสงทใี่ กล้เคยี งกบัความทบึ แสงของกลมุ่ เขม่าควันที่ปล่อยท้งิ จากปล่องระบายอากาศเสีย 2.8 ให้บนั ทกึ ผลการตรวจวัดทกุ ๆ 15 วนิ าที (จนครบ 15 นาที สาหรบั เตาเผามลู ฝอยเตาเผามูลฝอยตดิ เชื้อและสถานประกอบการทใ่ี ช้หม้อไอน้า และจนครบ 30 นาที สาหรับเตาเผาศพ) ลงในแบบบันทึกผลการตรวจวดั ค่าความทบึ แสง โดยให้มองกลมุ่ ควนั และอ่านค่าทกุ ๆ 15 วินาที ไม่ควรมองกลุ่มควันอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาเพราะจะทาให้ตาเมื่อยลา้ 3. การคานวณคา่ ความทบึ แสง 3.1 คานวณค่าความทึบแสง โดยนาผลรวมค่าความทึบแสงที่ผู้ตรวจวัดแต่ละคนจดบันทึกหารดว้ ยจานวนคร้งั ท้งั หมดท่ีจดบันทึก ผลลัพธ์ท่ีได้เป็นค่าความทึบแสงของผู้ตรวจวัดแต่ละคน มีหน่วยเปน็ ร้อยละหน้า 240 การตรวจวดั ค่าความทบึ แสงของเขมา่ ควนั ด้วยสายตา 3.2 นาค่าความทึบแสงของผูต้ รวจวดั แต่ละคนมาเปรียบเทยี บกนั 1) หากผลการเปรยี บเทียบ แตกต่างกันมากกวา่ 3 ใหท้ าการตรวจวดั ใหม่ 2) การเปรยี บเทียบแตกต่างกันไม่เกิน 3 ให้นาค่าความทึบแสงของผู้ตรวจวัดแต่ละคนมารวมกันแล้วหารด้วย 2 ผลลัพธ์เป็นค่าความทึบแสงของเขม่าควันท่ีปล่อยทิ้งจากปล่องระบายอากาศเสียในคร้งั นัน้ แล้วนาคา่ ความทึบแสงของเขมา่ ควันเปรียบเทยี บกบั ค่ามาตรฐาน ***************************************กิจกรรมทา้ ยบท1. ถ้าอณุ หภมู ิกระเปาะแหง้ ของบรรยากาศเทา่ กับ 60 oF และอณุ หภูมิกระเปาะเปียกของบรรยากาศเท่ากบั 70 oF ในขณะที่อุณหภูมิกระเปาะแห้งทวี่ ดั ได้จากกลมุ่ ควนั เท่ากบั 100 oF และมีค่าความชืน้(MC) เทา่ กบั 5 % เกดิ ไอน้าควบแนน่ บรเิ วณปากปล่องระบายควนั หรอื ไม่2. ถ้าอุณหภูมิกระเปาะแห้งของบรรยากาศเท่ากับ 80 oF และอุณหภูมิกระเปาะเปียกของบรรยากาศเท่ากับ 60 oF ในขณะท่ีอุณหภูมิกระเปาะแห้งที่วัดได้จากกลุ่มควันเท่ากับ 120 oF และมีค่าความช้ืน(MC) เท่ากับ 15 % เกิดไอน้าควบแน่นบรเิ วณปากปลอ่ งระบายควันหรือไม่3. จงอธิบายหลกั การตรวจวดั ค่าความทบึ แสงแบบใช้แผนภูมิเขมา่ ควันริงเกลิ มานน์ ***************************************การตรวจวดั คา่ ความทบึ แสงของเขมา่ ควันดว้ ยสายตา หนา้ 241 บทที่ 9 การตรวจวัดคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality)วตั ถปุ ระสงค์ เมื่อศึกษาบทท่ี 9 จบแลว้ นสิ ติ สามารถ 1. อธบิ ายความหมายและความสาคญั ของคุณภาพอากาศภายในอาคารได้ 2. อธบิ ายถงึ สาเหตแุ ละผลกระทบต่อสุขภาพได้ 3. อธิบายวธิ ีการตรวจวัดคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ดา้ นกายภาพ เคมีและชวี ภาพได้ 4. สามารถปฏิบัติการตรวจวดั คุณภาพอากาศภายในอาคาร ด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพได้เน้ือหา 1. ความหมายและความสาคัญ 2. สาเหตุและผลกระทบตอ่ สุขภาพ 3. การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคารกิจกรรมระหวา่ งเรยี น 1. บรรยายโดยผ้สู อน 2. แบ่งกลมุ่ ให้นสิ ติ ปฏิบตั ิกจิ กรรมตามท่ีได้รับมอบหมาย 3. อภปิ รายแลกเปลยี่ นความรู้ระหว่างผู้สอนกับนสิ ิต 4. ทาแบบฝึกหัดทา้ ยบทสื่อการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. คอมพิวเตอร์ทีม่ โี ปรแกรม Power point 3. วีดทิ ศั น์การประเมนิ ผล 1. ประเมนิ จากการสังเกตพฤตกิ รรมในหอ้ งเรียนและการมสี ่วนร่วมในการทากจิ กรรม 2. ประเมนิ รายงานการทาแบบฝึกหดั ท้ายบท 3. ประเมินจากการสอบการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 243 บทที่ 9การตรวจวัดคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร (Indoor Air Quality)ความหมายและความสาคญั คุณภาพอากาศภายในอาคาร หมายถึง สภาวะการท่ีอากาศภายในอาคารที่อาจไม่มีสิ่งเจือปนหรือมีส่ิงเจือปนอยู่ในปริมาณที่อาจจะทาหรือไม่ทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ต่อส่ิงมีชีวิตอื่นๆ ต่อทรัพย์สินของมนุษย์หรือต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบๆ อาคารนั้นๆ หากปริมาณส่ิงปนเปอ้ื นตา่ กว่าระดับที่จะกอ่ ให้เกดิ ปัญหาดงั กล่าว ก็จะถือว่าคุณภาพอากาศภายในอาคารอยู่ในระดับดีเหมาะสาหรับการอยู่อาศัย แต่ถ้าปริมานส่ิงปนเป้ือนเท่ากับหรือสูงกว่าระดับท่ีจะก่อให้เกิดปัญหา ก็จะถือว่าคุณภาพอากาศภายในอาคารน้ันไม่ดี ไม่เหมาะสาหรับการอยู่อาศัย (จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ,2555) มลสารท่ีปนเป้ือนอยู่ในอากาศภายในอาคารโดยท่ัวไป ได้แก่ ฝุนละออง ก๊าซ ไอระเหยสารเคมีและสารทางชีวภาพ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา เป็นต้น (ตารางท่ี 9.1 ) มลสารต่างๆ เหล่านี้สามารถส่งผลต่อคุณภาพอากาศภายในอาคาร ทั้งน้ีมลสารเหล่าน้ีอาจมีสาเหตุมาจากแหล่งกาเนิดที่เกิดข้ึนจากภายในอาคารหรืออาจมีสาเหตุมาจากปัจจัยภายนอกอาคารก็ได้ และยังรวมถึงพฤติกรรมหรือกิจกรรมของผู้ท่ีอยู่ภายในอาคารท่ีเป็นแหล่งกาเนิดได้เช่นกัน โดยมลสารเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กับลักษณะภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศอีกด้วย (จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ, 2555 และวนิดา จีนศาสตร์,2551)ตารางท่ี 9.1 สารมลพิษท่ีปล่อยออกมาจากแหล่งตา่ งๆ อปุ กรณ์ สารพษิกา๊ ซพิษจากตัวมนุษย์ ไซลีน โทลูอนี แอมโมเนีย แอลกอฮอล์ อาซโี ตนเครื่องทาพิมพ์เขยี ว แอมโมเนยี แอลกอฮอล์ฝาู เพดานสาเรจ็ รูป ฟอร์มัลดีไฮด์ ไซลนี โทลูอีน เบนซนีท่อประปา คลอโรฟอร์มจอคอมพิวเตอร์ ไซลีน โทลูอนีเครือ่ งสาอาง แอลกอฮอล์ อาซโี ตนเครื่องพมิ พ์ Printer ไซลนี โทลอู ีน เบนซนี ไตรคลอโรเอทีลนี แอลกอฮอล์ผ้า ไซลีน โทลอู ีน ไตรคลอโรเอทีลนีใยสังเคราะห์ ไซลนี โทลูอนีพรมปูพนื้ ไซลนี โทลอู นี เบนซีนเตาแกส๊ หุงตม้ ไซลนี โทลอู ีน เบนซีน ไตรคลอโรเอทลี ีนกระดาษใสข่ อง ไซลนี โทลูอนีนา้ ยาล้างเลบ็ อะซีโตนหน้า 244 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ตารางที่ 9.1 (ต่อ) อปุ กรณ์ สารพษิน้ายาลบคาผดิสที าบา้ น ไซลนี โทลอู ีน แอลกอฮอล์ อาซีโตนปารต์ เิ คลิ บอรด์ ชิปบอรด์ ตา่ งๆ ไซลนี โทลอู นี เบนซีน แอลกอฮอล์เครือ่ งถ่ายเอกสาร ไซลีน โทลอู ีน เบนซนี ไตรคลอโรเอธิลนีน้ายาเคลอื บเงาไม้ เบนซนี คลอโรฟอร์ม แอมโมเนยีควันบุหร่ี ไซลนี โทลอู ีน เบนซีนกระดาษปิดผนงั แอลกอฮอล์กาว (วิทยาศาสตร์) ไตรคลอโรเอธริ นี เบนซิน แอลกอฮอล์, ไตรคลอโรเอธิรนีทมี่ า : จักรกฤษณ์ ศิวะเดชาเทพ (2555) ฟอร์มาลดไี ฮด์ ไซรนี โทลูอีน เบนซนิ แอลกอฮอล์สาเหตุและผลกระทบต่อสขุ ภาพ สาเหตุและผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ที่อยู่ภายในอาคารท่ีมีมลสารปนเปื้อนสูงกว่าระดับที่เป็นปญั หา จาแนกตามมลสารได้ดงั น้ี 1. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ก๊าซนี้ทาให้เม็ดโลหิตแดงไม่สามารถรับออกซิเจนไปเล้ียงเน้ือเย่ือต่าง ๆ ของร่างกายได้ ทาให้เกิดอาการปวดหรือวิงเวียนศีรษะ อาเจียน อ่อนเพลีย หมดแรงความรู้สึกสบั สน ถ้าได้รบั ในปริมาณมากจะทาให้หมดสติ และเสยี ชีวิตได้ 2. ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NO2) ความเข้มข้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ท่ีมากกว่า 282มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (150 ppm) สามารถทาให้มนุษย์เสียชีวิตได้ หรือลักษณะอาการท่ีสัมผัสระยะแรก ทาให้เกิดการระคายเคือง ทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอก ไอ หายใจขัด ภูมิต้านทานโรคทางเดินหายใจลดลง เกดิ การเจบ็ ปวุ ยได้ง่าย เช่น โรคหลอดลมอกั เสบ หอบหดื โรคถงุ ลมโปุงพอง เปน็ ต้น 3. ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) เป็นก๊าซท่ีทาให้เกิดการระคายเคืองต่อทางเดินหายใจ มีผลต่อร่างกายคลา้ ย ๆ กับกา๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์ 4. อนภุ าคขนาดเล็กท่ีหายใจเข้าไปได้ (Respirable particle) อนุภาคขนาดเล็กท่ีหายใจเข้าไปแล้วตดิ ค้างอยทู่ ่ีปอด จะทาอันตรายตอ่ เย่ือหุ้มปอด และทาใหเ้ กดิ โรคมะเรง็ ปอดได้ 5. เชื้อจุลินทรีย์ (Bioaerosols) แหล่งเพาะเช้ือจุลินทรีย์ รา โดยเฉพาะเชื้อลิจิโอแนลล่าสว่ นใหญเ่ กิดขึน้ จากระบบเครอ่ื งปรับอากาศ เชอ้ื เหลา่ นี้จะถูกระบบปรับอากาศแพร่กระจายไปตามส่วนตา่ ง ๆ ของอาคาร จนทาให้เกดิ การเจ็บปวุ ยแก่คนเปน็ จานวนมากได้ง่าย 6. ก๊าซเรดอน (Radon) ท่ีเข้าสู่อาคารผ่านทางพื้นช้ันล่างหรือฐานราก การสลายตัวของก๊าซเรดอนจะเกดิ สารชนดิ ใหม่ ซงึ่ สามารถรวมตัวกับฝุนละอองขนาดเล็กในอากาศได้ เมื่อหายใจเอาอนุภาคเหล่านีเ้ ขา้ ไปจะไปตกค้างอยูท่ ่ปี อดทาใหเ้ กิดมะเร็งปอดได้ 7. สารพิษจากยาฆ่าแมลง ผู้ใช้ยาฆ่าแมลงส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่า ยาฆ่าแมลงเหล่านี้มีความปลอดภัย เพราะมีจาหน่ายตามร้านค้าท่ัวไป จึงนิยมใช้มากเกินความจาเป็น ทาให้เกิดสารตกค้างในการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 245 บรรยากาศ ซงึ่ อาจเปน็ สาเหตใุ หเ้ กิดการระคายเคอื งและเป็นมะเร็งได้ หากได้รับสารพวกน้ีเป็นเวลานานอาจจะทาใหเ้ กดิ อันตรายต่อระบบประสาทสว่ นกลางได้ 8. ส่ิงสกปรกจากอุปกรณ์และเครื่องใช้สานักงาน สิ่งสกปรกหรือสารปนเปื้อนท่ีพบมากเช่นโอโซน (O3) ซึ่งเกิดจากอุปกรณ์ไฟฟูาชนิดท่ีมีความต่างศักย์สูง (High voltage) ต่างๆ เช่น เคร่ืองถ่ายเอกสาร เคร่ืองฟอกอากาศที่ใช้ไฟฟูา (Electronic air cleaner) เป็นต้น ซ่ึงในการทางานจะเกิดการแลกเปล่ียนประจุไฟฟูาทาให้ได้ยินเสียงจากการอาร์คเป็นครั้งคราว ซึ่งก่อให้เกิดความราคาญ และอาจได้กลิ่นคาวของก๊าซชนิดนี้ด้วย โอโซนทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเยื่อบุจมูก ตา คอ และ ปอด รวมท้ังยังทาให้เกิดการกัดกร่อนได้ด้วย นอกจากนี้ยังมีก๊าซไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon) ซ่ึงเกิดจากเคร่ืองถา่ ยเอกสาร และอาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อมนุษย์ได้เช่นกนั 9. ควันบุหรี่ ควันบุหรี่จะทาให้เกิดท้ังกล่ินไอระเหยและอนุภาคเล็ก ๆ ท่ีทาให้เกิดการระคายเคืองออกมาเป็นจานวนมาก อนุภาคขนาดเล็กสามารถกาจัดออกได้โดยใช้แผ่นกรองเน้ือละเอียดที่มีประสิทธิภาพสูง ส่วนกลิ่นค่อนข้างจะคงอยู่ถาวร แต่สามารถทาให้เจือจางได้ โดยการนาอากาศบริสุทธิ์ภายนอกเข้ามาภายในได้ ปริมาณ 15-30 ลูกบาศก์ฟุตต่อนาทีต่อคน หรือโดยการใช้เครื่องกรองชนิดถ่านกัมมันต์ (Activated charcoal filter) ตามปกติประสาทขั้นรู้กล่ินของมนุษย์สามารถปรับตัวได้ค่อนข้างเร็วมาก เช่น เม่ือเข้าไปในห้องที่มีการสูบบุหร่ี จะได้กลิ่นทันที แต่หลังจากนั้นอีกประมาณ 6นาที จะเริ่มชนิ กับกลน่ิ นน้ั และรู้สึกว่าความแรงของกลิ่นลดลง 2-3 เท่า 10. กล่ินอื่น ๆ ท่ีเกิดขึ้นในอาคาร ได้แก่ กลิ่นจากตัวคน จากเครื่องสาอาง จากน้ายาทาความสะอาด หรือจากวัสดุที่ใช้ตกแต่งตัวอาคาร เป็นต้น การลดความเข้มข้นของกล่ินเหล่าน้ีใช้วิธีการนาอากาศภายนอกท่ีบริสุทธ์ิเข้ามาเจือจาง โดยที่ความรุนแรงของกลิ่นมักข้ึนอยู่กับจานวนคนที่อยู่ภายในอาคารและอตั ราการระบายอากาศ ดงั นัน้ จึงกาหนดอัตราการระบายอากาศเป็นลกู บาศก์ฟตุ /นาที/คน นอกจากนี้ยังมีผลกระทบตอ่ สุขภาพจากปจั จัยอื่น ๆ ได้แก่ 1. อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์และความเร็วลมภายในอาคารไม่เหมาะสม อุณหภูมิอากาศท่ีสูงเกินไปทาให้เส้นเลือดในร่างกายขยายตัว เพ่ือระบายความร้อนออกทางเหงื่อ ทาให้รู้สึกและอึดอัด แต่หากอณุ หภมู เิ ย็นจัดจนเกนิ ไป กจ็ ะทาใหเ้ สน้ เลือดหดตัว เพือ่ ลดการคายความร้อนออกจากร่างกายทาให้หนาวสั่น สาหรับความชื้นสัมพัทธ์ที่สูงเกินไปทาให้เหง่ือระเหยยาก รู้สึกร้อนและอึดอัด ในขณะท่ีความชื้นสัมพัทธ์น้อยเกินไป ก็ทาให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนังและจมูก จนบางครั้งทาให้เกิดความเขา้ ใจผดิ วา่ อาการเชน่ นเ้ี กดิ จากการมีสารเคมีบางอย่างอย่ภู ายในอาคาร ความเร็วลมที่สูงเกินไปทาให้รู้สึกหนาว โดยเฉพาะอย่างย่ิงหากลมน้ันมีอุณหภูมิท่ีค่อนข้างต่าเพราะความร้อนจากร่างกายจะถูกพาออกไปได้มากและเร็วเกินไป ในทางตรงข้าม หากความเร็วลมต่าเกินไปก็ทาให้เกิดความรู้สึกร้อนอบอ้าวและอึดอัด เพราะความร้อนจากร่างกายไม่อาจถูกพาออกไปได้เร็วเทา่ ทคี่ วร 2. การนาอากาศบริสุทธิ์ภายนอกเข้าสู่อาคารไม่เพียงพอ ทาให้เกิดการสะสมของกลิ่น เชื้อโรคและสงิ่ ระคายเคืองตา่ ง ๆ ในอากาศท่ีหมนุ เวยี นภายในอาคาร 3. วสั ดุทใ่ี ชก้ อ่ สรา้ งหรือตกแตง่ อาคาร วสั ดทุ ี่ใช้ก่อสร้างหรือตกแต่งอาคารที่มีส่วนประกอบของสารเคมีบางอย่างจะปล่อยสารเคมีออกมา เช่น ฟอร์มัลดีไฮด์ เป็นสารมีกล่ินฉุน ฟอร์มัลดีไฮด์ที่ความเข้มข้นต่าจะไม่เป็นอันตรายต่อคน หากเข้าสู่ร่างกายจะถูกขจัดออกจากโลหิตอย่างรวดเร็ว แต่ในความหนา้ 246 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร เข้มขน้ ท่สี งู กวา่ 15 พพี เี อม็ จะทาใหเ้ กดิ ความระคายเคอื งต่อตา ทาให้มีอาการหอบหืด และโรคทางเดินหายใจได้ เป็นต้น 4. การเคลื่อนท่ีของอากาศภายในตัวอาคารที่ลดลง การเคลื่อนที่ของอากาศภายในตัวอาคารอาจลดลงได้โดยเกิดจากความดันอากาศในแต่ละส่วนของอาคารไม่เท่ากัน ทาให้กล่ินและสิ่งสกปรกในบางพนื้ ที่ที่มคี วามดันสูงเคลอื่ นไปสสู่ ่วนของอาคารส่วนที่มีความดันต่าและก่อให้เกิดผลกระทบตามชนิดของสารมลพษิ ที่เคลอ่ื นไปยังพื้นทน่ี นั้ ๆ (จักรกฤษณ์ ศวิ ะเดชาเทพ, 2555 วนิดา จีนศาสตร์, 2551)มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในอาคาร สาหรับประเทศไทย ยังไม่มีหน่วยงานใดกาหนดค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคารโดยตรง อยา่ งไรก็ตามมีกฎหมายหลายฉบบั ท่เี ก่ียวข้องในทางอ้อม นั่นคือ 1. กฎกระทรวงฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 หมวด 2 ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟูา และระบบปูองกันเพลิงไหม้ ได้กาหนดอัตราการระบายอากาศในอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษไว้ ได้แก่ โรงพยาบาล ห้องพักในโรงแรม หรืออาคารชุด สานักงาน ฯลฯ 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่ 6/2538 เรื่อง กาหนดจานวนคนต่อจานวนพ้ืนที่ ของอาคารที่พักอาศัยท่ีถือว่า มีคนอยู่มากเกินไป ภายใต้พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้กาหนดพื้นที่ในอาคารให้มี ไม่น้อยกว่า 3 ตารางเมตรต่อคน และได้กาหนดเช่นเดียวกันน้ีสาหรับพื้นที่ของคนงานก่อสร้างและของอาคารโรงงานด้วยในประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับท่ี 7/ 2538 และ8/2538 ตามลาดบั 3. พระราชบัญญัติคุ้มครองสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหร่ี พ.ศ. 2535 ซึ่งกาหนดสถานที่หรือยานพาหนะใดๆ ทีเ่ ปน็ สถานที่สาธารณะเป็นเขตปลอดบุหร่ี และได้กาหนดสภาพลักษณะและมาตรฐานของเขตปลอดบุหรี่เก่ียวกับการระบายควันหรืออากาศและได้มีการออกประกาศกระ ทรวงสาธารณสุขฉบับท่ี 10 พ.ศ. 2545 บังคับให้สถานท่ีสาธารณะ 19 ประเภท ซึ่งขณะทาการและให้บริการเป็นเขตปลอดบุหร่ี 100% ซึ่งมผี ลบงั คบั ใชแ้ ลว้ ต้ังแต่วนั ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 แม้ไม่ได้มีกฎหมายหรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้องโดยตรง แต่จากปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารท่ีมักมีเหตุร้องเรียนหรือร้องทุกข์สาหรับผู้ที่อยู่อาศัยหรือทางานภายในอาคาร สานักอนามัยกรุงเทพมหานครได้มีการจัดทาคู่มือการตรวจรับรองคุณภาพอากาศในอาคารข้ึน เมื่อ ธันวาคม พ.ศ.2555 และ สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย ได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานเพื่อการตรวจประเมินคุณภาพอากาศภายในอาคาร สาหรับเจ้าหน้าท่ีขึ้น ในปี 2559 เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาคุณภาพอากาศภายในอาคารให้ดีขึ้น ท้ังน้ีในคู่มือท้ัง 2 ฉบับนี้ ได้มีการจัดทาแบบสารวจสาหรับการตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มภายในอาคารหรอื พืน้ ท่ี การกาหนดพารามิเตอร์ตามค่าแนะนาสาหรับคุณภาพอากาศในอาคาร และวิธีการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคารไว้อีกดว้ ย ตารางที่ 9.2 และตารางท่ี 9.3การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 247 ตารางท่ี 9.2 คา่ แนะนาสาหรับคุณภาพอากาศในอาคารของสานกั อนามัย กรุงเทพมหานคร (ปี 2555)พารามเิ ตอร์ รายการ หน่วย ค่าเฉล่ยี วธิ กี ารตรวจวัด1. ดา้ นกายภาพ 1. อณุ หภมู หิ อ้ ง 8 ช่วั โมง องศาเซลเซยี ส (oC) 22.5-25.5 อิเลค็ ทรอนคิ เทอรโ์ มมิเตอร์ 2. ความช้ืนสัมพทั ธ์ เปอรเ์ ซน็ ต์ (%)  70 Psychrometer 3. การเคลอ่ื นทอ่ี ากาศ เมตรตอ่ วนิ าที  0.25 ไมม่ ีระบุ2. ดา้ นเคมี 1. คาร์บอนไดออกไซด์ หนึ่งในลา้ นส่วน 1,000 ควรวัดแบบต่อเน่ืองโดยใช้ (CO2) (ppm) เครื่องวัดระบบ NDIR หรือ 2. คาร์บอนมอนอกไซด์ หน่ึงในล้านสว่ น 9 วิธีอื่นๆ ท่ีเทียบเท่าและเป็น (CO) (ppm) ท่ยี อมรบั ทางวิชาการ 3. ฝุนละอองขนาดไม่ ไมโครกรัมตอ่ 150 วิธีกราวิเมตริก อ้างอิง IP- เกิน 10 ไมครอน ลกู บาศกเ์ มตร 10A ของ US.EPA หรือการ (µg/m3) เก็บแบบ real time (PM10) 4. ไนโตรเจนไดออกไซด์ หนึ่งในลา้ นสว่ น 80 เกบ็ ด้วย Sampling bag (NO2) (ppm) และตรวจดว้ ยเคร่ือง GC 5. โอโซน (O3) 0.05 ไมไ่ ดร้ ะบุ หน่ึงในลา้ นสว่ น (ppm) 6. ฟอรม์ ลั ดไี ฮด์ หน่งึ ในล้านสว่ น 0.1 เก็บตัวอย่างแบบต่อเน่ือง (HCHO) (ppm) Active หรือ Passive แล้ว วิเคราะห์ดว้ ยเครอื่ ง HPLC 7. สารประกอบอินทรีย์ หนง่ึ ในลา้ นสว่ น 3 เก็บตัวอย่างต่อเนื่อง 8 ระเหยงา่ ย (TVOC) (ppm) ชั่วโมงด้วย Canister หรือ Solid sorbent แล้วนาไป วิ เ ค ร า ะ ห์ ต า ม วิ ธี ก า ร US.EPA TO-123. ดา้ นชวี ภาพ แบคทีเรีย โคโลนีต่อลูกบาศก์ 500 ใช้วธิ ี เช้อื รา เมตร 500 1.impaction method (CFU /m3) 2.Filtration method 3.Liquid impinger method)ทม่ี า: สานักอนามยั , 2552 และ สานักอนามัย, 2555หมายเหตุ 1.ในบางกรณที ไ่ี ม่สามารถตรวจวดั แบบต่อเนอ่ื งนาน 8 ชัว่ โมงได้ สามารถใช้วิธีการตรวจวัดแบบแบ่งเป็นชว่ งเวลา เช่น ตรวจวดั หาค่าเฉลยี่ คร่ึงช่วั โมง แบ่งเป็น 4 ชว่ งเวลา ครอบคลมุ 8 ชัว่ โมงการทางาน 2. ท่ีมาของค่าแนะนาน้ีมาจากข้อแนะนาของ Institute of Environmental Epidemiology, Ministryof the Environment (1996) Guildlines for good indoor quality in office premises. Singapore 3. หากต้องการขอใบรับรองคุณภาพอากาศในอาคารของสานักอนามัยส่ิงแวดล้อม ต้องตรวจ วัดพารามิเตอร์อย่างน้อย 4 พารามิเตอร์ ได้แก่ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ คาร์บอนไดออกไซด์ และฝุนละออง ส่วนพารามเิ ตอรอ์ น่ื ๆ สามารถตรวจวดั เพิม่ เติมไดแ้ ล้วแตก่ รณีหนา้ 248 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ตารางที่ 9.3 ประกาศกรมอนามัย เรื่อง มาตรฐานค่าเฝูาระวังคุณภาพอากาศภายในอาคาร (2559)พารามเิ ตอร์ ค่าสูงสดุ ที่ หน่วย การตรวจวดั วิธีเทยี บเท่า ยอมรับได้ สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานของ (8 ชั่วโมง) -NIOSH -OSHA1. ด้านสภาวะความสบายเชิงความร้อน 24-26 oC -Thermometer, -US.EPA หรือ -ASHRAE1.1 อณุ หภูมิ - -Multi-parameter สอดคล้องกับ ventilation meter มาตรฐานของ -NIOSH1.2 ความชน้ื สัมพัทธ์ 50-60 % -Hydrometer sling -OSHA -US.EPA หรอื 1.3 การเคลื่อนท่ีของอากาศ 0.10-0.30 m/s -Hot wire anemometer -ASHRAE 1.4 การระบายอากาศ* 2-10 m3/h/m2 -2. ด้านเคมี สอดคล้องกับ 2.1 ฝุนละอองท่ีมีขนาดไม่เกิน < 50 g/m3 -Real-time optical มาตรฐานของ10 ไมครอน scattering -NIOSH 2.2 ฝุนละอองท่ีมีขนาดไม่เกิน < 35 g/m3 -Gravimetric method -US.EPA2.5 ไมครอน ไม่ไดร้ ะบุวิธีเทียบเทา่ 2.3 ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ < 1,000 ppm -Real-time NDIR 2.4 คาร์บอนมอนนอกไซด์ <9 ppm -Real-time electrochemical sensor 2.5 โอโซน 0.1 ppm Real-time chemiluminescence 2.6 ฟอรม์ ัลดีไฮด์ 120 g/m3 -Real-time 0.1 ppm electrochemical sensor 2.7 สารอินทรีย์ระเหยง่าย 3 ppm -Real-timeท้งั หมด photoionization detector * อาคารแตล่ ะประเภทให้เปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ด้วยการควบคมุ อาคารการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หนา้ 249 ตารางที่ 9.3 (ต่อ) ค่าสูงสดุ ที่ หน่วย การตรวจวดั วธิ เี ทียบเท่า ยอมรบั ได้ พารามิเตอร์ (8 ชั่วโมง)3. ดา้ นจลุ ชีพ 500 CFU/m3 -Anderson single stage สอดคล้องกับ 3.1 แบคทีเรียทงั้ หมด 500 CFU/m3 impactor อัตราการดูด มาตรฐานของ 3.2 เชื้อราทง้ั หมด อากาศ 28.3 L/min -WHO -เก็บตวั อย่างนาน 4 นาที -NIOSH -แบคทีเรียใช้อาหารเล้ียงเช้ือ -ASHREA TSA (Tryptone Soya Agar) -ACGIH และ บ่มทอี่ ณุ หภมู ิ 35oC นาน 48 ช่วั โมง -เ ชื้ อ ร า ใ ช้ อ า ห า ร เ ลี้ ย ง เ ชื้ อ MEA (2% malt Exact Agar) -บ่มท่ีอุณหภูมิ 25oC นาน 5 วนัการตรวจวดั คุณภาพอากาศในอาคาร หลักการตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคารตามคู่มือการตรวจรับรองคุณภาพอากาศภายในอาคารของสานกั อนามัย กรุงเทพมหานคร (2555) และสานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย (2559) มีรายละเอียดที่ ดงั น้ี 1. ชว่ งเวลาและระยะเวลาเก็บตัวอย่าง สานักอนามัย กรงุ เทพมหานคร (2555) ระบุว่า การตรวจวดั ตอ้ งดาเนินการในช่วงเวลาที่มีการใช้พ้ืนท่ีจริง เช่น ช่วงเวลาปฏิบัติงานของพนักงาน ช่วงเวลาให้บริการประชาชน โดยตรวจวัดต่อเน่ืองเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 8 ช่ัวโมง หากไม่สามารถทาได้ตามน้ีควรสุ่มเก็บตัวอย่างให้เป็นตัวแทน 8ชว่ั โมง เช่น ตรวจวัดทุกๆ ครงึ่ ช่ัวโมง รายชั่วโมง เปน็ ต้น ท้งั นก้ี ารตรวจวัดควรดาเนนิ การทุก ๆ 2 ชั่วโมงเปน็ อยา่ งน้อย สานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย (2559) มีการระบุคล้ายกันกับสานักอนามัย กล่าวคือการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคารให้มีการตรวจวัดต่อเน่ืองเป็นระยะเวลาอย่างน้อย 8 ชั่วโมงหากไม่สามารถทาได้ ให้ทาการตรวจวัดหาค่าเฉล่ียตลอดระยะ เช่น ทุกๆ คร่ึงช่ัวโมงหรือแบ่งช่วงเวลาเป็น ส่ีช่วงเวลาโดยช่วงเวลาดังกล่าวต้องครอบคลุมระยะเวลาท่ีมีผู้ใช้งานอาคาร ทั้งน้ีข้ึนอยู่กับการตดั สินใจของผ้เู ช่ียวชาญหนา้ 250 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร 2. จานวนจุดเกบ็ ตวั อยา่ ง จานวนจุดเก็บตัวอย่างต้องให้เป็นตัวแทนพื้นท่ี เป็นพื้นท่ีที่มีประชากรหนาแน่น มีกิจกรรมที่เกดิ ขึ้นและมีการใช้งานจริง สามารถพิจารณากาหนดจุดเก็บตัวอย่างได้ 2 แบบ โดยกาหนดจุดเก็บตามขนาดของพ้นื ที่ ตามข้อแนะนาของสานักอนามัย หรือกาหนดตามจานวนชั้นที่ถูกใช้งานของอาคาร ตามข้อแนะนาของกรมอนามัย รายละเอียดดงั แสดงตารางที่ 9.4 และ 9.5ตารางท่ี 9.4 จานวนจดุ เกบ็ ตวั อยา่ งตามขอ้ แนะนาของสานักอนามยั กรงุ เทพมหานคร (2555) ขนาดพน้ื ท่ี (ตารางเมตร) จานวนจุดเกบ็ ตัวอย่าง < 3,000 1 จุด ตอ่ 500 ตารางเมตร 3,000 - < 5,000 8 จดุ 5,000 - < 10,000 12 จุด 10,000 - < 15,000 15 จดุ 15,000 - < 20,000 18 จดุ 20,000 - < 30,000 21 จุด 1 จุดตอ่ 1,200 ตารางเมตร ≥ 30,000ที่มา: สานักอนามยั (2555)ตารางที่ 9.5 ข้อกาหนดในการเก็บตัวอยา่ งของสานกั อนามัยสงิ่ แวดล้อม กรมอนามัย (2559) จานวนช้ันท่ถี ูกใชง้ านของอาคาร ร้อยละของการเลือกชนั้ เพื่อสมุ่ เกบ็ ตัวอย่าง (%) <5 80% ของจานวนชนั้ * 5-10 80% ของจานวนชั้น* 11-20 80% ของจานวนช้ัน* 21-30 12 ชั้น หรือ 50% ของจานวนชัน้ *, เลอื กจานวนทส่ี ูงกว่า 30-40 15 ชน้ั หรอื 40% ของจานวนชนั้ *, เลอื กจานวนท่ีสงู กวา่ 40-50 16 ชั้น หรอื 35% ของจานวนชน้ั *, เลือกจานวนทส่ี ูงกวา่ >50 18 ชน้ั หรือ 30% ของจานวนชั้น*, เลอื กจานวนที่สงู กวา่*ปัดค่าข้นึ ทัง้ หมด และ ควรมกี ารเกบ็ ข้อมลู ทคี่ วามเชอื่ มัน่ 90% หรอื ตอ้ งมกี ารเก็บตัวอย่างอากาศอย่างน้อย 1 ชั้นที่มีมลพิษทางอากาศภายในอาคารสูงจากจานวน 10% ของช้ันท้งั หมดทม่ี า: สานักอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม กรมอนามยั (2559)การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 251 3. การกาหนดจดุ เก็บตวั อย่างในอาคาร 3.1 ตาแหน่งพื้นที่เป็นตัวแทนของพื้นที่หรือเป็นตาแหน่งที่ได้รับการร้องเรียน หรือเลือกพ้ืนทีเ่ ก็บตัวอย่างอากาศอยา่ งน้อยสามพ้ืนที่ คอื พ้ืนที่มปี ัญหา (หรือที่มีลักษณะใกล้เคียงท่ีสุด) พื้นที่ท่ีไม่มีปัญหา และบริเวณนอกอาคาร 3.2 มีระยะห่างจากมุมห้อง หน้าตา่ ง กาแพง ฉากกั้นห้อง ต้เู อกสารอยา่ งนอ้ ย 0.5 เมตร 3.3 มีระยะหา่ งจากประตูทางเข้า-ออก อยา่ งน้อย 2.0 เมตร 3.4 ไม่ควรอยู่ในทิศทางที่มีการระบายอากาศ เข้า-ออก เช่น หน้าพัดลมดูดอากาศ หน้าเครอ่ื งปรบั อากาศ 3.5 ไมค่ วรตงั้ ในจดุ ทเี่ ปน็ ทางเดนิ หรือกีดขวางทางเข้า-ออกฉุกเฉิน 3.6 มีระยะห่างอย่างน้อย 1.0 เมตร จากแหล่งกาเนิดมลพิษ เช่น เครื่องถ่ายเอกสารเครอ่ื งพิมพเ์ อกสาร บุคคลทส่ี ูบบุหร่ี 3.7 ระดับความสูงในการติดต้ังเครื่องมือต้องให้ปากทางเข้าอยู่สูงจากพื้น 110-150เซนติเมตรตามข้อแนะนาของสานักอนามัย (2555) และวันทนี พันธุ์ประสิทธิ์ (2555) หรือที่ระดับสูงจากพ้นื ระหว่าง 75-120 เซนตเิ มตร ตามขอ้ แนะนาของสานักอนามัยสง่ิ แวดล้อม กรมอนามัย (2559) 4. การกาหนดจุดเกบ็ ตวั อย่างภายนอกอาคาร ในการเก็บตัวอย่างภายนอกอาคาร ควรมีการเก็บตัวอย่าง อย่างน้อย 2 ตัวอย่าง โดยเก็บจากบริเวณทางเขา้ อาคาร หรอื บริเวณที่มีการดึงอากาศภายนอกอาคารเขา้ สู่อาคาร 5. การตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคาร การตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคารสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่สามารถอ่านค่าได้โดยตรงซ่ึงสามารถทราบผลไดท้ นั ทีโดยประมาณ หรอื บางพารามเิ ตอรส์ ามารถตรวจวดั ได้โดยเคร่ืองมือเก็บตัวอย่างทตี่ ้องนาไปวเิ คราะห์ในห้องปฏิบัตกิ ารเพ่อื หาคา่ ที่แน่นอนต่อไป สาหรับในหัวข้อน้ี ได้เรียบเรียงการตรวจวัดพารามิเตอร์บางพารามิเตอร์เท่าน้ัน ได้แก่ ด้านกายภาพ: อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์และการเคลื่อนที่อากาศ ด้านเคมี: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และสารประกอบอินทรยี ร์ ะเหยง่ายรวม (TVOCs) และด้านชวี ภาพ: แบคทีเรียทั้งหมดและเชอ้ื ราทง้ั หมด 5.1 พารามิเตอร์ด้านกายภาพ อุณหภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์และการเคล่ือนที่อากาศ (หรือความเร็วลม) สามารถตรวจวัดโดยใช้เคร่ืองมอื อ่านไดโ้ ดยตรง รายละเอยี ดของเคร่ืองมือตรวจวัดแต่ละพารามิเตอร์ได้กล่าวไว้อย่างละเอียดในบทที่ 2 นอกจากนีใ้ นปัจจุบันหลายๆ บรษิ ัทได้มกี ารผลิตเครอ่ื งมือท่สี ามารถตรวจวัดพารามิเตอร์ท้ัง 3ชนิดพร้อมๆ กันโดยเคร่ืองเดียว มักจะเรียกเคร่ืองมือประเภทน้ีว่า Indoor Air Quality meter หรือIAQ 5.2 พารามิเตอร์ด้านเคมี ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สามารถตรวจวัดได้โดยใช้เคร่ืองมืออ่านได้โดยตรง ซึ่งได้ผลการตรวจวัดทันที เครื่องมือท่ีใช้ตรวจวัดเป็นการตรวจวัดแบบต่อเนื่อง โดยใช้หลักการตรวจวัดด้วยวิธีนอนดีสเปอรซ์ ีฟ อนิ ฟราเรด หรอื NDIR ซ่ึงหลักการตรวจวัดดว้ ยวิธีนเ้ี ป็นหลักการเดียวกันกบั เครื่องตรวจวัดกา๊ ซคารบ์ อนมอนนอกไซดใ์ นบรรยากาศหนา้ 252 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร สารประกอบอินทรยี ร์ ะเหยง่ายรวม (TVOCs) มีวิธีที่ตรวจวัดได้หลายวิธี ทั้งวิธีท่ีใช้เครื่องมืออา่ นได้โดยตรง และวิธกี ารเกบ็ ตวั อย่างแลว้ นาไปวเิ คราะห์ต่อให้ห้องปฏิบัติการ ซ่ึงวิธีการตรวจวิเคราะห์สารอินทรีย์ระเหยงา่ ยน้ี ไดอ้ ธบิ ายอยา่ งละเอยี ดในบทท่ี 6 ในหัวขอ้ การตรวจวัดสารอนิ ทรียร์ ะเหยง่าย 5.3 พารามิเตอรด์ ้านชีวภาพ ละอองชีวภาพในอากาศ (Bioaerosols) ประกอบด้วย จุลชีพและสารท่ีมาจากสิ่งมีชีวิตหลายชนิด ได้แก่ แบคทีเรีย รา ไวรัส ไรฝุน ละอองเกสรจากต้นไม้ ขนสัตว์เล้ียง เช่น แมว นก สุนับเมอ่ื แห้งจะปลิวไปในอากาศ ซึ่งเป็นสารกระตุ้นภมู ิแพ้ สาหรับคนบางคนได้ การไอจามแต่ละครั้ง พบว่ามีแบคทีเรียต้ังแต่ 104-106 ในละอองชีวภาพ หากอาศัยในบริเวณท่ีบรรยากาศที่ค่อนข้างดี ปริมาณจุลชพี ท่ีสูดหายใจเข้าไปในร่างกาย โดยเฉล่ีย 8 เซลล์ต่อนาที แต่จุลชีพพวกนี้ส่วนมากไม่มีศักยภาพในการก่อโรค และรา่ งกายสามารถท่ีจะกาจัดสง่ิ แปลกปลอมเหลา่ นี้ออกจากร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ไม่เจ็บปุวยหรือติดเชื้อจนเกิดอาการได้ ยกเว้นบุคคลบางกลุ่ม เช่น ผู้สูบบุหรี่ ผู้ปุวยโรคปอดเรื้อรังผู้ปุวยหอบหืด ซึ่งจุลชีพเพียงเล็กน้อยมีศักยภาพในการก่อโรคแม้แต่จะมีจานวนเพียงเล็กน้อยก็อาจก่อให้เกดิ การตดิ เชอ้ื ได้และอากาศยังเปน็ ตัวชว่ ยแพรก่ ระจายเช้อื ไปในอากาศได้อยา่ งรวดเร็ว เชื้อพวกนี้เช่น เชอ้ื ไขหวัดใหญ่ (วันทนี พันธป์ุ ระสทิ ธ์ิ, 2555) สาหรับพารามิเตอร์ชีวภาพท่ีได้เรียบเรียงในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงเฉพาะละอองลอยชีวภาพที่เปน็ แบคทีเรยี และเชื้อราเท่านั้น ท้ังนี้ในการเก็บตัวอย่างแบคทีเรียและเชื้อราจาเป็นต้องทาการตรวจวัดอณุ หภมู ิ ความช้นื สมั พทั ธ์และการเคลือ่ นไหวของอากาศไปพร้อม ๆ กัน ซึ่งรายละเอียดการเก็บตัวอย่างและการตรวจวัดแสดงไดด้ ังนี้ การเก็บตัวอย่างเช้อื แบคทเี รยี และเชอื้ รา การเก็บตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราในอากาศภายในอาคาร สามารถทาได้ 2 วิธี การเพาะใส่อาหารเล้ียงเชื้อ (Culturable method) และ การตรวจหาจุลชีพโดยไม่เพาะใส่อาหารเล้ียงเช้ือ(non culturable method) ซ่ึงวิธีการเพาะใส่อาหารเลี้ยงเช้ือเป็นวิธีที่นิยมทากันในปัจจุบันเน่ืองจากเป็นวิธีเกบ็ ตัวอย่างอากาศ ที่แนะนาโดย National Institute for Occupational Safety and Health(NIOSH) – NIOSH Method 0800 ดังน้ันในหัวข้อน้ีจะกล่าวถึงเฉพาะวิธีการเพาะใส่อาหารเลี้ยงเชื้อเทา่ น้ัน การเพาะใส่อาหารเลี้ยงเช้อื มวี ิธกี ารเก็บตัวอย่างได้ 2 แบบ ได้แก่ การเก็บตัวอย่างโดยไม่ใช้ป๊ัม(Passive Sampling) และวิธีการเก็บตัวอย่างโดยใช้ปั๊มเก็บตัวอย่าง (Active sampling) แสดงในตารางท่ี 9.6การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หนา้ 253 ตารางที่ 9.6 วิธีการเก็บตวั อย่างและเคร่ืองมือการเก็บตัวอย่างแบคทีเรียและเชอื้ ราในอากาศ วิธี เคร่ืองมือ อัตราการดดู ระยะเวลาเก็บ อากาศ ตัวอย่าง (นาที)1. การเกบ็ ตวั อย่างโดยไมใ่ ช้ปม๊ั (Passive Sampling) (ลิตรตอ่ นาที) <240Gravity settling onto agar in การวางเพลท (Open petri - อย่างน้อย 4plates dish, settle plate) นาที 28.32. การเกบ็ ตัวอยา่ งโดยใชป้ ั๊มเกบ็ ตวั อย่าง (Active sampling) 28.3 1-30 28.3 1-302.1 การเก็บตวั อยา่ งดว้ ยเพลท 1. Single stage impactor 100 1-30 12.5 1-30เกบ็ ตัวอย่าง (Impactor onto 2. Six stage impactor 12.5 5-15agar) 3. N6-impactor 12.5 1.5 5-60 4. Microbio air sampler 140-14002.2 การเก็บตวั อย่างด้วย 1. All –glass impingerของเหลวในอมิ พิงเจอร์ 2. AGI-30 และ AGI-40(Impingement into liquid) 3. Personal impinge2.3 การเกบ็ ตัวอยา่ งด้วยการ 1. Cassette filtersกรอง (Filtration) 2. High-volume filtersหนา้ 254 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร เร่ืองที่ 1 การเก็บตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียและเช้ือราโดยไม่ใช้ปั๊ม (Passive Sampling)ดว้ ยวธิ ี Gravity settling onto agar in plates การเก็บด้วยวิธีน้ี Robert Koch เป็นคนแรกท่ีใช้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1971 Fisher ได้สร้างมาตรฐานวิธีการเก็บตัวอย่างแบบน้ีข้ึนมา โดยใช้จานเพาะเช้ือขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตรใส่อาหารเล้ียงเช้ือที่ รายงานผลเป็นซีเอฟยูต่อตารางฟุต (cfu/ft2) ซึ่งจะเปิดจานเพาะเชื้อเพื่อเก็บตัวอย่าง บางครัง้ วธิ ีน้จี ะเรยี กตามวธิ กี ารเกบ็ ตัวอย่าง คือ วิธี โอเพน่ เพลท (Open plate) วิธีน้ีมีข้อดี คือเก็บตัวอย่างได้ง่ายและสะดวก ไม่ยุ่งยาก แต่ข้อเสีย คือ ถ้าหากแบคทีเรียหรือเชื้อราท่ีเกาะอยู่กับฝุนละอองมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถตกตัวด้วยแรงโน้มถ่วงของโลกและไม่ตกบนอาหารเล้ียงเช้ือ ทาให้เชื้อแบคทเี รยี และเชือ้ ราท่ตี รวจวดั ไดว้ ิธนี นี้ ้อยกว่าความเปน็ จริง1. อุปกรณ์ทีใ่ ช้และอาหารเลยี้ งเชอื้ 1.1 จานเพาะเชอ้ื ขนาด 9 เซนติเมตร 1.2 ตูบ้ ม่ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส 1.3 ตู้อบฆา่ เชอื้ 1.4 ตู้น่งึ ความดันไอ 1.5 เคร่ืองช่งั ไฟฟาู 2 ตาแหนง่ 1.6 อาหารเล้ียงเชือ้ สาหรบั แบคทเี รยี และเช้ือรา - สาหรับแบคทีเรีย ได้แก่ nutrient agar, tryptic soy agar, blood agar MacConkey,Tryptone Soya Agar - สาหรับเชื้อรา ได้แก่ malt extract agar (MEA), Sabarourd dextrose agar (SDA),Potato Dextrose Agar (PDA) 1.7 ไอซแ์ พค (Ice pack) สาหรับเกบ็ ตวั อย่างใหเ้ ย็น (แต่ไม่เยน็ จนแข็ง) ในระหวา่ งการขนส่ง 1.8 เครื่องมอื วดั อณุ หภูมิและความช้ืนสมั พัทธ์ (Hygrometer) 1.9 เครื่องมอื วดั ความเรว็ ลมชนิดเสน้ ลวด (Hot wire anemometer) 1.10 เครอ่ื งวดั ความดันบรรยากาศ (Barometer)2. ขน้ั ตอนการเกบ็ ตัวอยา่ ง 2.1 ข้นั เตรยี มการเกบ็ ตวั อย่าง 1) การเตรียมจานเพาะเช้ือ นาจานเพาะเช้ือเข้าตู้อบฆ่าเช้ือท่ีอุณหภูมิ 150-170 องศาเซลเซียส นาน 2-3 ชัว่ โมง 2) การเตรยี มอาหารเลีย้ งเช้ือ การเตรียมอาหารสาหรบั แบคทเี รยี อาหารเล้ียงเช้ือสาหรับแบคทีเรีย มีด้วยกันหลายประเภท ในที่น้ีจะอธิบายถึงวิธีการเตรียมอาหารเล้ียงเช้ือแบคทีเรียชนิด Tryptone soya agarหรือ TSA เตรียมโดยช่ังอาหารสาเร็จรูป TSAจานวน 40 กรัม ละลายในน้ากล่ัน 1,000 มิลลิลิตร นาไปต้มให้ความร้อนจนสารละลายเดือดหรือวุ้นการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 255 ละลาย นาไปฆ่าเชื้อด้วยตู้น่ึงความดันไอ ที่ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางน้ิว อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซยี ส นาน 15 นาที การเตรียมอาหารสาหรบั เช้ือรา อาหารเล้ียงเช้ือสาหรับเชื้อรา มีด้วยกันหลายประเภท ในที่นี้จะอธิบายถึงวิธีการเตรียมอาหารเล้ียงเช้ือราชนิด Malt exact agar หรือ MEA เตรียมโดยช่ังอาหารสาเร็จรูป MEA จานวน 25กรัม ละลายในน้ากล่ัน 1,000 มิลลิลิตร นาไปต้มให้ความร้อนจนสารละลายเดือดหรือวุ้นละลาย นาไปฆ่าเชื้อด้วยตู้นึ่งความดันไอ ที่ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางน้ิว อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส นาน 15นาที - นาอาหารเลี้ยงเชื้อแต่ละชนิดที่ฆ่าเชื้อแล้ว ออกจากหม้อน่ึงความดันไอ ใส่ในอ่างควบคุมอุณหภูมิเพื่อควบคุมอุณหภูมิของอาหารเลี้ยงเชื้อให้อยู่ในช่วงประมาณ 40-50 องศาเซลเซียส ปูองกันไม่ให้อาหารแข็งตัวก่อนเทในจานเพาะเช้ือและปูองกันมิให้อาหารร้อนเกินไปขณะทาการเทลงจานเพาะเช้ือ จนทาใหจ้ านเพาะเชอ้ื มีไอนา้ เกาะจานวนมาก - เตรียมตู้ดูดควัน สาหรับใช้เป็นพื้นท่ีในการเทอาหารเลี้ยงเช้ือ เช็ดพื้นตู้ดูดควันด้วยแอลกอฮอล์ และเปิดหลอดไฟยูวีซีสาหรับฆ่าเชื้อนานประมาณ 1 ชั่วโมง (ไม่ควรอยู่ใกล้บริเวณที่มีการเปิดหลอดไฟยวู ีซเี พราะอาจไดร้ ับอนั ตรายได้ เช่น ระคายเคอื งตา แสบตา ฯลฯ) - ปดิ ไฟหลอดยูวซี ี และทาการเทอาหารเลี้ยงเช้อื ใส่จานเพาะเชื้อท่ีฆ่าเช้ือแล้ว ประมาณ 15-20 มลิ ลิลติ รต่อจานเพาะเชอ้ื (ในขณะทที่ าการเทอาหารเลี้ยงเชอ้ื ต้องจุดไฟตะเกยี งด้วยทกุ คร้งั ) - ต้งั ท้งิ ไว้ให้อาหารเล้ียงเชื้อแขง็ ตวั ก่อนนาไปใชง้ าน หากไม่ได้ใชท้ ันทีสามารถนาไปเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิห้องหรือตู้เย็นได้ (แต่ถ้าเก็บไว้ในตู้เย็นก่อนใช้งานควรทิ้งให้อาหารเลี้ยงเชื้อมีอุณหภูมิใกล้เคียงกบั อุณหภมู หิ อ้ งก่อนเสมอ เพอื่ ปอู งกันไอน้าเกาะท่จี านเพาะเชื้อ) 2.2 ขัน้ ตอนการเก็บตัวอย่าง 1) วางจานเพาะเช้ือท่ีมีอาหารเล้ียงเชื้อในจุดเก็บตัวอย่างที่ต้องการ ควรจะสูงจากพื้นประมาณ 1-1.5 เมตร (ภาพท่ี 9.1) โดยทั่วไปกาหนดไว้ที่ 100 ตารางฟุตต่อนาที (เดชา ตันไพจิตรและคณะ, 2531) 2) ระยะเวลาการเกบ็ 4-6 ชัว่ โมง ถา้ เปิดไวน้ านมากหน้าอาหารจะแห้ง ทาให้แบคทีเรียหรือเชื้อราท่ีตกบนอาหารเล้ียงเช้ือกระเด็นออกไปตามกระแสอากาศได้ ทาให้ปริมาณเชื้อที่เก็บได้อาจน้อยกว่าความเปน็ จริง 3) บันทกึ ข้อมูลความชื้นสมั พทั ธ์ อณุ หภูมแิ ละกิจกรรมตา่ งๆ ในขณะเก็บตัวอย่าง 2.3 การขนส่งตัวอย่าง เก็บตัวอย่างให้เย็นในกล่องบรรจุไอซ์แพค และรีบนาส่งห้องปฏิบัติการโดยเรว็ เพอื่ เพาะเชอ้ื และนับจานวนหรือระบชุ นดิหน้า 256 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ภาพที่ 9.1 การวางจานเพาะเชอ้ื สาหรบั เกบ็ ตัวอย่าง 2.4 การวเิ คราะห์และการอา่ นผล 1) หลังจากเก็บตัวอย่างเรียบร้อยแล้ว นาตัวอย่างที่วิเคราะห์แบคทีเรียให้นาเข้าตู้บ่มอุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส นาน 48 ช่ัวโมง ส่วนเช้ือราหลังจากเก็บตัวอย่างแล้ว นาไปบ่มท่ีอุณหภูมิ25 องศาเซลเซียส นาน 5 วัน 2) นับจานวนเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราท่ีเกิดขึ้น (ในขณะที่อ่านผลเชื้อราไม่ควรเปิดฝาเนื่องจากจะมีการฟูุงของสปอรเ์ ช้ือราทาใหเ้ กิดอนั ตรายต่อผู้นับได้) 3) หลังจากน้ันนาตัวอย่างที่นับเสร็จแล้ว ไปอบฆ่าเช้ือที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส นาน15 นาที ความดนั 15 ปอนด์ กอ่ นล้างทาความสะอาด 4) คานวณปรมิ าณเชือ้ แบคทีเรียหรือเชอ้ื ราได้ดังนี้ เพลทขนาดเส้นผ่านศูนยก์ ลาง 9 ซม. มีพ้ืนท่ี = 3.14 X 4.5 x 4.5 (มาจาก ������������ ) = 244.03 cm2 = 0.27 ft2 ถา้ เพลทมพี นื้ ที่ 0.27 ft2 ในเวลา ������ นาที นบั โคโลนไี ด้ = B โคโลนี ในเวลา 1 นาที นับโคโลนีได้ = ⁄ ������ ������ เมอ่ื = จานวนโคโลนีทน่ี ับไดบ้ นเพลท, โคโลนี ������ = เวลาในการเกบ็ ตวั อยา่ ง, นาทีการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หนา้ 257 เร่ืองท่ี 2 การเก็บตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียและเชื้อราโดยใช้ปั๊มเก็บตัวอย่าง (Activesampling) การเก็บตวั อยา่ งเช้ือแบคทีเรียและเชื้อราโดยใช้ป๊ัมเก็บตัวอย่าง (Active sampling) ในหัวข้อนี้ผูเ้ รยี บเรยี งจะอธิบายอปุ กรณท์ ใ่ี ช้สาหรับเกบ็ ตวั อย่าง 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยเพลทเก็บตัวอย่าง (Impactor method หรือImpactor onto agar) 2. อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยของเหลวในอิมพิงเจอร์ (Impingement intoliquid)หัวข้อที่ 1. อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยเพลทเก็บตัวอย่าง (Impactor method หรือImpactor onto agar) อปุ กรณ์สาหรบั การดักเกบ็ ตัวอยา่ งดว้ ยเพลทเก็บตัวอย่าง (Impactor method) ถูกออกแบบมาเพ่ือให้สามารถคัดแยกขนาดอนุภาคและนับจานวนจุลินทรีย์ในเวลาเดียวกันได้ มีหลายชนิด ได้แก่อุปกรณ์ชนิดหกชั้น (Six stage impactor) อุปกรณ์ชนิดสองช้ัน (Two stage impactor) อุปกรณ์ชนิดช้ันเดียว (Single stage impactor) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างชนิดอัตราการดูดอากาศสูง ข้อดีของอุปกรณ์ชนิดน้ี คือ สามารถดักเก็บจุลินทรีย์บนอาหารเลี้ยงเช้ือได้โดยตรง ไม่ต้องเจือจางหรือล้างอุปกรณ์เกบ็ เพ่อื นาไปเพาะเช้อื ตอ่ ขณะท่ปี ัญหาหลกั คอื สามารถเกบ็ เฉพาะจลุ นิ ทรีย์ที่มีชีวิตเท่านั้น ไม่สามารถวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศจุลินทรีย์ท่ีไม่มีชีวิตหรือไม่สามารถเพาะเชื้อข้ึนซ่ึงอาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพได้เช่นกันหากหายใจเข้าไป และจุดอ่อนอีกประการหน่ึง คือ หากมีจุลินทรีย์จานวนมากในอากาศอาจมีจุลินทรีย์มากกว่าหนึ่งตกลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อในจุดเดียวกัน ซึ่งส่งผลให้การวิเคราะห์ต่ากวา่ ความเป็นจรงิ (วันทนี พนั ธ์ปุ ระสทิ ธิ์, 2555) วิธีการเก็บตัวอย่างแบคทีเรียและเช้ือราวิธีน้ีเป็นวิธีการเก็บตัวอย่างตามข้อแนะนาของNational Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH) – NIOSH Method 0800เพ่ือวิเคราะห์หาเชื้อแบคทีเรียและเช้ือราในอากาศในอาคาร และเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางในตา่ งประเทศและในปัจจุบันก็เปน็ ท่ีนยิ มใชเ้ กบ็ ตวั อย่างในประเทศไทย1. อปุ กรณ์ท่ีใชแ้ ละอาหารเลี้ยงเชอื้ 1.1 อุปกรณเ์ กบ็ ตัวอย่างชนดิ หกชนั้ ชนิดช้ันเดียวหรืออุปกรณ์ที่เทียบเท่า หรือ Andersen N-6 single-stage sampler หรืออุปกรณ์เก็บตัวอย่างชนิดอัตราการดูดอากาศสูง (Microbio airsampler) เครื่องเก็บตัวอย่างชนิดหกชั้น (six stages impactor) เป็นเคร่ืองเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์ที่มีขนาด.คือ 7.0, 4.7, 3.3, 2.1, 1.1 และ 0.65 ไมครอน เมื่อใช้อัตราเร็วในการดูดอากาศเข้าเคร่ือง 28.3ลิตรตอ่ นาที ส่วนเครื่องเกบ็ ตวั อยา่ งชนดิ ชัน้ เดยี ว มขี นาดรู 0.6 ไมครอน และใชอ้ ตั ราการไหล 28.3 ลิตรต่อนาทีเช่นกัน ส่วนเคร่ืองเก็บตัวอย่างอัตราการดูดอากาศสูง (microbio air sample) มีอัตราการไหล100 ลติ รต่อนาที (ภาพท่ี 9.2)หน้า 258 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร 1.2 เครอ่ื งวดั อัตราการดดู อากาศ (Rotameter) 1.3 ปั๊มเกบ็ ตัวอย่างอากาศ มีอัตราการดดู อากาศ 28.3 ลิตรต่อนาที 1.4 เคร่อื งปรบั เทยี บอตั ราการดูดอากาศชนดิ ปฐมภมู ิ 1.5 ต้บู ่ม อณุ หภูมิ 37 องศาเซลเซียส 1.6 ตอู้ บฆ่าเช้อื 1.7 ต้นู ่ึงความดันไอ 1.8 เคร่อื งชั่งไฟฟูา 2 ตาแหนง่ 1.9 เครื่องมือวดั อุณหภูมแิ ละความชืน้ สมั พทั ธ์ (Hygrometer) 1.10 เครือ่ งมอื วัดความเร็วลมชนดิ เสน้ ลวด (Hot wire anemometer) 1.11 เครือ่ งวัดความดนั บรรยากาศ (Barometer) 1.12 จานเพาะเชอ้ื ขนาด 9 เซนตเิ มตร 1.13 อาหารเลีย้ งเช้ือสาหรับแบคทีเรยี และเชื้อรา - สาหรับแบคทีเรยี ไดแ้ ก่ nutrient agar, tryptic soy agar, blood agar MacConkey - สาหรับเช้ือรา ได้แก่ malt extract agar (MEA), Sabarourd dextrose agar (SDA),Potato Dextrose Agar (PDA) 1.14 ไอซ์แพค (Ice pack) สาหรบั เกบ็ ตัวอย่างให้เย็น (แตไ่ ม่เย็นจนแข็ง) ในระหว่างการขนส่งก. อุปกรณ์เกบ็ ตัวอยา่ งชนิดหกชนั้ และเทียบกับระบบทางเดนิ หายใจข. อุปกรณเ์ ก็บตวั อย่างชนดิ ชั้นเดยี ว ค. อปุ กรณ์เกบ็ ตัวอย่างชนดิ อัตราการดดู อากาศสงูภาพที่ 9.2 อปุ กรณ์สาหรบั การดักเกบ็ ตัวอยา่ งดว้ ยเพลทเก็บตวั อย่าง (Impactor method)การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 259 2. ขนั้ ตอนการเกบ็ ตวั อยา่ ง 2.1 ขัน้ เตรียมการเกบ็ ตวั อย่าง 1) การเตรียมจานเพาะเช้อื ถา้ เป็นจานเพาะเช้อื พลาสติกสามารถนามาใช้ได้เลย ถ้าเป็นจานเพาะเชื้อทาจากแก้ว ต้องนาจานเพาะเช้ือเข้าตู้อบฆ่าเชื้อท่ีอุณหภูมิ 150-170 องศาเซลเซียส นาน 2-3ช่วั โมง 2) การเตรียมอาหารเล้ยี งเช้ือ เชน่ เดียวกนั กับหวั ขอ้ ที่ 1 การเก็บตวั อยา่ งโดยไมใ่ ช้ป๊ัม(Passive sampling) ด้วยวธิ ี Gravity settling onto agar in plates 3) การเตรียมเครือ่ งมอื เกบ็ ตัวอย่าง การเตรียมเครื่องมือเก็บตัวอย่าง คือ การปรับเทียบป๊ัมก่อนเก็บตัวอย่างให้มีอัตราการดูดท่ี28.3 ลิตรต่อนาที ดว้ ยเคร่อื งวดั อัตราการไหลของอากาศแบบปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ โดยในการปรับเทียบอุปกรณ์เก็บตัวอย่างให้ต่ออุปกรณ์ดังภาพท่ี 9.3 เมื่อปรับเทียบเคร่ืองมือเรียบร้อยแล้วให้เอาเคร่ืองวัดอตั ราการไหลออก แลว้ จงึ นาไปเกบ็ ตวั อย่างอากาศต่อไปก. การปรบั เทยี บอุปกรณ์เกบ็ ตวั อยา่ งชนิดหกชั้นด้วยเครื่องปรบั เทียบอตั ราการไหลแบบปฐมภมู ิข. การปรับเทยี บอปุ กรณ์เกบ็ ตวั อยา่ งชนิดชนั้ เดยี วด้วยเครอื่ งปรบั เทยี บอตั ราการไหลแบบทตุ ิยภมู ิ ภาพท่ี 9.3 การปรับเทยี บอปุ กรณเ์ กบ็ ตวั อยา่ งแบคทเี รยี และเชื้อราหน้า 260 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร 2.2 ขนั้ ตอนการเกบ็ ตัวอย่าง 1) วางอปุ กรณ์เก็บตวั อย่างสูงในตาแหนง่ ท่ีเหมาะสม ดังไดก้ ลา่ วไว้ข้างต้น 2) หากห้องที่มีกิจกรรมหรือการทางานอยู่ควรเก็บขณะที่มีการทางานตามปกติ เวลาที่ใช้ในการเก็บอย่างสาหรับอุปกรณ์เก็บตัวอย่างชนิดชั้นเดียว หกช้ันหรือ แบบ N-6 อย่างน้อย 1-30 นาทีตอ่ คร้ัง หากเป็นสถานที่ที่มีการทางานท่ีมีคนอยู่มากหรือมีกิจกรรมมาก ควรลดเวลาในการเก็บลง เช่น5, 15, 30 นาที เป็นต้น หรือใช้เวลาตามข้อกาหนดของสานักอนามัย (2555) หรือ สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามยั , 2559 กไ็ ด้ ซึ่งรายละเอียดไดก้ ล่าวไว้ขา้ งตน้ แล้ว ท้ังน้ีขึน้ อยู่กบั ความเหมาะสม สาหรับอุปกรณ์ที่ผลิตขึ้นมาในปัจจุบันใช้อัตราการดูดอากาศค่อนข้างสูง (Micro biosampler) ที่มีอัตราการดูดอากาศสูงถึง 100 ลิตรต่อนาที เพ่ือลดระยะเวลาในการเก็บตัวอย่างให้สั้นทส่ี ดุ ควรใช้เวลาในการเกบ็ ตัวอย่างต่อครง้ั ประมาณ 4 นาที เพื่อปูองกันการสูญเสียตัวอย่างจากการท่ีผิวหน้าของอาหารเล้ียงเช้ือแห้งและอนุภาคเกิดการกระดอนขึ้น (Bounce) และเคล่ือนที่ไปกับอากาศ(Re-entrainment) (วันทนี พันธ์ุประสทิ ธ์ิ, 2555) 3) กอ่ นเกบ็ ตวั อย่างทุกคร้งั ต้องทาความสะอาดอุปกรณ์เก็บตัวอย่างด้วยแอลกอฮอล์ 70%กอ่ นเสมอ 4) ดาเนินการเกบ็ ตวั อยา่ งโดยใส่อาหารเลีย้ งเชือ้ ในอุปกรณเ์ ก็บตัวอยา่ ง แล้วเปิดปั๊มเพื่อให้ดูดอากาศตามอตั ราการไหลทไี่ ดป้ รบั เทียบแล้ว (รายละเอยี ดการใช้เคร่ืองมอื สามารถดูได้จากคู่มือการใช้งานทท่ี างบรษิ ทั ผู้ผลติ ไดท้ าขน้ึ ) 5) เมื่อได้เวลาตามที่ต้องการปิดปั๊ม และนาจานเพาะเช้ือท่ีเก็บตัวอย่างแล้ว เตรียมส่งห้องปฏิบตั ิการตอ่ ไป 6) ในขณะทท่ี าการเกบ็ ตวั อยา่ งในแต่ละตาแหนง่ ตอ้ งวัดอุณหภมู ิ ความชื้นสัมพัทธ์และการเคลอ่ื นตวั ของอากาศ (ความเร็วลม) ในการเก็บตัวอยา่ งทกุ คร้ัง 7) การทาแบลงค์ (blank) เพอื่ ใหท้ ราบถึงคุณภาพการดาเนินงานขณะทาการเก็บตัวอย่างซึ่งการทาแบลงค์เป็นการนาอาหารเลี้ยงเช้ือสาหรับเก็บตัวอย่างไปยังพื้นท่ีท่ีต้องการเก็บตัวอย่างและนามาวางบนอุปกรณ์เก็บตัวอย่าง เปิดฝาและปิดฝาทันที จากน้ันเก็บบรรจุขนส่งเพ่ือนากลับมาบ่มเพาะเช้ือรวมกับตัวอย่างอ่ืนที่ทาการดูดอากาศ ในการสุ่มเก็บแบลงค์ควรสุ่มเก็บแบลงค์อย่างน้อยสองตัวอยา่ งสาหรับตัวอย่างอากาศสิบตัวอย่าง แต่ไม่ควรเก็บเกินสิบแบลงค์สาหรับการเก็บตัวอย่างอากาศหนึง่ เซต็ ไมว่ า่ ตวั อยา่ งจะมากเท่าใดกต็ าม (วันทนี พนั ธ์ุประสทิ ธิ์, 2555) 8) การเก็บเช้ือจุลินทรีย์ภายนอกอาคาร ทาการเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์บริเวณที่โล่งแจ้งท่ีห่างจากตัวอาคาร 1.5-2 เมตร (หรือตามความเหมาะสม) และสูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร ทาการเก็บตัวอย่างเพียงตาแหน่งเดียว 2.3 การขนส่งตัวอย่าง เก็บตัวอย่างให้เย็นในกล่องบรรจุไอซ์แพค และรีบนาส่งห้องปฏิบัติการโดยเรว็ เพ่อื เพาะเช้อื และนบั จานวนหรือระบชุ นดิการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หนา้ 261 3. ขัน้ ตอนการวเิ คราะห์ตัวอยา่ งและการอ่านผล 3.1 หลังจากที่เก็บตัวอย่างจุลินทรีย์แล้ว นาตัวอย่างเข้าตู้บ่มเพาะเช้ือที่อุณหภูมิ 35-37องศาเซลเซียส สาหรับแบคทีเรีย บ่มเพาะเช้ือ นาน 24 ช่ัวโมง และ สาหรับเช้ือรา บ่มเพาะเชื้อ นาน 48ช่วั โมง หรือวางไวท้ ่ีอุณหภูมหิ ้อง นาน 5 วัน 3.2 จากนน้ั ทาการนบั จานวนโคโลนี โดยจานวนแบคทเี รยี ควรอยู่ในช่วง 30-300 โคโลนีต่อจานเพาะเชื้อขนาด 9 เซนติเมตร (สานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย, 2559) และ จานวนเชื้อรา อยู่ในช่วง 10 -50 โคโลนีต่อจานเพาะเชื้อขนาด 9 เซนติเมตร ในขณะที่อ่านผลเชื้อราไม่ควรเปิดฝาเนอ่ื งจากมกี ารฟุงู ของสปอรเ์ ชอื้ รา (ภารดี ช่วยบารงุ , 2557) 3.3 หากต้องการทราบชนิดของเชื้อแบคทีเรียในลักษณะของแกรม สามารถนาโคโลนีแต่ละโคโลนีไปย้อมแกรม (ภาพท่ี 9.4) เพ่ือจาแนกเป็นแกรมบวกหรือแกรมลบได้ สาหรับเช้ือราหากต้องการทราบชนิดของเช้ือราสามารถนาไปทาสไลด์เคาเจอร์ (Slide culture) (ภาพท่ี 9.5) แล้วส่องด้วยกล้องจลุ ทรรศน์เทยี บกบั เอกสารหรือหลักฐานอา้ งอิงตอ่ ไปได้ 3.4 หลังจากนั้นนาตัวอย่างที่ไม่ใช้แล้ว ไปฆ่าเช้ือที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส นาน 15 นาทีความดนั 15 ปอนด์ กอ่ นล้างทาความสะอาด ภาพที่ 9.4 การยอ้ มแกรมแบคทเี รยีหน้า 262 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ก. เชอ้ื ราที่ต้องการวเิ คราะห์ ข. อุปกรณท์ ่ีใชส้ าหรบั วเิ คราะห์ ค. อาหารเลี้ยงเชื้อสาหรับเชอ้ื ราง. ตัดอาหารเล้ียงเชอื้ วางบนแผน่ สไลด์ที่วางบนแท่งสามเหลยี่ ม จ. เทน้าท่ีผ่านการฆ่าเชอื้ แล้วฉ.เขย่ี เชอ้ื ราท่ีต้องการตรวจสอบ ช.ตั้งทิ้งไว้ 5 วันหรือจนเห็น ซ. นาไปสอ่ งกล่องจลุ ทรรรศ์แทงเขา้ ดา้ นขา้ งของอาหาร สปอร์ของเชือ้ ราเล้ียงเชอื้ ปดิ ฝาคลอบสไลด์ภาพท่ี 9.5 การทาสไลด์เคาเจอร์ (Slide Culture)4. การคานวณผล 4.1 การคานวณผลจากอปุ กรณเ์ กบ็ ตวั อย่างชนิดหกช้ัน ช้ันเดยี ว หรอื N-6������������������������������������������������������������������ ������������������������������������������������������������������������������ ������������������⁄������ ������������ ������ ������ ������เม่อื ������������ = จานวนเช้อื ท่ปี รับเทยี บแล้ว หน่วยเป็นโคโลนี ������ = เวลาท่ีเก็บตวั อย่าง หน่วยเปน็ นาที ������ = อัตราการไหลของอากาศ หนว่ ยเปน็ ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ นาทีการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หนา้ 263 หมายเหตุ สาหรับการเก็บตัวอย่างด้วยอุปกรณ์ชนิดน้ีจะมีเช้ือจุลินทรีย์มากกว่า 1โคโลนีตกซ้าในรเู ดียวกนั แตม่ ีแคโ่ คโลนีเดยี วเทา่ น้ันท่ีเจริญเตบิ โต ดังน้ันการนับเฉพาะโคโลนีที่ปรากฏจึงไม่ใช่จานวนจุลินทรีย์ท่ีแท้จริงท่ีเข้าอุปกรณ์เก็บตัวอย่างมา การรายงานผลจานวนจุลินทรีย์ที่แท้จริงจึงต้องมกี ารคูณคา่ correction factor เขา้ ไปด้วย (Hind, 1999) ������������ ������������ ( ������) ������������������ ������ เมือ่ ������ = คา่ ������������ ������������ ������������ = จานวนรทู งั้ หมดในแต่ละชนั้ ของอปุ กรณเ์ กบ็ แบบอมิ แพคเตอร์ มีคา่ เท่ากับ 400 รู ������������ = จานวนโคโลนีทน่ี บั ได้จากจานอาหารเลยี้ งเชือ้ หนว่ ยเปน็ โคโลนี 4.2 การคานวณผลจากอุปกรณเ์ กบ็ ตวั อย่างชนดิ อัตราการดดู อากาศสูง (Micro bio sampler) ������������������������������������������������������������������ ������������������������������������������������������������������������������ ������������������⁄������ ������ ������������������������������������ ������ ������ ������ เม่อื ������������������������������������ = จานวนเช้อื ทีน่ ับไดแ้ ละนาไปเทยี บกับตาราง Correction factor ตามคู่มอื การใชง้ านแลว้ หนว่ ยเปน็ โคโลนี ������ ������ = อัตราการไหลของอากาศ หนว่ ยเปน็ ลิตรตอ่ นาที = เวลาที่เกบ็ ตัวอยา่ งเท่ากับ 1 นาที 4.3 การคานวณสัดส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ภายในต่อภายนอกอาคาร (I/O) การคานวณหาสัดส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ในอาคารต่อภายนอกอาคาร เพื่อพิจารณาแหล่งกาเนิดมลพิษทางอากาศ โดยสูตรการคานวณแสดงได้ดังนี้ ������ ปรมิ าณเชือ้ จลุ นิ ทรยี ภ์ ายในอาคาร ������ ������ % ปรมิ าณเชือ้ จลุ นิ ทรยี ภ์ ายนอกอาคารหนา้ 264 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หัวข้อท่ี 2. อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยของเหลวในอิมพิงเจอร์ (Impingement intoliquid) อุปกรณ์ชนิดน้ีถูกพัฒนามากว่า 70 ปี แล้ว และคงใช้จนกระท่ังทุกวันนี้ เนื่องจากราคาถูกและใช้ง่าย อีกทั้งของเหลวในหนึ่งตัวอย่างอาจนาไปเพาะเชื้อในอาหารเลี้ยงเช้ือต่างชนิดเพ่ือวิเคราะห์จุลินทรีย์ต่างชนิดได้ด้วย ข้อจากัดของอุปกรณ์น้ี คือ จุลินทรีย์อาจตายในระหว่างการเก็บตัวอย่างเนื่องจากการกระแทกกับก้นของอิมพิงเจอร์ และอาจสูญเสียจุลินทรีย์ไปจากการกลับเข้าสู่กระแสอากาศและเคลื่อนทอี่ อกไปกับอากาศอีกคร้ังหน่งึ นอกจากน้ันจุลินทรีย์บางชนิดอาจช็อกเนื่องจากการเปียกช้นื อย่างกะทันหัน หรือจากการดูดซึมน้าเข้าไปในขณะท่ีจมอยู่ในสารละลายในอิมพิงเจอร์ (วันทนีพันธุ์ประสิทธ์ิ, 2555; ภารดี ช่วยบารุง, 2557) นอกจากน้ีอุปกรณ์น้ีนิยมใช้สาหรับการเก็บตัวอย่างอากาศทม่ี ีความเข้มขน้ ของจุลนิ ทรียส์ งู (105 - 1010cfu/m3)1. อุปกรณ์ทใี่ ชแ้ ละอาหารเลยี้ งเชอ้ื 1.1 อปุ กรณเ์ ก็บตวั อยา่ งชนดิ อิมพิงเจอร์ เปน็ เครื่องเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์ที่ใส่สารหรือของเหลวภายในอิมพิงเจอร์ทีม่ อี ตั ราเรว็ ในการดดู อากาศเขา้ เครื่อง 12.5 ลติ รต่อนาที (ภาพที่ 9.6) 1.2 เครื่องวัดอตั ราการดดู อากาศ (Rotameter) 1.3 ปมั๊ เก็บตวั อยา่ งอากาศ มอี ตั ราการดูดอากาศ 12.5 ลติ รตอ่ นาที 1.4 เคร่อื งปรับเทียบอัตราการดูดอากาศชนิดปฐมภูมิ 1.5 ตู้บ่ม อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส 1.6 ตอู้ บฆ่าเชือ้ 1.7 ตนู้ ่งึ ความดันไอ 1.8 เครอ่ื งชงั่ ไฟฟูา 2 ตาแหนง่ 1.9 เคร่อื งมอื วัดอณุ หภูมิและความชื้นสมั พทั ธ์ (Hygrometer) 1.10 เคร่ืองมือวัดความเรว็ ลมชนิดเสน้ ลวด (Hot wire anemometer) 1.11 เครอื่ งวัดความดนั บรรยากาศ (Barometer) 1.12 จานเพาะเช้ือ ขนาด 9 เซนติเมตร 1.13 อาหารเลี้ยงเชื้อสาหรับแบคทเี รยี และเชอ้ื รา - สาหรับแบคทีเรีย ไดแ้ ก่ nutrient agar, tryptic soy agar, blood agar MacConkey - สาหรับเชื้อรา ได้แก่ malt extract agar (MEA), Sabarourd dextrose agar (SDA),Potato Dextrose Agar (PDA) 1.14 สารละลายที่ใช้ คอื น้ากลั่นและโซเดยี มคลอไรด์ 0.9% ทผ่ี ่านการฆา่ เชื้อแลว้ 1.15 ไอซแ์ พค (Ice pack) สาหรบั เก็บตัวอย่างให้เยน็ (แต่ไม่เยน็ จนแข็ง) ในระหวา่ งการขนสง่การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 265 ภาพที่ 9.6 อุปกรณ์เก็บตัวอย่างชนดิ อิมพงิ เจอร์ ทม่ี า: SKC (2013)2. ขนั้ ตอนการเกบ็ ตวั อยา่ ง 2.1 ขนั้ เตรียมการเกบ็ ตัวอย่าง 1) การเตรียมจานเพาะเชื้อเช่นเดียวกับ หัวข้อท่ี 1. อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยเพลทเกบ็ ตัวอย่าง (Impactor method หรือ Impactor onto agar) 2) การเตรียมอาหารเลี้ยงเช้ือ เช่นเดียวกันกับหัวข้อท่ี 1 การเก็บตัวอย่างโดยไม่ใช้ป๊ัม(Passive Sampling) ด้วยวิธี Gravity settling onto agar in plates แตก่ ารเตรียมอาหารสาหรับวิธีนี้ไม่ควรใช้ทันที ควรนาไปเข้าตู้บ่มท่ีอุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียสก่อนเพื่อทดสอบให้แน่ใจว่าไม่มีการปนเป้ือนเช้อื จลุ ินทรีย์ในขณะเตรียมอาหาร สามารถเก็บอาหารที่อุณหภูมิหรือแช่เย็นได้ หากว่าแช่เย็นกอ่ นใช้งานต้องให้อาหารอยู่อุณหภูมิหอ้ งเสมอ 3) การเตรียมสารละลาย - นา้ กลัน่ นาน้ากลั่นใสข่ วดแกว้ ปดิ ฝาปริมาตร 20-50 มลิ ลิลิตร นาไปฆ่าเช้ือ ที่อุณหภูมิ121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนดต์ อ่ ตารางนว้ิ นาน 15 นาที หรอื - สารละลาย 0.9% โซเดียมคลอไรด์ เตรียมโดยชั่งโซเดียมคลอไรด์ 0.9 กรัม ละลายในน้ากล่ัน 100 มิลลิลิตร นาไปฆ่าเช้ือ ที่อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ความดัน 15 ปอนด์ต่อตารางนิ้วนาน 15 นาที 4) การเตรยี มเคร่อื งมือเก็บตัวอย่าง การเตรียมเคร่ืองมือเก็บตัวอย่าง คือ การปรับเทียบปั๊มก่อนเก็บตัวอย่างให้มีอัตราการดูดท่ี12.5 ลิตรต่อนาที ด้วยเครื่องวัดอัตราการไหลของอากาศแบบปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ เม่ือปรับเทียบเคร่ืองมอื เรียบรอ้ ยแลว้ ให้เอาเครื่องวดั อตั ราการไหลออก แลว้ จงึ นาไปเกบ็ ตัวอยา่ งอากาศต่อไปหนา้ 266 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร 2.2 ขนั้ ตอนการเกบ็ ตวั อยา่ ง 1) วางอปุ กรณ์เก็บตัวอยา่ งสูงในตาแหน่งทเี่ หมาะสม ดงั ไดก้ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ 2) หากห้องท่ีมีกิจกรรมหรือการทางานอยู่ควรเก็บขณะท่ีมีการทางานตามปกติ เวลาท่ีใช้ในการเกบ็ อย่างประมาณ 20 นาที ตอ่ ครงั้ หรอื ใชเ้ วลาตามข้อกาหนดของสานักอนามัย (2555) ก็ได้ ซึ่งรายละเอียดไดก้ ล่าวไวข้ า้ งตน้ แลว้ ท้งั นขี้ นึ้ อยู่กับความเหมาะสม (ภารดี ช่วยบารุง, 2557) 3) เทสารละลายท่ฆี ่าเช้อื แล้วในอิมพงิ เจอร์ แล้วเปิดปมั๊ เพอื่ ให้ดูดอากาศตามอัตราการไหลทีไ่ ด้ปรับเทยี บแลว้ (รายละเอยี ดการใช้เครอื่ งมือสามารถดูได้จากคู่มือการใช้งานที่ทางบริษัทผู้ผลิตได้ทาขน้ึ ) 5) เมื่อได้เวลาตามท่ีต้องการปิดปั๊ม และนาสารละลายท่ีอยู่ในอิมพิงเจอร์เทใส่ขวดแก้วฝาเกลยี วทีฆ่ า่ เชือ้ แลว้ เตรยี มสง่ หอ้ งปฏิบตั กิ ารตอ่ ไป 6) ในขณะท่ีทาการเก็บตวั อย่างในแตล่ ะตาแหนง่ ตอ้ งวดั อณุ หภูมิ ความช้ืนสัมพัทธ์และการเคลอื่ นตวั ของอากาศ (ความเร็วลม) ในการเก็บตวั อยา่ งทกุ ครั้ง 9) การเก็บเชื้อจุลินทรีย์ภายนอกอาคาร ทาการเก็บตัวอย่างจุลินทรีย์บริเวณที่โล่งแจ้งท่ีห่างจากตัวอาคาร 1.5-2 เมตร (หรือตามความเหมาะสม) และสูงจากพื้นดิน 1.5 เมตร ทาการเก็บตัวอย่างเพียงตาแหน่งเดียว 2.3 การขนส่งตัวอย่าง เก็บตัวอย่างให้เย็นในกล่องบรรจุไอซ์แพค และรีบนาส่งห้องปฏิบัติการโดยเรว็ เพ่ือเพาะเช้อื และนับจานวนหรือระบชุ นิด3. ขน้ั ตอนการวิเคราะห์ตัวอย่างและการอา่ นผล 3.1 หลังจากที่เก็บตัวอย่างจุลินทรีย์แล้ว ดูดตัวอย่างที่เก็บได้ มา 0.1 มล. หยดลงในอาหารเล้ียงเชือ้ (สาหรับแบคทเี รียหรือเชื้อรา) 3.2 การเกล่ียเช้ือโดยใช้ที่เกลี่ยหรือ spreader ท่ีผ่านการฆ่าเชื้อแล้วให้ทั่วจานเพาะเชื้อหรือมีความหนืดเพอ่ื ให้ตัวอย่างซมึ ลงสู่เน้ืออาหาร 3.3 จากนั้นนาเข้าตู้บ่มเพาะเชื้อที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียส สาหรับแบคทีเรีย บ่มเพาะเชื้อนาน 48 ชวั่ โมง และ สาหรับเชอื้ รา บ่มเพาะเช้อื ทีอ่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส นาน 5 วนั 3.4 ทาการนบั จานวนโคโลนี เช่นเดียวกนั กับหวั ข้อที่ 1. อุปกรณ์สาหรบั การดักเก็บตัวอย่างด้วยเพลทเกบ็ ตัวอย่าง (Impactor method หรอื Impactor onto agar) 3.5 หากตอ้ งการทราบชนดิ ของเชอ้ื แบคทีเรยี และเช้ือรา ทาเช่นเดียวกันกับหัวข้อท่ี 1. อุปกรณ์สาหรบั การดกั เกบ็ ตัวอย่างด้วยเพลทเกบ็ ตัวอย่าง (Impactor method หรือ Impactor onto agar) 3.6 หลังจากนั้นนาตัวอย่างที่ไม่ใช้แล้ว ไปฆ่าเชื้อท่ีอุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส นาน 15 นาทีความดัน 15 ปอนด์ กอ่ นล้างทาความสะอาดการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 267 4. การคานวณผล ������������ 4.1 การคานวณผลจากอุปกรณ์เก็บตวั อย่างอิมพงิ เจอร์ ������ ������ ������ ������������������������������������������������������������������ ������������������������������������������������������������������������������ ������������������⁄������ เม่อื ������������ = จานวนเชือ้ โคโลนีที่อา่ นได้ หน่วยเปน็ โคโลนี ������ = เวลาทเ่ี กบ็ ตวั อยา่ ง หนว่ ยเปน็ นาที ������ = อัตราการไหลของอากาศ หน่วยเป็นลกู บาศกเ์ มตรต่อนาที 4.2 การคานวณสัดส่วนของเชื้อจุลินทรีย์ภายในต่อภายนอกอาคาร (I/O) ทาการคานวณเช่นเดียวกันกับการคานวณหัวข้อที่ 1 อุปกรณ์สาหรับการดักเก็บตัวอย่างด้วยเพลทเก็บตัวอยา่ ง (Impactor method หรอื Impactor onto agar) *****************************************************กจิ กรรมทา้ ยบทกจิ กรรมที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธบิ ายความหมายของคุณภาพอากาศภายในอาคาร 2. จงอธิบายถงึ มาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคารหรอื ข้อเสนอแนะที่เกีย่ วข้อง 3. จงอธบิ ายถงึ สาเหตแุ ละผลกระทบต่อสุขภาพท่เี กิดขน้ึ จากคณุ ภาพอากาศภายในอาคาร 4. การตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร ดา้ นกายภาพ ดา้ นเคมีและด้านชีวภาพมีพารามิเตอรใ์ ดบา้ งกิจกรรมที่ 2 ฝึกปฏิบัติในบทเรียน ให้นิสิตแต่ละกลุ่มทาฝึกปฏิบัติท่ี 13 การตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคาร ได้แก่ อุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ ความเร็วลม ปริมาณสารอินทรีย์ระเหยง่ายรวม คาร์บอนไดออกไซด์ และปริมาณเช้อื จลุ ินทรียใ์ นอากาศภายในอาคาร และบนั ทกึ ผลการศึกษาในรายงานปฏบิ ัตกิ ารดังนี้หน้า 268 การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร รายงานปฏบิ ตั กิ ารที่ 13 หัวข้อปฏิบัตกิ ารการตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคารวันที่ทาปฏบิ ัติการ ...................เดอื น.................................พ.ศ................รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1.......................................................................................รหัส........................................ 2.......................................................................................รหสั ........................................ 3.......................................................................................รหสั ........................................วตั ถปุ ระสงค์ 1............................................................................................................................... 2............................................................................................................................... 3...............................................................................................................................ข้นั ตอนการเก็บตวั อย่างและการวเิ คราะห์ (พอสังเขป)..................................................................................................................................................................................................................................................................................................ผลการตรวจวดั 1. สถานทที่ าการตรวจวัด................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 2. ผลการตรวจวดั อุณหภูมิ ความช้นื สัมพทั ธ์และความเร็วลม................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 3. ผลการตรวจวดั ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์และสารอินทรยี ์ระเหยง่ายรวม................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 4. ผลการตรวจวดั ปรมิ าณเชื้อแบคทเี รยี และเช้ือรา................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 5. การเปรียบเทียบกบั ขอ้ เสนอแนะหรือข้อแนะนา................................................................................................................................................สรปุ และอภปิ รายผล.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................อา้ งอิง....................................................................................................................................การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร หน้า 269 บรรณานกุ รมกรมควบคุมมลพิษ (2546) การตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศ กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม______________ (2548) คู่มอื ปฏิบตั ิการ นกั รบส่งิ แวดล้อม (โรงงานอุตสาหกรรม) กรุงเทพฯ: กรม ควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม______________ (2551) คู่มือการเก็บสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ กรุงเทพฯ: กรมควบคุม มลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม______________ (2554) คมู่ อื การฝึกอบรมผู้ตรวจวัดความทึบแสงของควันด้วยสายตาและการใช้ แผนภูมเิ ขม่าควัน ณ กรมควบคุมมลพิษ วันท่ี 17-18 กันยายน 2554______________ (2555) พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 5 กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พอ์ งคก์ รสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึ______________ (2555) สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ.jpg [ออนไลน์] เข้าถึงเวปไซด์ http://aqnis.pcd.go.th/node/4121 [4 พฤศจกิ ายน 2557]______________ (2549). คู่มือการตรวจวัดมลพิษทางอากาศจากปล่องปล่อยทิ้งอากาศเสียฉบับที่ 1. กรงุ เทพฯ: กรมควบคุมมลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม______________2543. สถานการณ์และการจัดการปัญหามลพิษทางอากาศและเสียงในปี พ.ศ. 2541. [ออนไลน์] เข้าถงึ เวปไซด์ http: // www/pcd.go.th [4 พฤศจกิ ายน 2557]กรมโรงงานอตุ สาหกรรม. (2547). ตาราระบบบาบัดมลพษิ อากาศ. กรงุ เทพฯ: ศูนย์บริการวิชาการแห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยัเกศศินี อุนะพานัก (2554) เอกสารประกอบการฝึกอบรม เร่ืองเทคนิคการเก็บและวิเคราะห์ สารอนิ ทรียร์ ะเหยงา่ ยดว้ ยหลอดเก็บอากาศ ณ กรมควบคุมมลพิษ 28 มนี าคม 2554คลังความรู้สู่ความเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (2010). Barograph.jpg [online] เขา้ ถึงจากเวปไซด์ http://www.scimath.org [2014, October 22]จกั รกฤษณ์ ศวิ ะเดชาเทพ (2555) สุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน: หน่วยท่ี 15 คุณภาพอากาศ ภายในอาคาร พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สานกั พมิ พม์ หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าชชูชาติ อารีจิตรานุสรณ์. (2544). เครื่องมือวิทยาศาสตร์. พิมพ์คร้ังท่ี 3. ขอนแก่น : หจก. โรงพิมพ์คลัง นานาวิทยาเดชา ตันไพจิตร บรรจง วรรณยิ่ง มาลัย วรจิตร (2531) โรคติดเช้ือในโรงพยาบาล กรุงเทพฯ: คณะกรรมการควบคุมโรคตดิ เชื้อ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหดิ ลนภัทรา หนูนาคและทวีพล ซ่ือสัตย์ (2555) การวัดและเคร่ืองมือวัด ประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม [ออนไลน์] เข้าถึงจากเวปไซด์ http://www.foodnetworksolution.com/ [2014 October, 22]บริษัท จริ ะนที (2556) เอกสารประกอบการใชเ้ ครอื่ ง TSP. มปท.บริษัท พีดีเอส (2556) Winsock.jpg [online]. Available from http://www.pdsthailand.com/ product/view.php?id_c_t=30&id=191 [2014, April13]บรรณานุกรม หน้า 271 บริษัท เมเจอร์วัน เทคโนโลยี (2014) เครื่องวัดความเร็วลม [ออนไลน์] เข้าถึงจากเวปไซด์ http://www.measure1.co.th/product-th [2014, October 22]ปราโมช เช่ียวชาญ. (2554). การเก็บตัวอย่างมลพิษอากาศ: ตอนท่ี 2. จุลสารสาขาวิทยาศาสตร์ สุขภาพออนไลน์ สาขาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ฉบบั ท่ี 4 ปี 2554พัชราวดี สุวรรณธาดา (2557) เอกสารประกอบการบรรยายการวิเคราะห์มลพิษ: ฝุ่นละอองใน บรรยากาศ คณะทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล วันท่ี 20 มกราคม พ.ศ. 2557พัฒนา มูลพฤกษ์. (2550). อนามัยสิ่งแวดล้อมเบ้ืองต้น. พิมพ์คร้ังที่ 4 กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กร สงเคราะห์ทหารผา่ นศึกภารดี ช่วยบารุง (2547) เอกสารประกอบการสอน การระบายอากาศในงานอุตสาหกรรม ขอนแก่น: มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ภารดี ช่วยบารุง. (2557). เทคโนโลยีการกาจัดจุลินทรีย์ในอากาศในโรงพยาบาล. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัยรัฐกร ปิงกัน (2557) เลขนัยสาคัญ (Significant figure) และการปัดเศษ (Rounding number). www.reo3.go.th เข้าถึงเม่ือวนั ที่ 11 ตุลาคม 2557วงศ์พนั ธ์ ลิมปเสนยี ์ นิตยา มหาผล และธรี ะ เกรอต (2540) มลภาวะอากาศ. พิมพ์คร้ังท่ี 5 กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัยวนิดา จีนศาสตร์ (2551) มลพษิ อากาศและการจัดการคุณภาพอากาศ กรุงเทพฯ: บริษัท มิสเตอร์ก๊อปป้ี (ประเทศไทย) จากดัวันทนี พันธุ์ประสิทธิ์ (2555) สุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน:หน่วยท่ี 12 การประเมิน ส่ิงแวดลอ้ มทางชีวภาพ พิมพค์ ร้งั ที่ 4. นนทบุรี: สานักพมิ พ์มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราชศิวพันธ์ุ ชูอินทร์. (2556). การเก็บตัวอย่างและตรวจสารมลพิษทางอากาศ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยัสราวธุ สุธรรมาสา. (2555). สุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน: หน่วยท่ี 8 การเก็บและวิเคราะห์ ตวั อย่างสารเคมี. พมิ พ์คร้งั ที่ 4. นนทบรุ ี: สานกั พิมพ์มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าชสานักเคร่ืองมืออุตุนิยมวิทยา. (2555). บาร์รอมิเตอร์ [ออนไลน์] เข้าถึงเวปไซด์ http://www.instrument.tmd.go.th [2014, October 22]สานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง (2550) เอกสารวิชาการ ขั้นตอนการตรวจวัดและการ ปรับเทียบสาหรับการตรวจวัดคุณภาพอากาศ กรุงเทพฯ: บริษัทสหมิตรพร้ินต้ิงแอนด์พับ ลิสซง่ิ จากัดสานักจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ (2557) ประเภทของสารมลพิษทางอากาศ [ออนไลน์] เข้าถึงเวปไซด์ http://aqnis.pcd.go.th/node/2292 [วันท่ี 20 ตุลาคม 2557สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร (2553) คู่มือเร่ืองมาตรฐานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ องค์กรสงเคราะหท์ หารผา่ นศกึสานักอนามัย กรุงเทพมหานคร (2555) คู่มือการตรวจรับรองคุณภาพอากาศในอาคาร กรุงเทพฯ : บมจ. ศิรวิ ฒั นาอินเตอร์พร้ินท์หน้า 272 บรรณานกุ รม สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย (2546) คู่มือการเก็บตัวอย่างและการตรวจวิเคราะห์คุณภาพ อากาศ (มปท)สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย (2553) คู่มือวิชาการการควบคุมและจัดการปัญหาเหตุราคาญ กรุงเทพฯ: โรงพมิ พอ์ งคก์ รสงเคราะห์ทหารผ่านศึกสานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย (2555) คู่มือวิชาการ เร่ืองสารอินทรีย์ระเหยง่ายในบรรยากาศ (Volatile Organic Compounds : VOCs) กรุงเทพฯ : สานักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การ สงเคราะหท์ หารผา่ นศกึสานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย (2559) คู่มือการปฏิบัติงานเพ่ือการตรวจประเมินคุณภาพ อากาศภายในอาคาร สาหรับเจ้าหน้าที่. กรุงเทพฯ: สานักอนามัยส่ิงแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.สุมิตรา ตันติดิลกกุล (2555) สุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน: หน่วยท่ี 13 เครื่องมืออ่านค่า โดยตรง พมิ พค์ ร้งั ที่ 4. นนทบรุ ี: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราชอภิรดี ศรีโอภาส (2555) สุขศาสตร์อุตสาหกรรม: การประเมิน: หน่วยท่ี 11 การเก็บตัวอย่างและ การประเมินมลพิษทางอากาศท่ีเป็นก๊าซและไอระเหย. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: สานักพิมพ์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าชACGIH., Beverly S. Cohen, Charles S. McCammon. (2001). Air sampling instruments for evaluation of atmospheric contaminants. 9th ed. USA: Ohio.Baron, P.A.; Willeke, K. (2001). Aerosol Measurement: Principles, Techniques and Applications. John Wiley & Sons: New York, NYCalvert, J.B. (2007) Mariotte’s bottle.jpg [online]. Available from http://mysite.du.edu/ ~jcalvert/tech/fluids/hydstat.htm [2014, October 22]Caulfieldindustrial (2012) Pitot Tube Anemometer.jpg [online]. Available from http://www.caulfieldindustrial.com/extech-hd3 5 0 -pitot-tube-anemometer-- differential-manometer/p-e10110pd.html [2014, October 22]Clean Air Engineering, Inc (2014) Pitot Tube.jpg [online]. Available from http://www.cleanair.com/ directories/pitot/ [2014, October 22]Davis instrument (2014) Inclinemanometer.jpg [online] Available from http://www/davis/com/Product/Dwyer_Mark_II_Model_25_Inclined_Manometer3 _WC/DO-68062-58 [2014, October 22]Efunda.Inc (2010) Gas flow meter.jpg. [online]. Available from http://www.efunda.com/ formulae/fluids/calc_orifice_flowmeter.cfm [2014, October 22]EMKAY Int Ltd (2014) beaufort_Scale.gif [online] Available from http://www.kiteparadise.co.uk/downloads/ [2014 October, 30]Entech (2014) Personal pump.jpg [online]. Available from http://www.entech.co.th/ en/category [2014 November, 30]Entech Associate Co.,Ltd. (2014) เคร่ืองมือวัดอุตสาหกรรม [online]. Available from . http://www.entech.co.th/en/category [2014, October 22]บรรณานุกรม หนา้ 273 Gastec (2008) Environmental Analysis Technology Gastec handbook.Japan: KanagawaHinds,W.C. (1999) Aerosol Technology: Properties, Behavior, and Measurement of Airborne Particles, 2nd Edition John Wiley&Sons, Inc. New YorkHitechtrader (2014) Glass Packed column separation.jpg [online]. Available from http://www.hitechtrader.com/Laboratory.Icenta (2014) Rotameter flow meter.jpg [online]. Available from: http://www.icenta.co.uk/ Flow-Selection-Guide/Variable-Area-/-Rotameter.co.uk [2014, October 22]István Lagzi (2013) Measurement techniques jpg. [online] Available from http://elte.prompt.hu/sites/default/files/tananyagok/atmospheric/index.html [2014, October 28]John Scheer, ABB, Inc.(2014) Rotameter.jpg [online]. Available from http://www.globalspec.com/ reference/9771/349867/rotameters-simplicity- utility [2014, October 22]Kavalier (2010) Spiral absorber.jpg [online]. Available from http://www.kavalier.cz/de [2014, November 23]LESA Project (2010) Barometer.jpg [online]. Available from http://portal.edu. chula.ac.th/lesa_cd/assets/document/LESA212/6/atm_pressure/atm_pressure/at m_pressure.html [2014, October 22]Mesa Lab. (2013). Mercury-sealed piston.jpg [online]. Available from : http://drycal. mesalabs.com/ml-800 [2014, October 22]Miller, R.W. (1996) Flow measurement engineering handbook. 3rd Ed. McGraw-Hill Book Co., New York, N.YNIOSH (1994) Manual of Analytical Methods (NMAM) [online]. Available from http://www.cdc.gov/niosh/docs/2003-154/ [2014 November, 30]____________(1994) Manual of Analytical Methods (NMAM); Method 0800 [online]. Available from http://www.cdc.gov/niosh/docs/2003-154/ [2014 November, 30]Pollech Instruments Pvt.Ltd (2014) Top Loading Orifice Calbrator.jpg [online]. Available from http://www.indiamart.com/polltechinstruments/pressure-and- flow-metering-instruments.html [2014, October 22]sensidyne (2014) Personal pump.jpg [online] Available from http://www.sensidyne.com/ [2014, November 28]SKC (2013) BioSampler.jpg [online]. Available from https://www.skcinc.com/ catalog/osha-niosh.php [2014, October 28]______________ (2014) Midget impinge.jpg [online]. Available from https://www.skcinc.com/catalog/osha-niosh.php [2014, October 28]หน้า 274 บรรณานุกรม ______________ (2014) sampling bag.jpg [online]. Available from https://www.skcinc.com/catalog/osha-niosh.php [2014, October 28]Techniquip Ltd .(2012). Rotameter flow meter.jpg [online]. Available from http://www.techniquip.co.uk/productspage/variable-area-flow-meters- rotameter-type [2014, October 22]Tisch (1999) Ambient Cascade Impactor (Non-viable) Model 20-800 OPERATIONS MANUAL. USA: Ohio.Total safety home Inc. Bellow pump.jpg [online]. Available from https://www.totalsafety.com/totalsafety/product.php?id=369 [2014, April13]______________. Thump pump.jpg [online]. Available from https://www.totalsafety.com/totalsafety/product.php?id=369 [2014, April13]US.EPA (1971) Guidelines: air quality surveillance network. USA: Research Trianlge park, North Carolina______________ (1999) Compendium of Methods for the Determination of Toxic Organic Compounds in Ambient Air USA, Ohio______________ (2005) Code of Federal Regulation, Title 40, Part 50 Appendix I. U.S. Government Printing Office [online].Available from http://www.epa.gov. [2014, October 28]______________ (2011) US.EPA Method 4 [online]. Available from http://www/epa/gov [2014 October, 22]______________ (2012) Code of Federal Regulation, Title 40, Part 50 Appendix I. U.S. Government Printing Office [online].Available from http://www.epa.gov. [2014, October 28]______________ (2012) Code of Federal Regulation, Title 40, Part 50 Appendix L. U.S. Government Printing Office [online].Available from http://www.epa.gov. [2014, October 28]______________ (2012) Code of Federal Regulation, Title 40, Part 50 Appendix E. U.S. Government Printing Office [online].Available from http://www.epa.gov. [2014, October 28]Vincent,J.H. (1995) Aerosol Science for Industrial Hygienists, Pergamon, Elsevier Science, New YorkWeblink.In Pvt. Ltd. 2010 Venturi flow meter.jpg [online]. Available from www.exportersindia.com [2014, October 22]Wight, G.D. (1994). Fundamental of Air Sampling. New York: Lewis.บรรณานกุ รม หนา้ 275