ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash
โปรแกรม Flash เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการสร้างสื่อมัลติมีเดีย, ภาพเคลื่อนไหว (Animation), ภาพกราฟิกที่มีความคมชัด เนื่องจากเป็นกราฟิกแบบเว็คเตอร์(Vector), สามารถเล่นเสียงและวีดิโอ แบบสเตริโอได้, สามารถสร้างงานให้โต้ตอบกับผู้ใช้(Interactive Multimedia) มีฟังก์ชั่นสำหรับการเขียนโปรแกรม (Action Script) และยังทำงานในลักษณะ CGI โดยเชื่อมต่อกับการเขียนโปรแกรมภาษาอื่นๆ ได้มากมาย เช่น ภาษา PHP, JSP, ASP, ASP.NET, C/C++, C#, C#.NET, VB, VB.NET, JAVA และอื่นๆ โดยเฉพาะข้อดีของโปรแกรม Flash คือ ความสามารถในการบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็ก มีผลทำให้แสดงผลได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนั้นยังแปลงไฟล์ไปอยู่ในฟอร์แมตอื่น ได้หลากหลาย เช่น avi, mov, gif, wav, emf,eps, ai, dxf, bmp, jpg, gif, png เป็นต้น

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash
โปรแกรม Flash เริ่มมีชื่อเสียงประมาณปี พ.ศ. 2539 จนถึง ปัจจุบันได้ถูกนำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีเว็บ ทำให้การนำเสนอทำได้อย่างน่าสนใจ นอกจากนั้น โปรแกรม Flash ยังสามารถสร้างแอพพลิเคชั่น (Application) เพื่อใช้ทำงานต่างๆ รองรับการใช้งานกับอุปกรณ์ที่ เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และทำงานได้กับหลายๆ แฟลตฟอร์ม (Platform)

ก่อนที่เราจะเริ่มวาดรูป หรือสร้างภาพ เราต้องมาทำความเข้าใจกับส่วนประกอบต่างๆ ของโปรแกรม Macromedia Flash CS6 กันก่อน โดยเปิดโปรแกรม Macromedia Flash CS6 ด้วยการคลิกปุ่ม Start> All Program > Adobe Master Collection CS6 >Adobe Flash Professional CS6 จะปรากฏหน้าต่าง ดังภาพ

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

ส่วนประกอบหลักๆ ของหน้าต่างโปรแกรม Flash

1. ส่วนที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว (Timeline) Timeline เป็นส่วนที่ใช้ในการสร้างภาพเคลื่อนไหว โดยมีส่วนประกอบหลักๆ ด้วยกัน 2 ส่วน คือเลเยอร์ (Layer) และ เฟรม (Frame) ดังนี้

ส่วนประกอบของ TimeLine

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

Layer เปรียบเสมือนแผ่นใสที่มีวัตถุหรือออบเจ็กต์ของภาพต่างๆ ที่เราวาดวางเอาไว้ การสร้างเลเยอร์ใหม่ก็เปรียบเสมือน กับเพิ่มแผ่นใสที่มีอิสระต่อกัน สามารถเปลี่ยนตำแหน่งการซ้อนทับกันของแต่ละเลเยอร์ได้โดยจะมีผลให้ภาพมีการเปลี่ยน ระดับและการซ้อนทับกันด้วย

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

Frame ที่แสดงช่องเฟรมต่างๆ ซึ่งทำงานเหมือนกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์ โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหล่านี้ มาแสดง อย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ Frame จะแสดงผลทีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ไว้สำหรับบอกตำแหน่งในการเล่นว่าอยู่ในตำแหน่งใด

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

ชนิดของเฟรม ชนิดของเฟรมที่ใช้ในการสร้างมูฟวี่ในโปรแกรมแฟลชแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ คีย์เฟรม (Keyframe) และเฟรม ระหว่างกลาง (In-between frame) ดังนี้ คีย์เฟรม (Keyframe) คือตำแหน่งหลักที่วัตถุมีการเปลี่ยนแปลง ทำให้ภาพดูเคลื่อนไหว สัญลักษณ์ของคีย์เฟรมมี 2 แบบ คือ

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

หมายถึง เฟรมเปล่า

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash
หมายถึง คีย์เฟรมที่มีวัตถุอยู่

การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame สามารถทำได้โดยการสร้างเฟรมขึ้นมาแล้ววางวัตถุลงไป โดยปรับแต่งให้วัตถุในแต่ละเฟรมมีความแตกต่างกัน

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

เฟรมระหว่างกลาง (In-between frame) In-between เป็นหลักการหนึ่งของการสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการกำหนดเฟรมเริ่มต้น และเฟรมสิ้นสุดของการเคลื่อนไหว แล้วใช้คำสั่ง tween ในโปรแกรมแฟลชเพื่อให้ภาพเคลื่อนที่ระหว่างเฟรมเริ่มต้นกับเฟรมสิ้นสุด

ช อ เด ม ของ โปรแกรม adobe flash

การกำหนดการเคลื่อนที่แบบ tween ให้กับวัตถุในคีย์เฟรม มีสัญลักษณ์ของเฟรมที่แตกต่างกันตามลักษณะการเคลื่อนที่ที่กำหนด ดังนี้