8 nic ในระบบเคร อข ายหมายถ งอะไร ม ประโยชน อย างไร

วิชาการพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพาเบ้อื งตน้ รหสั วชิ า 20204-2112

เรื่อง สถาปัตยกรรมของเครอื ข่ายไรส้ าย

จดั ทำโดย นางสาวสุพัตรา ขันซ้าย คธ.62/1 เลขท2ี่ 5 นางสาวสทุ ัศนยี ์ ศรีแกว้ คธ.62/1 เลขท่ี23 นางสาวกฤษณา ชินคำหาร คธ.62/1 เลขท3่ี

เสนอ อาจารย์ชญานติ ย์ ภาสว่าง

รายงานเล่มนี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิชาการพัฒนาโปรแกรมบนอปุ กรณพ์ กพาเบ้อื งต้น ประจำปภี าคเรียนท่2ี ปีการศกึ ษา 2564 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาขอนแก่น

สารบัญ หนา้ หน่วยการเรยี น 1 หนว่ ยที่ 5 สถาปัตยกรรมของเครือขา่ ยไร้สาย 2 2 5.1 บทนำ 3 5.2 พื้นฐานเครอื ขา่ ยแลนไร้สาย 3 5.3 อุปกรณ์ฮารด์ แวรข์ องเครือข่ายไรส้ าย 4 4 5.3.1. เครื่องคอมพวิ เตอร์ (Computer) 5 5.3.2. เคร่อื งลกู ข่าย 5-6 5.3.3. แผงวงจรเช่อื มต่อเครือขา่ ย (Network Interface Card : NIC) 7 5.3.4. สายนำสัญญาณ (Cable) 8 5.4 วิธีการเชอื่ มตอ่ เครอื ขา่ ยไร้สาย (wireless networking mode) 9 - 11 5.4.1 เชือ่ มตอ่ เครือข่ายไร้สาย 12 5.5 ระบบความปลอดภยั บนเครือขา่ ยไร้สาย (Wireless Networking Mode) 13 - 14 5.5.1 การรกั ษาความปลอดภัยเครือข่ายแบบไรส้ าย 15 5.6 ความเรว็ ของเครือขา่ ยไร้สาย (Wireless Networking Speed) 16 - 18 5.6.1 รปู แบบการเช่ือมตอ่ เครือขา่ ยไร้สาย 19 - 20 5.7 ขอบเขตรศั มีของเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Range) 5.8 Wi-Fi 5.9 ประโยชน์ของระบบเครือข่ายไร้สาย

1

ปัจจุบนั โลกของเราเป็นยุคแห่งการตดิ ต่อสือ่ สาร เทคโนโลยีต่างๆ เช่นโทรศัพท์มอื ถือ เป็นสง่ิ จำเปน็ ตอ่ การ ดำเนินธรุ กจิ และการใช้ชีวิตประจำวนั ความตอ้ งการข้อมลู และการบริการต่างๆ มคี วามจำเปน็ สำหรบั นักธุรกิจ เทคโนโลยีทีส่ นองต่อความต้องการเหล่านัน้ มมี ากมาย เช่น โทรศัพทม์ ือถือ เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก เครื่อง ปาลม์ ได้ถูกนำมาใช้เป็นอยา่ งมากและ ผ้ทู ีน่ ่าจะไดป้ ระโยชนจ์ ากการใช้ ระบบเครือขา่ ยไรส้ าย มีมากมายไม่วา่ จะเปน็ – หมอหรอื พยาบาลในโรงพยาบาล เพราะสามารถดงึ ขอ้ มูลมารกั ษาผ้ปู ว่ ยไดจ้ าก เคร่ืองคอมพิวเตอร์โนต้ บคุ ที่ เช่ือมตอ่ กับ ระบบเครอื ขา่ ยไร้สายไดท้ ันที – นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ก็สามารถใช้งานโนต้ บุ๊กเพื่อค้นคว้าขอ้ มูลในหอ้ งสมดุ

2

5.1 บทนำ

เปน็ ท่ตี อ้ งยอมรบั วา่ ในปจั จุบนั นีเ้ ราตอ้ งติดต่อกันในสังคมตลอดเวลา ไมว่ า่ จะอาศยั อยูใ่ นเมืองเดยี วกนั ประเทศเดยี วกัน หรอื อยู่ต่างประเทศ ก็สามารถท่จี ะติดต่อสือ่ สารกนั ไดเ้ สมอ เทคโนโลยีของอุปกรณส์ อ่ื สารมี การพัฒนาไปส่คู วามทนั สมัย สะดวกสบาย โดยเฉพาะเทคโนโลยีเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ และสมารท์ โฟนไดม้ ี การพฒั นาไปอย่างรวดเรว็

อันเนอื งมาจากระบบเครอื ขา่ ยของการส่อื สารมีความยืดหยุ่นมากขนึ้ เครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ตไดพ้ ฒั นา เครือข่ายไปหลายรูปแบบ การบรอดแคส (broadcast) ซึง่ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ทำใหร้ องรับการส่ือสารข้อมูล ทุกรูปแบบ เช่น ภาพ เสยี ง วดิ ีโอ ขอ้ ความ กส็ ามารถส่ือสารกันได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เพราะฉะนั้นผู้ใชง้ าน เทคโนโลยใี นปจั จุบนั นี้จำเปน็ ต้องมีความรทู้ างเทคโนโลยีการสื่อสาร

เน้อื หาในบทน้ี จะกลา่ วสง่ิ ที่มีความรู้บนเครือข่ายแลนไร้สายในเบอื้ งตน้ ก่อน ซ่งึ รายละเอียดดงั กลา่ ว จะทำใหเ้ ราไดเ้ ข้าใจถงึ พืน้ ฐานเครือข่ายแลนไรส้ ายได้ดีย่ิงข้นึ เชน่ อปุ กรณ์ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ วธิ กี าร เช่อื มต่อ และระบบความปลอดภยั เป็นตน้

5.2 พ้ืนฐานเครือขา่ ยแลนไรส้ าย

แลนไร้สาย หรือ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) คือระบบท่ีเชอื่ มโยงคอมพวิ เตอรเ์ ข้าเข้าด้วยกนั เป็น เครือข่ายภายในพนื้ ท่แี บบไร้ สาย โดยใช้คลื่นความถ่ี วิทยุใน การเช่ือมต่อหรือส่ือสารกนั การเช่อื มต่อแลนไร้ สายมที ้งั แบบเช่ือมต่อระหวา่ งเครอื่ งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ยกัน และเช่อื มต่อระหว่างเคร่อื งคอมพิวเตอร์ผา่ นอุปกรณ์ กระจายสัญญาณ (Access Point)

คำว่า ไวเลส (Wireless) คอื ไม่มสี าย ลองนึกภาพถงึ แลนปกติท่เี ช่ือมตอ่ กนั ระหวา่ งคอมพวิ เตอรก์ ับ สวิตซ์ (Switch) หรอื ฮับ (Hub) ดว้ ยสายสัญญาณที่เรียกวา่ สาย UTP แต่ไวเลส คือการเชอ่ื มต่อท่ีไมม่ ีมสี าย แลนนน่ั เอง

สำหรับมาตรฐาน IEEE 802.11a มคี วามเร็วสูงสดุ ท่ี 54 Mbps ท่ีความถีย่ า่ น 5 GHz สำหรบั มาตรฐาน IEEE 802.11b มคี วามเร็วสูงสดุ ที่ 11 Mbps ท่ีความถีย่ ่าน 2.4 GHz สำหรบั มาตรฐาน IEEE 802.11g มคี วามเร็วสงู สดุ ท่ี 54 Mbps ทค่ี วามถยี่ ่าน 2.4 GHz

3

5.3 อุปกรณ์ฮารด์ แวร์ของเครอื ข่ายไรส้ าย

ฮาร์ดแวรข์ องระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หมายถึง อุปกรณ์ทม่ี ีความจำเป็นต้องใชใ้ นการตดิ ตัง้ ระบบ เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ จำนวนอปุ กรณ์จะมีความซบั ซ้อนมากหรือน้อย ขึ้นอยูก่ ับขนาดขององค์กร หรือ ประเภทของระบบเครือข่าย ตวั อยา่ งเช่น ระบบเครือข่ายระดับท้องถน่ิ หรือ เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ระยะใกล้

5.3.1. เคร่อื งคอมพิวเตอร์ (Computer) เครื่องคอมพิวเตอรท์ ี่ใช้ในระบบเครือข่ายนัน้ สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เคร่ือง

แม่ขา่ ย และ เครือ่ งลกู ข่าย 1.1 เคร่อื งแมข่ า่ ย เครื่องแมข่ ่ายหรือเครื่องเซิร์ฟเวอร์ (Server) ควรเปน็ เครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีมปี ระสิทธิภาพสงู สามารถ

คำนวณหรือประมวลผลไดร้ วดเรว็ มหี นว่ ยความจำสงู ใชเ้ ป็นศนู ยก์ ลางการเก็บข้อมลู และประมวลผลของ ระบบเครือขา่ ยในระบบเครือขา่ ยขนาดเล็กมักจะไมม่ ีเครือ่ งแมข่ ่ายหรือเคร่ืองเซริ ์ฟเวอร์เน่ืองจากมรี าคาสูง แต่ อาจใชเ้ ครื่องคอมพิวเตอรช์ นิดเดียวกับเคร่ืองลูกข่ายแทน

4

5.3.2. เคร่ืองลกู ขา่ ย เครือ่ งลกู ข่ายหรือเคร่ืองไคลเอนต์ (Client) เปน็ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ไ่ี ม่จำเป็นตอ้ งมีคุณภาพสูง

เท่าเคร่ืองแม่ขา่ ย แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.2.1 เคร่อื งเวิรก์ สเตชนั (Workstation) เป็นเคร่อื งคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการประมวลผล

ด้วยตนเองสามารถทำงานได้เร็ว เพราะไมต่ อ้ งรอรบั ผลจากเคร่ืองแม่ข่าย เครอื่ งเวิร์กสเตชนั เมอื่ ออกจากระบบ เครือข่าย คอมพิวเตอร์ กย็ งั สามารถใช้งานไดเ้ หมือนเคร่ืองคอมพวิ เตอรส์ แตนด์อโลน แต่ค่าใชจ้ า่ ยและการ ดูแลรกั ษา จะสงู กวา่ เครือขา่ ยท่ใี ช้เคร่อื งเทอร์มินลั

1.2.2 เครือ่ งเทอร์มินลั (Terminal) เปน็ เคร่ีองคอมพวิ เตอร์ท่ไี มส่ ามารถประมวลผลขอ้ มูลได้ด้วย ตนเอง มีความสามารถในการทำงานช้า เพราะต้องรอการประมวลผลจากเครื่องแม่ข่ายเท่านัน้ เครอื่ งเทอร์มินัล ประกอบไปดว้ ย จอคอมพวิ เตอร์ แป้นพิมพ์ และเมาส์ เพอ่ื ใชใ้ นการแสดงขอ้ มลู และสง่ ขอ้ มลู ไปยงั เคร่ืองแม่ข่าย ทำใหป้ ระหยัดคา่ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ได้อย่างมาก เครื่องเทอรม์ นิ ลั เมื่อออกจากเครือข่าย จะไมส่ ามารถทำงานไดแ้ ต่การดูแลรักษาระบบเครือขา่ ยทใี่ ชเ้ คร่ืองเทอร์มินัล จะงา่ ยกวา่ ระบบเครือขา่ ยทีใ่ ช้ เครอ่ื งเวิร์กสเตชนั

5.3.3. แผงวงจรเช่ือมต่อเครอื ขา่ ย (Network Interface Card : NIC) หรอื นยิ มเรยี กกันวา่ แลนการด์ (Lan Card) ใช้สำหรบั ตอ่ สายนำสัญญาณของระบบเครือขา่ ย ทำ

ใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ในระบบเครือข่าย สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารสง่ ขอ้ มลู ในระบบเครือข่ายได้

5

5.3.4. สายนำสญั ญาณ (Cable) 3.1 สายคู่บดิ เกลยี ว (Twisted – Pair Cable)

สายคู่บดิ เกลียวประกอบด้วยสายทองแดง ท่หี ้มุ ด้วยฉนวนพลาสตกิ หลงั จากนน้ั ก็นำสายทัง้ สองมาถกั กันเป็น เกลยี วคู่ เพ่อื ช่วยลดสญั ญาณรบกวนภายในสาย สายคบู่ ิดเกลียวมอี ยู่ 2 รูปแบบ คือ

3.1.1 สายคบู่ ดิ เกลียวแบบไม่มีชลี ด์

5.4 วธิ กี ารเชอื่ มต่อเครอื ขา่ ยไร้สาย (wireless networking mode)

รูปแบบการเช่ือมตอ่ ระบบแลนไร้สายแบบ Peer to Peer เปน็ ลกั ษณะ การเชื่อมต่อแบบโครงขา่ ย โดยตรงระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จำนวน 2 เครอ่ื งหรือมากกวา่ นั้น เปน็ การใช้งานรว่ มกันของ wireless adapter cards โดยไม่ได้มีการเช่อื มตอ่ กับเครือข่ายแบบใชส้ ายเลย โดยท่ีเครือ่ งคอมพิวเตอร์แตล่ ะเคร่ืองจะ มคี วามเท่าเทยี มกนั สามารถทำงานของตนเองไดแ้ ละขอใช้บริการเครื่องอื่นได้ เหมาะสำหรับการนำมาใช้

6

งานเพื่อจุดประสงค์ในด้านความรวดเร็วหรือตดิ ตั้งไดโ้ ดยง่ายเมื่อไมม่ โี ครงสร้างพ้นื ฐานท่ีจะรองรับ ยกตวั อย่างเชน่ ในศนู ย์ประชุม, หรือการประชมุ ท่จี ดั ขึน้ นอกสถานที่

ระบบเครือข่ายไร้สายแบบ Client / server หรือ Infrastructure mode เปน็ ลักษณะการรับส่ง ขอ้ มูลโดยอาศยั Access Point (AP) หรอื เรียกว่า “Hot spot” ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ สะพานเชือ่ มต่อระหวา่ งระบบ เครือข่ายแบบใชส้ ายกับเคร่ืองคอมพวิ เตอรล์ ูกขา่ ย (client) โดยจะกระจายสญั ญาณคลน่ื วทิ ยเุ พอ่ื รบั -สง่ ข้อมูลเปน็ รัศมีโดยรอบ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ทอ่ี ยู่ในรัศมีของ AP จะกลายเปน็ เครอื ข่ายกลุ่มเดยี วกนั ทนั ที โดย เครอื่ งคอมพิวเตอร์

โดยทัว่ ไปแล้ว การเชือ่ มต่อสัญญาณระหว่างเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ กับ Access Point ของเครอื ข่ายไร้ สายจะอยู่ในรัศมปี ระมาณ 500 ฟุต ภายในอาคาร และ 1000 ฟุต ภายนอกอาคาร หากสถานท่ที ต่ี ดิ ตั้งมี ขนาดกวา้ ง มากๆ เชน่ คลงั สนิ คา้ บริเวณภายในมหาวทิ ยาลัย สนามบนิ จะตอ้ งมีการเพ่มิ จดุ การตดิ ตัง้ AP ให้ มากข้ึน เพื่อให้การรบั ส่งสญั ญาณในบริเวณของเครือข่ายขนาดใหญ่ เป็นไปอยา่ งครอบคลุมท่วั ถึง

7

5.4.1 การเชอื่ มตอ่ เครือขา่ ยไรส้ าย

การเชื่อมต่อเครื่องคอมพวิ เตอร์ลกู ข่าย (โน้ตบุ๊ค, เดสทอ็ ป) เข้ากบั ระบบเครือข่ายไร้สายของ มหาวิทยาลยั หรอื เครือข่าย WiSE ผู้ใชจ้ ำเป็นต้องมอี ุปกรณ์แลนไรส้ ายหรอื การ์ดแลนไร้สายก่อน เช่น PCMCIA Card, PCI Card, USB หรือ Notebook Centrino อย่างใดอยา่ งหนงึ่ จากนนั้ ทำการติดต้ังไดร์ เวอร์ (Driver) ของอุปกรณแ์ ลนไร้สายใหเ้ รียบรอ้ ย (ในที่นจี้ ะไม่กลา่ วถงึ การตดิ ต้งั ไดร์เวอรเ์ พราะแต่ละ อปุ กรณ์มีวิธกี ารตดิ ต้งั ที่ต่างกัน) และสง่ิ สำคัญผู้ใชต้ ้องมีช่ือบัญชีและรหสั ผ่านของ BUASRI ID ก่อน (ตรวจสอบได้ท่ีสำนักคอมพิวเตอร)์ เพ่ือใช้เป็นรหัสผ่านในการเข้าระบบเครือข่ายไรส้ าย WiSE

เม่อื เครือ่ งผู้ใช้มีปจั จัยพืน้ ฐานดงั กล่าวขา้ งตน้ แล้ว ขัน้ ตอนตอ่ ไปเป็นการกำหนดค่าตา่ งๆ เพอ่ื ใช้ งานเครอื ขา่ ย WiSE โดยมขี ้ันตอน การกำหนดค่าไอพีแอดเดรสสำหรบั เครือขา่ ย WiSE การกำหนดคา่ ไวเลส และการเข้าใช้งานเครอื ข่าย WiSE เพยี ง 3 ขน้ั ตอนกส็ ามารถใช้งานเครือขา่ ย WiSE ไดแ้ ล้ว

8

5.5 ระบบความปลอดภัยบนเครอื ขา่ ยไร้สาย (Wireless Networking Mode)

Wireless networks เปน็ ทน่ี ยิ มมากขนึ้ เรอ่ื ยๆพร้อมกับความเสีย่ งด้านความปลอดภัยของข้อมูล ขา่ วสารทตี่ ามมา(security risks) Wireless networks หรอื WiFi เปน็ การตดิ ต่อส่อื สารแบบไรส้ าย อยากจะใช้เม่ือไรทไี่ หนก็ได้ ไมว่ ่าจะในร้านกาแฟ ทบ่ี า้ น ที่ทำงาน ในทุกท่ีทเ่ี ครือขา่ ยการใชง้ านครอบคลมุ ถึง ซึ่งจะเป็นการเชอ่ื มต่อกบั คอมพวิ เตอรก์ ับ Internet ในลกั ษณะคล่ืนวิทยุ โดยอาศยั ตวั transmitter หรือ wireless access ซึ่งจะมีสง่ิ ที่เรยี กว่า "hotspot" เปน็ จุดเชอ่ื มโยงส่งผา่ นกับคล่ืนวทิ ยุ Hotspots เปน็ ตัว วิเคราะห์ข้อมลู รวมทง้ั รายการต่างๆ ทเ่ี ราเรยี กว่า SSID (service set identifier) ที่จะให้ computers ติดตัง้ ลงไปได้ โดยอาศยั ตวั wireless card มาชว่ ย ทั้งนใี้ น computer บางตวั อาจจะเชอื่ มต่อ wireless networks ในบรเิ วณทีก่ ำหนดได้โดยอัตโนมัติ

ความทีเ่ ปน็ wireless networks ก็จงึ เป็นไปได้ทีจ่ ะถกู บุกรุกขอ้ มูลโดยพวกท่ีเรียกกนั วา่ hijack ซง่ึ จะบุกรกุ ขอ้ มูล และแทรกแซงการเชือ่ มโยงระหวา่ งคอมพวิ เตอร์ของคุณกบั hot spot โดยจะใช้ข้อมลู จาก ตวั อปุ กรณ์ของเคร่ือง, wireless card, GPS device ในการวิเคราะห์ network location ซง่ึ ขอ้ มลู ทใ่ี ช้ สว่ นมากกจ็ ะแสดง online อยูแ่ ล้ว ดงั นัน้ ถ้าคุณใชส้ ง่ิ ทีเ่ รยี กว่า WiFi นี้อยู่ ก็ควรต้องแน่ใจว่าข้อมลู ของ คุณได้รบั การป้องกนั เพยี งพอ ซง่ึ ในการเสริมสร้างความปลอดภัยในด้านข้อมลู ขา่ วสารบนเครือข่ายไร้สายน้ัน มีหลายวิธี เชน่

1. เปล่ยี น default passwords - network devices ส่วนมากจะมี wireless access points มา ดว้ ย ซ่ึงเราสามารถ setup password ได้อยา่ งงา่ ยๆแต่ก็พบได้ง่ายๆทาง online เชน่ กัน ซ่งึ กอ็ าจจะไม่ คอ่ ยช่วยอะไรไดม้ าก กแ็ ค่ทำความยุง่ ยากใหผ้ ้ทู ่ีจะ attrack เข้ามา คงไมถ่ ึงกบั ป้องกนั จรงิ จงั สกั ทีเดยี ว

2. Restrict access - ใน hardware ทใ่ี ชเ้ ชอื่ มต่อแต่ละช้นิ จะมี MAC address (media access control) ชว่ ยในการกรองผทู้ ่ีจะเขา้ มาใชง้ าน โดยอนญุ าตเฉพาะผทู้ เ่ี ป็น authorized users เทา่ นน้ั .

3. Encrypt the data on your network - เป็นการป้องกันจากการทใ่ี ครบางคนบุกรกุ เข้ามาโดยอาศยั data ทม่ี ีอยู่ ในการป้องกันเรานยิ มใช้ WEP (Wired Equivalent Privacy) และ WPA (Wi-Fi Protected Access) ทั้งสองตวั น้จี ะชว่ ยซอ่ นข้อมูลบน wireless devices ทง้ั นี้ WEP มตี ัวเลขท่ีเปน็ security issues ซงึ่ จะทำให้การป้องกันไมไ่ ด้ผลดเี ท่าการใช้ WPA

4. ป้องกนั SSID - โดยการเปลี่ยน default ของ SSID ทจี่ ะทำใหบ้ ุคคลภายนอกลอกเลียนข้อมลู SSID ไดย้ ากขึน้

9

5. ตดิ ตง้ั firewall บนเครอื ขา่ ย - บน wireless devices (a host-based firewall) ซง่ึ จะช่วยเพิ่ม layer ขน้ึ มาป้องกันข้อมูลบน computer ในกรณีที่ผบู้ ุกรุกทำการ tap เข้ามาที่ wireless network โดยตรง

6. anti-virus software - ทจ่ี ะชว่ ยลดความเสียหายจากการถูกบกุ รุกได้ ท้ังนต้ี ้องพยายาม update ใน ส่วนของ virus definitions อย่เู สมอ นอกจากน้โี ปรแกรมเหล่านมี้ กั จะมี additional features ทชี่ ว่ ยใน การปอ้ งกนั spyware และ Trojan horses ใหด้ ้วย

5.5.1 การรักษาความปลอดภยั เครอื ขา่ ยแบบไร้สาย

การเข้ารหัสจะใชก้ นั อย่างแพร่หลายเพือ่ ความปลอดภัยของข้อมูลรวมทง้ั การรักษาความปลอดภยั เครอื ข่ายไร้สาย

การเข้ารหัสข้อมูล คือการแปลขอ้ มูลไปเป็นเปน็ รหัสเพื่อการส่งขอ้ มูลผ่านทางคลืน่ วทิ ยุ การเขา้ รหัส คล้ายกับรหัสผ่าน

ถา้ คุณมีความรู้เพียงเลก็ น้อยที่เกยี่ วข้องกบั การรักษาความปลอดภัยเครือข่ายไรส้ ายภายในบ้านคณุ อาจจะ พจิ ารณาการเขา้ รหัสแบบ WEP ซ่ึงสามารถทำได้งา่ ย แตว่ ่า มีความปลอดภยั น้อยมาก

Wireless Security : การปอ้ งกันรหัสผา่ นของคณุ

รหัสผ่านของคุณมีความสำคัญตอ่ การรกั ษาความปลอดภัยในเครือขา่ ยไร้สาย ไมค่ วรเปิดเผยให้บุคคลท่ีไมไ่ ด้ รับอนญุ าต ระมัดระวังการตอบผา่ นอีเมลเพ่ือขอรหัสผ่าน บริษทั หรือสถานท่ที ำงานสว่ นใหญ่จะไม่ขอ รหัสผ่านทางอีเมลเนื่องจากการขาดการรักษาความปลอดภัย เคลด็ ลับเหลา่ น้มี ปี ระโยชนส์ ำหรบั การรกั ษา ความปลอดภัยแบบไร้สาย และรวมถงึ การรกั ษาความปลอดภยั แบบมีสาย

การรักษาความปลอดภยั เครอื ข่ายไรส้ ายเปน็ สิง่ สำคัญ โปรดใช้ความระมัดระวังเกยี่ วกบั การอนญุ าตใหผ้ ู้อ่ืนให้ เขา้ ถงึ คุณยังสามารถตั้งรหสั ผา่ นในโฟลเดอร์เฉพาะเพ่ือเพิ่มความปลอดภยั ด้วย

Firewall

การเลือกไฟรว์ อลล์ควรจะอยู่กบั ความจำเปน็ ของการรักษาความปลอดภัย, งบประมาณ, ความนา่ เช่อื ถือและ มศี กั ยภาพในการขยายเครือข่ายไร้สาย ไฟรว์ อลล์ขนั้ พืน้ ฐานสว่ นใหญ่มคี วามปลอดภัยน้อย เช่นเราเตอรท์ ่ีใช้ กนั ตามบา้ น ไฟร์วอลระดับถัดไปทีม่ าพร้อมอุปกรณ์เกตเวย์ สุดทา้ ยในระดับสงู สดุ ของการรักษาความ ปลอดภยั แบบไร้สาย กจ็ ะใชเ้ ปน็ ระบบปฏิบัติการที่ติดตั้งโปรแกรมเชน่ Proxxy , Authentication

10

การเข้ารหสั ลับเพื่อการรักษาความปลอดภัยแบบไรส้ าย : WEP

WEP เป็นมาตรฐานการเข้ารหัสลบั การรักษาความปลอดภัยทส่ี รา้ งไว้ในทุกอุปกรณ์ Wi - Fi

WEP ไม่ได้เปน็ การรักษาความปลอดภัยแบบไร้สายที่ดี แตเ่ พียงพอสำหรบั การรักษาความปลอดภัยแบบไม่ สำคัญมากนัก

Wireless Security : MAC filtering

อปุ กรณ์ทั้งหมดในระบบเครอื ขา่ ยไร้สาย ทีม่ ีการควบคมุ การเขา้ ถงึ MAC ก็เหมือนกับหมายเลขเฉพาะของ ฮาร์ดแวรแ์ ตล่ ะราย

MAC filtering คอื การเชือ่ มต่อเครือข่ายไร้สายจะตดิ ต่อเฉพาะกับอุปกรณ์ท่คี ุณระบุ MAC filtering ไวเ้ ท่านั้น มันเป็นเครื่องมือทีด่ ีทจ่ี ะใช้เพ่ือเพิ่มความปลอดภยั แบบไรส้ าย เหมาะใชใ้ นบ้านเน่ืองจากมีอปุ กรณไ์ มม่ ากนกั เพราะต้องระบทุ ุกอปุ กรณ์ในระบบเครื่อขา่ ย

การรักษาความปลอดภยั แบบไร้สาย : Firewall

ไฟร์วอลล์ทีเ่ ปน็ ฮาร์ดแวรห์ รือซอฟต์แวร์ ใช้เพอื่ ป้องกนั บุคคลภายนอกเขา้ ถึงเครือข่าย ไฟรว์ อลลจ์ ะเป็นสว่ น สำคัญของการรักษาความปลอดภัยเครอื ข่ายไร้สาย มันทำงานโดยการควบคมุ การจราจรระหวา่ ง เคร่อื ขา่ ย ภายใน กบั การเข้าถงึ จากภายนอก ถ้าคณุ ใชเ้ ครอื ข่ายไรส้ าย, คณุ อาจต้องการพจิ ารณาใชเ้ ราเตอรท์ ีม่ ี คุณสมบัติไฟรว์ อลลด์ ้วย

Wireless Security : การรกั ษาความปลอดภัยแล็ปท็อปของคุณ

หนึ่งในประโยชน์ของเครือขา่ ยไร้สายคอื การเชอื่ มต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา แต่กต็ ามมาดว้ ยภัยของการ ถูกโจมตขี องคอมพวิ เตอร์

หากคณุ ต้องเดนิ ทางและใช้คอมพวิ เตอรข์ องคุณอยู่ในจุดบรเิ วณใหบ้ ริการ hot spot คณุ อาจถูกบกุ รุกผ่าน คอมของคุณได้ควรมีการตดิ ต้ัง ซอฟแวร์ที่ป้องกนั การบกุ รุกไว้ดว้ ย

การใช้ ไฟรว์ อลล์ มากกว่าหนง่ึ

คุณควรใช้ไฟร์วอลลม์ ากกว่าหน่งึ ในเครือข่ายของคุณ ป็นจริงสำหรับสำนักงานและการรักษาความปลอดภยั เครอื ข่ายไร้สาย ตัวอย่างเช่นคณุ สามารถใช้เราเตอร์ไรส้ ายที่มีไฟร์วอลลซ์ ่งึ เป็นฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ไฟร์ วอลล์ตดิ ตงั้ บนเครื่องคอมพวิ เตอร์

11

การรกั ษาความปลอดภัยแบบไร้สาย : การตง้ั คา่ รหสั ผา่ น โปรดจำไวว้ ่าเครอื ขา่ ยไรส้ ายจะสง่ ข้อมูลผ่านทางคล่นื วทิ ยุและสามารถเขา้ ถึงไดท้ ุกคนทมี่ ีชว่ งคล่นื เดยี วดนั หากคณุ ไม่ได้กำหนดรหัสผา่ นในระบบเครือขา่ ย ทกุ คนอยใู่ นช่วงสามารถเขา้ ถึงเครือขา่ ยได้ ดว้ ยเหตุนม้ี ันเปน็ สงิ่ สำคัญในการกำหนดรหัสผ่านเพือ่ ปกป้องระบบและเพมิ่ การรกั ษาความปลอดภัยเครอื ขา่ ยไร้สาย การรักษาความปลอดภยั เครือข่ายพนื้ ฐานไร้สาย มีการรกั ษาความปลอดภยั หลายข้ันตอนพื้นฐาน ท่ีทุกคนควรทำ อย่างไรกต็ ามเพ่ือให้ม่ันใจว่าเครือข่ายไร้สาย เมือ่ กำหนดคา่ เครือขา่ ยของคุณแล้วควรเปลย่ี นชอื่ เร่มิ ต้นของ SSID ไมใ่ ห้เผยแพร์ คือการซอ่ นไว้ ใช้การ เขา้ รหสั ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล WEP เป็นอย่างน้อย เปลีย่ นรหสั ผา่ นบ่อย ๆ สดุ ท้ายใหต้ รวจสอบการซอฟต์แวร์ ปอ้ งกันไวรสั และซอฟต์แวร์ปอ้ งกนั สปายแวรใ์ นคอมพิวเตอร์ทุกเคร่ือง

การเลือกรหัสผ่านทดี่ ีสำหรบั การรกั ษาความปลอดภยั แบบไรส้ าย เคล็ดลับในการเลือกรหสั ผา่ นทดี่ สี ำหรับการรักษาความปลอดภยั แบบไร้สาย อยา่ ใชช้ ่ือชื่อยอ่ ของคุณหรือชือ่ ที่ งา่ ยต่อการคาดเดา ตวั เลขเชน่ ทีอ่ ยู่ วนั เกิด รหัสผ่านควรมีอยา่ งน้อยแปดตัวและมีทง้ั ตัวเลขและตัวอักษร และจำไวว้ า่ ไม่วา่ ไม่ควรเขียนมันไวท้ งี่ า่ ยต่อการสังเกต

แหล่งทม่ี า https://www.superict.com

12

5.6 ความเรว็ ของเครือข่ายไร้สาย (Wireless Networking Speed)

ปัจจุบนั เครือข่ายไร้สายทั่วไปนน้ั มคี วามเร็วสูงถงึ 54 Mbps มรี ะยะประมาณ 200-300 ฟตุ

สถาบันวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ (Institute of Electrical and Electronic Engineers) ได้ กำหนดมาตรฐานแรกของระบบเครือข่ายไรส้ าย โดยใชช้ อ่ื IEEE802.11 แลว้ มีการพัฒนาอยา่ งต่อเนอื่ งและ ขยายออกไปเป็นมาตรฐานตา่ ง ๆ ดงั น้ี

1. มาตรฐาน IEEE 802.11b เปน็ มาตรฐานเครอื ขา่ ยของระบบ Wireless LAN ทใี่ ชค้ วามถี่ ย่าน 2.4 GHz ซงึ่ เปน็ ความถ่ีเสรีท่ี เปดิ ใหใ้ ช้โดยทว่ั ไป ทงั้ นี้จะมกี ลไกการสง่ สญั ญาณเปน็ แบบ DSSS โดย ความเร็วในการสอื่ สารขอ้ มูลมอี ยู่ 4 ระดับคือต้ังแต่ 1Mbps, 2 Mbps, 5.5 Mbps และสงู สุดท่ี 11 Mbps ระยะการใช้งานไกลสดุ อยู่ที่ 100 เมตร

2. มาตรฐาน IEEE 802.11g เปน็ มาตรฐานเครอื ขา่ ยของระบบ Wireless LAN ทใ่ี ช้ความถีย่ ่าน 2.4 GHz มกี ลไกการส่ง สญั ญาณแบบ DSSS และOFDM สามารถใชง้ านร่วมกับอปุ กรณ์ Wireless LAN มาตรฐาน IEEE 802.11b ความเร็วสงู สุดในการทำงานของมาตรฐานนี้อย่ทู ี่ 54 Mbps (แบบ DSSS : 1 Mbps, 2 Mbps, 5.5 Mbps และ 11 Mbps และแบบ OFDM : 6 Mbps, 9 Mbps, 12 Mbps, 18 Mbps, 24 Mbps, 36 Mbps, 48 Mbps และ 54 Mbps) และมรี ะยะทำงานไกลสดุ เทา่ กบั มาตรฐาน IEEE 802.11b คอื 100 เมตร

3.มาตรฐาน IEEE 802.11a เป็นมาตรฐานเครือขา่ ยของระบบ Wireless LAN ที่ใช้ความถ่ียา่ น 5 GHz (ในประเทศไทยไม่ อนุญาตใหใ้ ชง้ าน) มีกลไกการส่งสัญญาณแบบ OFDM ความเร็วในการทำงาน 54 Mbps (6 Mbps, 9 Mbps, 12 Mbps, 18 Mbps, 24 Mbps, 36 Mbps, 48 Mbps และ 54 Mbps) ที่ ระยะไกลสดุ 50 เมตร แต่ไมส่ ามารถทำงานรว่ มกบั อุปกรณ์ในมาตรฐาน IEEE 802.11g ได้เนื่องจากใช้ ความถี่ต่างกัน

4.มาตรฐาน IEEE 802.11n เป็นมาตรฐานเครือขา่ ยของระบบ Wireless LAN ท่จี ะมาแทนท่ี มาตรฐาน IEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ IEEE 802.11g ที่ใช้งานกนั อยใู่ นปัจจุบนั โดยมอี ตั ราความเรว็ ในการรับสง่ ข้อมลู ในระดับ 100 Mbps และระยะทางในการใชง้ านท่ไี กลกว่า ซ่งึ จะใชเ้ ทคโนโลยใี หมแ่ บบ MIMO ทั้งนี้จะทำให้สามารถรองรับการทำงานของ VDO Streaming, Game, VoIP หรอื การสัง่ พิมพ์งาน ผา่ นระบบเครือข่ายไร้สาย

13

5.6.1 รปู แบบการเช่ือมต่อเครอื ขา่ ยไร้สาย

ระบบเครือข่ายไร้สาย (WLAN = Wireless Local Area Network) คือ ระบบการสือ่ สารขอ้ มลู ทม่ี ี รปู แบบในการสื่อสารแบบ ไม่ใช้สาย โดยใช้การส่งคล่นื ความถี่วทิ ยใุ นยา่ นวทิ ยุ RF และ คลื่นอนิ ฟราเรด ใน การรับและส่งข้อมลู ระหวา่ งคอมพิวเตอร์ แตล่ ะเครื่อง ผา่ นอากาศ, ทะลกุ ำแพง, เพดานหรอื สิง่ ก่อสร้างอืน่ ๆ โดยปราศจากความตอ้ งการของการเดนิ สาย นอกจากนั้นระบบเครือข่ายไรส้ ายก็ยงั มคี ุณสมบัตคิ รอบคลุมทุก อยา่ งเหมือนกับระบบ LAN แบบใชส้ าย

ระบบเครือข่ายไร้สาย เปน็ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรข์ นาดเล็ก ที่ประกอบไปด้วย อปุ กรณ์ไม่มากนัก และมกั จำกัดอย่ใู นอาคารหลงั เดยี วหรืออาคารในละแวกเดยี วกัน การใช้งานทนี่ ่าสนใจท่สี ุด ของเครอื ข่ายไรส้ ายกค็ ือ ความสะดวกสบายที่ไมต่ ้องติดอยู่กับที่ ผ้ใู ชส้ ามารถเคล่อื นท่ีไปมาไดโ้ ดยที่ยังส่ือสาร อยู่ในระบบเครือขา่ ย

รูปแบบการเชอ่ื มต่อของระบบเครือข่ายไร้สายจะมี 2 รปู แบบ ดังน้ี

• การเชื่อมต่อเครื่องต่อเครื่อง (Peer-to-peer)

แหลง่ ที่มา https://sites.google.com/

รปู แบบการเชื่อมต่อระบบแลนไรส้ ายแบบ Peer to Peer เป็นลกั ษณะ การเชอ่ื มตอ่ แบบโครงขา่ ยโดยตรง ระหว่างเครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ จำนวน 2 เครือ่ งหรอื มากกว่าน้ัน เป็นการใชง้ านรว่ มกนั ของ wireless adapter cards โดยไมไ่ ดม้ ีการเชอื่ มตอ่ กับเครือข่ายแบบใช้สายเลย โดยทเี่ ครอื่ งคอมพวิ เตอร์แตล่ ะเครื่องจะ มีความเทา่ เทยี มกนั สามารถทำงานของตนเองได้และขอใชบ้ ริการเครื่องอื่นได้ เหมาะสำหรบั การนำมาใช้งาน เพือ่ จดุ ประสงค์ในดา้ นความรวดเรว็ หรือตดิ ตั้งไดโ้ ดยงา่ ยเม่ือไม่มโี ครงสร้างพ้นื ฐานท่ีจะรองรบั ยกตัวอย่างเช่น ในศนู ยป์ ระชมุ , หรือการประชมุ ท่จี ดั ขึ้นนอกสถานท่ี

14

• Infratruture หรอื Distribution system

แหลง่ ทม่ี า https://sites.google.com/

Infratruture หรอื Distribution system เปน็ ลักษณะการรับสง่ ขอ้ มลู โดยอาศยั Access Point (AP) หรือเรียกว่า “Hotspot” ทำหน้าทเ่ี ป็นสะพานเช่ือมต่อระหว่างระบบเครือข่ายแบบใชส้ ายกบั เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ลูกขา่ ย (client) โดยจะกระจายสัญญาณ คล่นื วทิ ยเุ พื่อ รับ-สง่ ข้อมลู เป็นรัศมีโดยรอบ เคร่อื ง คอมพิวเตอร์ทีอ่ ยู่ในรัศมีของ AP จะกลายเปน็ เครอื ขา่ ยกลุ่มเดียวกันทันที โดยเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ จะ สามารถติดต่อกนั หรือติดต่อกับ Serverเพื่อแลกเปลย่ี นและคน้ หาข้อมูลได้ โดยตอ้ งติดต่อผา่ นAP เท่าน้นั ซึ่ง AP 1 จดุ สามารถให้บริการเครอ่ื งลกู ขา่ ยไดถ้ งึ 15-50อปุ กรณ์ ของเครือ่ งลูกขา่ ย เหมาะสำหรับการนำไป ขยายเครือขา่ ยหรือใชร้ ว่ มกบั ระบบเครือ ขา่ ยแบบใช้สายเดิมในออฟฟิต,หอ้ งสมดุ หรือในหอ้ งประชมุ เพื่อ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการทำงานให้มากข้ึน

15

5.7 ขอบเขตรัศมีของเครอื ขา่ ยไรส้ าย (Wireless Networking Range)

หากว่ากนั ไปแลว้ ขอบเขตรัศมขี องอาณาบริเวณท่ีคลนื่ สญั ญาณไรส้ ายสามารถครอบคลุมไปถึงนนั้ ยากต่อการกาํ หนดใหช้ ัดเจนลงไปได้ ตัวอยา่ งเชน่ เครือข่ายไร้สายจะครอบคลุมอาณาบรเิ วณประมาณ 150 ฟุต เปน็ ต้น แต่ความจริงแล้ว รศั มีท่ีสัญญาณไรส้ ายสามารถครอบคลุมไปถึงนัน้ มีปัจจัยท่ีเข้ามาเกย่ี วข้อง มากมาย เชน่ บริเวณไรส้ ่งิ กีดขวาง ก็จะมีรัศมีของสญั ญาณครอบคลุมไดร้ ะยะไกล แตห่ ากบรเิ วณนัน้ มตี ึก อาคาร ซ่ึงเปน็ คอนกรีต ก็จะสง่ ผลให้สัญญาณลดทอนลงไป ทําให้สัญญาณครอบคลมุ ระยะทางที่ไม่ไกลมากนกั อย่างไรก็ตาม เราก็ยงั สามารถใชอ้ ุปกรณ์อยา่ งบริดจ์ (Bridging Access Point) ทีน่ ํามาใช้สาํ หรับเช่ือมโยง เครอื ข่าย 2 เครอื ขา่ ยข้นึ ไปเข้าดว้ ยกัน เพ่ือยืดระยะทางให้สามารถมีขอบเขตรศั มีทไี่ กลย่ิงขน้ึ ได้ ซ่ึงเปน็ ไปดัง รปู ท่ี 5.9 และยทู ิลิต้ซี อฟต์แวร์ทน่ี าํ มาใช้ทดสอบกาํ ลงั สง่ ของคล่นื สญั ญาณภายในบริเวณนั้นๆ วา่ มีกําลงั สง่ แรง ดหี รอื ไม่ ซ่ึงแนวทางดังกล่าวกม็ ักนยิ มนํามาใชเ้ พือ่ ตรวจสอบกาํ ลงั สง่ ของคลนื่ สัญญาณตามบรเิ วณต่างๆ

แหล่งทมี่ า http://www.sysnetcenter.com/board/index.php?topic=29.0

แหลง่ ท่ีมา http://signalking.in.th

16

5.8 Wi-Fi

ในชว่ งแรกๆ ของการใชง้ านเครือข่ายแลนไร้สาย ยังไมพ่ บปัญหามากมายเกยี่ วกับผลิตภัณฑ์และ อปุ กรณ์ท่ีมา จากแหลง่ ผลติ มากมายหลากหลายวา่ เมอื่ ลูกค้าได้ซ้ือผลติ ภัณฑ์ไปใชง้ าน จะรับประกันได้อย่างไร ว่าจะ สามารถส่อื สารรว่ มกนั ได้ ดังน้ันจงึ เป็นท่ีมาของการรวมกลุ่มผผู้ ลิตเพื่อตัง้ เป็นองค์กรในนาม “พันธมติ ร Wi-Fi (Wi-Fi Alliance)” ทีป่ ระกอบไปดว้ ยบรษิ ัททีเ่ ขา้ รว่ มเป็นสมาชิกกวา่ 175 แหง่ และเป็นองค์กรทีไ่ ม่ แสวงหา ผลกําไร ทมี่ ุ่งความสนใจใน 3 เร่อื งหลกั ๆ คือ 1) เทคโนโลยีมาตรฐาน 802.11 2)

การพัฒนาWLAN และ 3) การนําไปใชง้ าน องคก์ ร IEEE เปน็ ผู้สร้างมาตรฐานขน้ึ มา แต่ก็ไมไ่ ด้มี หน้าทีใ่ นการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ พนั ธมติ ร Wi-Fi จึงอาสาเข้ามาตรวจสอบการใช้งานผลิตภณั ฑ์ท่ีออกแบบมา ภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.11 นอกจากจะ สนับสนุนเทคโนโลยเี ครอื จา่ ยไรส้ ายตามมาตรฐาน 802.11 แล้ว ยงั มีการผลกั ดนั ใหใ้ ช้งานทัว่ โลก ไม่ว่าจะเปน็ กลมุ่ ผใู้ ช้ตามบา้ นพักอาศยั หรือองคก์ รธุรกิจ โดยผลติ ภณั ฑ์ เครือข่ายท่ีไดร้ ับการทดสอบและรับรองโดย Wi-Fi Alliance จะได้รบั ตราสญั ลักษณโ์ ลโก้ Wi-Fi เพอ่ื รบั ประกนั ว่าอุปกรณ์เหลา่ นีส้ ามารถนํามาใช้ งานร่วมกันได้ และสร้างความมน่ั ใจให้กับลูกคา้ ท่ีซอ้ื ผลิตภณั ฑ์ ดงั กล่าวไปใชง้ าน

แหลง่ ทม่ี า http://www.activtelecom.co.uk/wifinetworks/

ในยุคแรกๆ ของการใช้อุปกรณ์เครอื ข่ายไร้สายตามมาตรฐาน 802.11 ท่ีไม่ไดถ้ ูกรับรองโดย Wi-Fi ส่งผลใหผ้ ลิตภัณฑท์ ีม่ าจากผผู้ ลติ ท่มี าจากผู้ผลิตแตกตา่ งกัน อาจไม่สามารถใช้งานรว่ มกนั ได้ และแตเ่ ดมิ น้นั Wi-Fi มงุ่ ความสนใจอยบู่ นเทคโนโลยีทีอ่ ้างอิงถึงผลิตภณั ฑ์ทีอ่ ้างอิงผลิตภณั ฑ์ตามมาตรฐาน 802.11b เป็น สาํ คัญ แต่ปัจจุบนั ได้ขยายเพ่ิมเตมิ ดว้ ยการครอบคลุมผลติ ภณั ฑ์ตามมาตรฐานของ 802.11 ทง้ั หมด นอกจากน้ี แลว้ Wi-Fi ยงั มีส่วนรว่ มในการพฒั นาแอพพลเิ คชัน่ เพ่ือใชง้ านบนเครอื ขา่ ยไรส้ าย เช่น การเข้ารหัสลบั WPA ซงึ่ ได้กลา่ วไปแลว้ ข้างตน้ รวมถึง WISPr (Wireless Internet Service Provider Roming) ซง่ึ อา่ นออกเสียง วา่ “Whisper” ด้วยการสง่ เสรมิ ให้บรษิ ทั ISP เปดิ บริการอินเทอรเ์ น็ตไร้สายไปยงั จุดสนใจตามพืน้ ท่ีต่างๆ เช่น การตดิ ตง้ั Wi-Fi ฮอตสปอต ตามจดุ สาํ คญั ต่างๆ หรอื แหล่งธุรกิจ เป็นตน้ ฮอตสปอต

17

(Hot Spots) เป็นคาํ ทว่ั ไปที่ใชก้ บั สถานท่ีในบริเวณเฉพาะ ทเ่ี ปิดบริการเครือขา่ ยไรส้ าย เพื่อบริการ แกล่ กู ค้า ตามจุดที่แอกเซสพอยตส์ ามารถสง่ สัญญาณเพ่ือเชอื่ มตอ่ ไรส้ ายได้ โดยปกตมิ กั นาํ ฮอตสปอตไปใช้ งานตามจดุ พ้ืนท่ีสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งธุรกิจ หา้ งสรรพสนิ คา้ และโดยทั่วไปการใช้งาน จะถกู จํากดั บริเวณเพอ่ื เตรียมไว้สาํ หรบั ใหบ้ รกิ ารลูกค้าในร้านโดยเฉพาะ พิจารณาจากรูปท่ี 9.18 ต่อไปนซี้ ึ่ง เปน็ ฮอตปอต ภายในรา้ นกาแฟ แต่อย่างไรก็ตาม ในปจั จบุ นั ฮอตสปอตบางพนื้ ที่ ได้เปิดใหใ้ ช้บริการฟรี โดยไม่ เสียคา่ ใช้จ่าย

แหลง่ ท่มี า http://wifi.hong-pak.com/

5.8 มาตรฐานเครือขา่ ยแลนไร้สาย (Wireless LAN Standards)

ในทํานองเดียวกนั กบั เทคโนโลยเี ครือขา่ ยอื่นๆ เทคโนโลยีเครือขา่ ยไรส้ ายก็จะต้องมีมาตรฐานที่ ชัดเจน เพื่อรองรับ และมาตรฐาน IEEE 802.11 ถือเป็นมาตรฐานของเครือขา่ ยไรส้ ายท่ีกระจายสเปกตรมั (SpreadSpectrum) ด้วยคล่ืนวทิ ยุในการสื่อสารที่หลายย่านความถ่ี โดยรากฐานของเทคโนโลยี 802.11 จะ ใช้ คลืน่ วิทยุในการแพร่สญั ญาณบนย่านความถ่ี 2.5 GHz ยกเว้นเพยี งแต่มาตรฐาน 802.11a เทา่ นนั้ ทใี่ ช้ ย่าน ความถี่ท่ี 5 GHz สาํ หรับ WLAN ตามมาตรฐาน 802.11 ได้ขยายออกมาเปน็ กลมุ่ ย่อยตามมาตรฐาน ตา่ งๆ ซง่ึ เป็นไป

ตารางที่ 5.1 มาตรฐานเครอื ข่ายไร้สายของ IEEE 802

IEEE Standard RF Band Speed 802.11 Infrared (IR) or 2.4 GHz 1 Mbps or 2 Mbps 802.11 a 5 GHz 54 Mbps 802.11 b 2.4 GHz 11 Mbps 802.11 g 2.4 GHz 54 Mbps 802.11 n 5 GHz 100 Mbps

18

802.11 เปน็ มาตรฐานด้งั เดมิ ท่ีในปจั จุบันค่อนข้างหายากแล้ว อปุ กรณ์เครือข่ายไรส้ ายท่ีใชง้ านบนมาตรฐาน 802.11 น้นั จะมีความเร็วสงู สุดเพียง 2 Mbps และจาํ กดั ระยะทางประมาณ 150 ฟุต อย่างไรก็ตาม 802.11 ก็ ได้ใช้ยา่ นความถ่ี 2.4 GHz ทีม่ าตรฐานปัจจุบันกย็ ังคงใช้ย่านความถน่ี ้ีอยู่ รวมถงึ ระบบความปลอดภัยที่ใช้ก็ จะ มที ้ังการเข้ารหสั ลบั ดว้ ยวิธี WEP และ WPA 802.11b มาตรฐานนี้เปิดตัวเพื่อใชง้ านเมอ่ื ราวปี ค.ศ. 1999 โดยจดั เปน็ มาตรฐานท่ีไดร้ บั ความนยิ มสงู และ ยอมรับในท่ัวโลก ดังน้นั จึงมีการใชง้ านอย่างแพร่หลาย มาตรฐาน 802.11b ถูกรับรองโดย Wi-Fi โดยมี ความเรว็ ในการรับสง่ ข้อมลู ท่ี 11 Mbps ทยี่ ่านความถ่ี 2.4 GHz ขอ้ ดีของมาตรฐานน้ีก็คือ คลื่นความถ่ดี งั กลา่ ว จะมีอุปกรณห์ ลายชนดิ ดว้ ยกนั ทีใ่ ชง้ านอยู่ โดยเฉพาะ โทรศพั ท์ไร้สาย รวมถึงระยะทางในการรับส่งข้อมูล ครอบคลมุ ค่อนขา้ งไกล ทําให้ไมส่ นิ้ เปลอื งอุปกรณแ์ อก เซสพอยต์ทีใ่ ช้เป็นจดุ รบั ส่งสัญญาณ 802.11a เปิดตัวใช้งานเมอื่ ราวปี ค.ศ. 2001 เปน็ มาตรฐานทใี่ ช้ย่าน ความถ่ี 5 GHz ข้อดขี องมาตรฐานนกี้ ็คือ มี ความเรว็ สูงถงึ 54 Mbps ส่วนขอ้ เสียกค็ ือปัญหาเรื่องข้อกฎหมาย คลน่ื ความถ่ีสูงในระดับ 5 GHz ซ่ึงในบาง ประเทศอนุญาตใหใ้ ชเ้ ฉพาะคลื่นความถต่ี ่าํ เท่านั้น เชน่ ประเทศ ไทยไม่อนุญาตให้นาํ เขา้ และนํามาใช้งาน เนอื่ งจากไดม้ ีการจัดสรรคล่ืนความถยี่ ่านน้เี พอ่ื ใช้กับกจิ การอน่ื ก่อน แลว้ อยา่ งไรก็ตาม เครือขา่ ยไร้สาย ตาม มาตรฐาน 802.11a นั้นจะไม่สามารถ

นํามาใช้งานรว่ มกนั กับเครือข่ายไร้สายตามมาตรฐาน 802.11b และ มาตรฐาน 802.11g 802.11g เปดิ ตัวเพอื่ ใช้งานเมื่อราวปี ค.ศ. 2003 เป็นเทคโนโลยที ี่ได้ปรบั ปรงุ ความเร็วใหม้ กี ารส่งข้อมลู สงู ถึง 54 Mbps และเป็นเทคโนโลยที ่สี ามารถนาํ มาใชง้ านรว่ มกันกับมาตรฐาน 802.11b ได้ เนอ่ื งจากใช้คล่ืนความถ่ีท่ี 2.4 GHz เหมอื นกัน ดังนนั้ จงึ เปน็ มาตรฐานที่กาํ ลงั ไดร้ บั ความนิยมในปัจจบุ ัน 802.11n สาํ หรบั มาตรฐาน 802.11n น้ันได้พฒั นาความเร็วดว้ ยการเพิ่มทรูพตุ ของมาตรฐาน 802.11 ให้มี ความเร็วสูงขน้ึ ถงึ 100 Mbps ถึงแม้วา่ มาตรฐานนยี้ งั ไม่เสร็จสมบรู ณใ์ นเวลานี้ แต่การรบั ส่งขอ้ มลู จะอยู่ใน ยา่ น ความถี่ 5 GHz ดงั นนั้ จงึ มคี วามเขา้ กนั ไดก้ บั มาตรฐาน 802.11a

แหลง่ ทมี่ า http://blog.irrashai.com/blog/tag/ieee/

19

5.9 ประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายไร้สาย

1. mobility improves productivity & service มีความคล่องตวั สูง ดงั นนั้ ไม่วา่ เราจะเคล่ือนท่ีไปท่ี ไหน หรือเคลอ่ื นย้ายคอมพิวเตอรไ์ ปตําแหน่งใด กย็ ังมกี ารเชื่อมตอ่ กบั เครือข่ายตลอดเวลา ตราบใดท่ยี ังอยูใ่ น ระยะการสง่ ข้อมูล

แหล่งท่ีมา http://www.cisco.com/web/solutions/trends/unified_workspace/index.html

2. Installation speed and simplicity สามารถติดตัง้ ไดง้ ่ายและรวดเรว็ เพราะไมต่ ้องเสยี เวลา ติดต้งั สาย เคเบิล และไมร่ กรงุ รัง

แหลง่ ทมี่ า www.comnetsite.com 3. Installation flexibility สามารถขยายระบบเครอื ข่ายไดง้ ่าย เพราะเพียงแค่มี พีซีการด์ มาตอ่ เข้า กบั โนต๊ บ๊คุ หรือพีซี ก็เข้าสเู่ ครือข่ายไดท้ นั ที 4. reduced cost- of-ownership ลดค่าใชจ้ า่ ยโดยรวม ท่ีผู้ลงทนุ ตอ้ งลงทนุ ซึ่งมีราคาสูง เพราะใน ระยะ ยาวแล้ว ระบบเครอื ข่ายไร้สายไมจ่ ําเป็นต้องเสยี คา่ บํารุงรกั ษาและการขยายเครือขา่ ยกล็ งทนุ นอ้ ย กว่าเดิม หลายเท่า เนือ่ งด้วยความง่ายในการตดิ ต้ัง

20

5. scalability เครือขา่ ยไรส้ ายทาํ ให้องค์กรสามารถปรับขนาดและความเหมาะสมได้ง่ายไมย่ งุ่ ยาก เพราะ สามารถโยกยา้ ยตําแหน่งการใช้งานโดยเฉพาะระบบที่มกี ารเช่ือมระหวา่ งจุดต่อจุด เชน่ ระหว่างตกึ

แหลง่ ทมี่ า : http://www.mitclub.net ระบบเครือข่ายไร้สาย เป็นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรข์ นาดเล็ก ทปี่ ระกอบไปด้วยอุปกรณไ์ ม่มาก นกั และมักจํากดั อย่ใู นอาคารหลังเดียวหรอื อาคารในละแวกเดยี วกนั การใช้งานทีน่ ่าสนใจทส่ี ุดของเครอื ขา่ ย ไร้ สายก็คือ ความสะดวกสบายท่ไี มต่ ้องติดอยู่กบั ท่ี ผใู้ ชส้ ามารถเคลือ่ นที่ไปมาไดโ้ ดยทีย่ งั สือ่ สารอยู่ในระบบ เครอื ข่าย

21

บรรณาณุกรม

- พ้ืนฐานเครือข่ายแลนไร้สาย https://sites.google.com/

- อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นเครือข่ายไร้สาย

http://nutthakan1997.blogspot.com/p/1.html

- วธิ ีการเช่ือมต่อเครือขา่ ยไร้สาย https://www.dol.go.th/it/Pages/

- ระบบความปลอดภยั บนเครือขา่ ยไร้สาย

https://www.itgenius.co.th/article/%E0%B8%81