ว ฒนาพาน ช ก วยเต ยวเน อต น.ม ก สาขา

1.1 การเปรยี บเทยี บคา่ เฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นเรียนกับหลงั เรยี นของนกั เรยี นผา่ น การ

จัดการเรยี นการสอนแบบ Active learning ร่วมกบั การใช้ Google Workspace ได้ผลการทดสอบก่อนเรยี น มี

คา่ เฉลยี่ เท่ากับ 10.97 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.404 ส่วนผลการทดสอบหลังเรยี นมคี า่ เฉลยี่ เท่ากบั 27.39

ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.803 และจากการทดสอบดว้ ยสถติ ิ t พบวา่ คะแนนเฉลีย่ หลังเรียนสูงกวา่ ก่อน

เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05 (t = 72.419) เป็นไปตามสมมตฐิ านข้อที่ 1

1.2 คา่ ความพงึ พอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning ร่วมกบั การใช้ Google Workspace ในระดบั มาก และจากตารางพบวา่ ค่าเฉลีย่ ความพึงพอใจของกล่มุ ตัวอย่าง มีคา่ อยรู่ ะหว่าง 3.51 – 4.50 โดยมีค่าเฉลีย่ รวมทงั้ หมด เทา่ กบั 4.16 อยใู่ นระดับมาก เป็นไปตามสมมตฐิ านข้อ 2

บทท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา

ความเจรญิ กา้ วหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ ของโลกในยุคปัจจุบนั สง่ ผลต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ เศรษฐกิจของนานาประเทศ รวมทั้งประเทศไทยด้วย การศึกษานับว่าเป็นรากฐานสำคัญที่สุดในการสร้างสรรค์ ความเจริญก้าวหน้าและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคม เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยให้คนได้พัฒนา ตนเองตลอดช่วงชีวิต ประเทศชาติใดมีประชาชนที่มีการศึกษาสูง ย่อมมีความหวังในการพัฒนาประเทศอย่างมี สันติ (สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ. 2546 : 3) นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554) ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรับเปลี่ยนจุดเน้นในการพัฒนา คุณภาพคนในสังคมไทยให้มีคุณธรรม และมีความรอบรู้อย่างเท่าทัน ให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนา คนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนให้มีพื้นฐานจิตใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะ และ ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน (กระทรวงศึ กษาธิการ 2551 : 2) ซงึ่ แนวทางดงั กลา่ วสอดคลอ้ งกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ในการพฒั นาเยาวชนของชาติ โดย มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ ื่น และสามารถอยรู่ ่วมกับผู้อน่ื ในสังคมโลกไดอ้ ย่างสันติ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ี เน้นการเช่ือมโยงความรู้กบั กระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้า และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการใน การสืบเสาะหาความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลายให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทำ กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลายเหมาะสมกับระดับชั้น รูปแบบการสอนโดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบการสอน ที่เน้นให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ครูไม่ต้องอธิบายหรือบรรย าย เน้ือหาให้นักเรยี นฟัง แตจ่ ะใช้คำถามเพอ่ื นำไปสู่พฤติกรรมของนักเรยี นในการปฏบิ ัติกจิ กรรมต่าง ๆ การเรียนรู้โดย ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถือเป็นหัวใจสำคัญย่ิงของการเรียนวิทยาศาสตร์ เพราะทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์เอื้อให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุดวิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญในสังคม โลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการดำรงชีวิตและในงานอาชีพ วิทยาศาสตร์ทำให้คนได้พัฒนาวิธคี ิดและมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ จากการสอบถามและ การสังเกตจากพฤติกรรมของนักเรียน ทุกคนจึงจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะมีความรู้ ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถนำความรู้ไปใช้อย่างมีเหตุผล สร้างสรรค์ และมีคุณธรรม (สำนกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2551 : 1) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ การศึกษาด้านวทิ ยาศาสตร์ เพราะในชีวิตประจำวันเราทุกคนต้องเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดไม่ทางใดก็ทางหนึ่งซึ่งเป็น เครอื่ งมือชว่ ยให้มนุษย์สะดวกสบายมีคณุ ภาพชีวิตที่ดีขึ้น นอกจากน้ยี งั มีบทบาทสำคญั ยิง่ ต่อการพัฒนาประเทศให้ เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วหลักสูตรวิทยาศาสตร์จึงเป็นหลักสูตรที่ได้รับความสนใจมาตลอด ซึ่งถือว่ามี

ความสำคัญมากเนื่องจากความต้องการของประเทศท่ีมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ประเทศจงึ ต้องการประชากร ท่ีมที ักษะ มีความรู้ และสามารถตัดสินใจได้อย่างมีเหตผุ ลโดยใช้ความรูท้ างเทคโนโลยบี างอย่าง

ในยคุ ศตวรรษที่ 21 โลกมคี วามเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเนื่องมาจากการใชเ้ ทคโนโลยีเช่ือมโยงข้อมูล ต่าง ๆ ของทุกภูมิภาคของโลกเข้าด้วยกัน คนทุกมุมโลกไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ใช้คอมพิวเตอร์เป็น และไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ (มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2559) การเปน็ ปัจเจกบุคคล และการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทง้ั ข้อมูลที่ดีและข้อมูลไม่ดีทร่ี วดเรว็ เหล่านส้ี ่งผลต่อวิถีการดำรง ชพี ของสังคมอย่างทัว่ ถงึ ทกั ษะการร้เู ทา่ ทันเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT Literacy) และทกั ษะด้านความร่วมมือการ งานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) จึงมีสำคัญและจำเป็นที่จะต้อง พัฒนาความสามารถของแต่ละบุคคลในการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัลและเครื่องมือการส่ือสาร เพ่อื ใหบ้ ุคคลสามารถการ จดั การ เช่ือมโยง การประเมิน ลำดับเนอ้ื หาและส่ือสารไดด้ ีขนึ้ และใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการทำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยสามารถผสมผสานความรูท้ ุกสาขาวิชารวมถึงทักษะการเรียนรู้และการใช้ชีวิต เกิดความร่วมมือ กันทำงานหรือศึกษาหาความรู้ สำหรับมุมมองทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 คอมพิวเตอร์จะเป็นเครื่องมือหลัก สำคัญสำหรับผู้สอนเพื่อเข้าถึงทรัพยากรการเรียน การเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ การมอบหมายงาน และ ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครอง ผู้สอนจึงตอ้ งมีความตื่นตัวและเตรยี มพร้อมในการจัดการเรยี นรู้เพือ่ เตรียมความพร้อม ให้ผู้เรียนมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชีวิตในโลกในศตวรรษท่ี 21 แอพพลิเคชั่น“Google classroom” ซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของ Google Apps for Education จึงเป็นเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกด้านการศึกษา เพิ่ม ประสิทธิภาพการทำงานเพื่อให้ผู้สอนมีเวลาที่ติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนมากขึ้น ในขณะเดียวกันผู้เรียนมีเวลาค้นหา ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้มากขึ้นด้วยเช่นกัน เนื่องจากเป็นชุดเครื่องที่มีการผสานรวมแอพพลิเคชั่นของ Google ไว้ หลากหลาย อาทิ Google Doc, Google drive, Google slide และ Gmail ไวด้ ้วยกนั ผสู้ อนจึงสามารถสร้างและ รวบรวมงานโดยไม่ต้องสิ้นเปลืองกระดาษ และใช้งานน้ันในชัน้ เรียนต่าง ๆ โดยสามารถเลอื กวา่ จะให้ผู้เรียนทำงาน อย่างไรทำเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล เพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียน และผู้สอนสามารถติดตาม งานได้ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นให้คำแนะนำแก่ผู้เรียนแต่ละคนได้ตลอดเวลาแม้จะไม่ได้อยู่ในห้องสอนและ ผู้เรียนสามารถดูงานของชั้นเรียนที่กำลังทำอยู่และที่ทำเสร็จแล้ว แสดงความเห็น ปรับเปลี่ยนและทำงานร่วมกัน เป็นทีม มองเห็นภาวะผู้นำและผู้ตามของผู้เรียนในชั้น ที่สำคัญผู้สอนสามารถวัดประเมินชิ้นงานตามสภาพจริง สามารถดคู ะแนนท้ังหมดของงาน ส่วนผู้เรียนสามารถดคู ะแนนของตนเองสำหรบั งานท่ที ำเสร็จแลว้ ได้ รปู แบบการ เรียนรู้แบบออนไลน์ ถือเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนแบบเดิมที่นั่งเรียนในชั้นเรียน แต่ เป็นการเรียนรู้บนฐานเทคโนโลยี (Technology–based learning) ซึ่งจะครอบคลุมวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย รปู แบบ

ดว้ ยสภาพปญั หาดงั กล่าวขา้ งตน้ ผู้วจิ ยั จงึ สนใจสรา้ งนวตั กรรมเรื่อง การพัฒนาทกั ษะการสอนแบบ Active

learning ร่วมกับการใชเ้ ทคโนโลยแี ละสอื่ ออนไลน์ ในการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ โรงเรยี น

ชำนาญสามัคคีวิทยา ทำให้นักเรียนได้เรียนรู้หลักการ แนวคิด และทฤษฎีได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ได้องค์ความรู้ที่จะ

นำไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนต่อไปได้ และเป็นการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นการ

เรียนรบู้ นฐานเทคโนโลยี (Technology–based learning) เพอื่ ใหน้ ักมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์ที่ สงู ขนึ้

วตั ถุประสงคข์ องการวิจัย 1. เพ่อื เปรยี บเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ระหวา่ งก่อนเรียนและหลงั เรียน ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ โดย

การสอนแบบ Active learning รว่ มกบั การใช้ Google Workspace 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning ร่วมกับการใช้ Google

Workspace

สมมติฐานของการวจิ ัย 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียนชำนาญสามัคคีวิทยา หลังเรียนโดยใช้วิธีการจัดการเรียน

การสอนแบบ Active learning ร่วมกบั การใชเ้ ทคโนโลยีและส่อื ออนไลน์ สูงกว่ากอ่ นเรียน 2.ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning ร่วมกับการใช้ Google Workspace

อยู่ในระดับ มาก

ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 1.1 ประชากรนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาช้นั ปที ี่ 6 จำนวน 111 คน 1.2 กล่มุ ตวั อย่าง นักเรียนช้ัน ม.6/1 จำนวน 37 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง 2. ตัวแปรที่ศกึ ษา 2.1 ตัวแปรอสิ ระ ไดแ้ ก่ การสอนแบบ Active learning รว่ มกับการใช้ Google Workspace 2.2 ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียน ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการ สอนแบบ Active learning 3. เนื้อหาทีใ่ ชใ้ นการวิจัย 1. การจัดการเรียนรู้ด้วยรปู แบบการสอน Active Learning จงึ เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด

การสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียน สามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการ เรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการ คิดขน้ั สูง กลา่ วคอื ผ้เู รยี นมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากส่ิงที่ได้รบั จากกจิ กรรมการเรียนรู้ ทำ

ให้การเรียนรเู้ ป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้อย่างมีประสิทธภิ าพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)

ลกั ษณะของการจดั การเรียนการสอนแบบ Active Learning เปน็ ดงั นี้ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2553) 1. เป็นการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา และการนำความรู้ไป ประยุกต์ใช้ 2. เป็นการเรยี นการสอนทเ่ี ปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนร้สู ูงสดุ 3. ผเู้ รยี นสรา้ งองค์ความร้แู ละจัดกระบวนการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนทั้งในด้านการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน รว่ มมอื กันมากกว่าการแข่งขนั 5. ผู้เรียนเรยี นรคู้ วามรบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมวี ินยั ในการทำงาน และการแบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ 6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ให้ผูเ้ รียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จัดระบบการ เรียนรดู้ ้วยตนเอง 7. เป็นกจิ กรรมการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ทกั ษะการคิดขั้นสงู 8. เปน็ กิจกรรมที่เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลขา่ วสาร หรอื สารสนเทศ และหลักการความคดิ รวบ ยอด 9. ผู้สอนจะเป็นผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ ให้ผ้เู รียนเปน็ ผูป้ ฏิบตั ดิ ้วยตนเอง 10. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรุปทบทวนของผู้เรียน บทบาทของอาจารย์ผู้สอนในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามแนวทางของ Active Learning ดงั นี้ (ณัชนัน แก้วชัยเจริญกิจ, 2550) จัดให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน กิจกรรมต้องสะท้อนความต้องการใน การพัฒนาผู้เรียนและเนน้ การนำไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ จรงิ ของผูเ้ รยี น 1. สรา้ งบรรยากาศของการมสี ว่ นร่วม และการเจรจาโต้ตอบท่ีส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนมปี ฏสิ มั พันธท์ ี่ดี กับผสู้ อนและเพ่อื นในชน้ั เรียน 2. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้เป็นพลวัต ส่งเสริมให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมรวมท้ัง กระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ 3. จดั สภาพการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื สง่ เสรมิ ให้เกดิ การร่วมมือในกล่มุ ผเู้ รยี น 4. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และให้โอกาสผู้เรียนได้รับวิธกี ารสอนท่หี ลากหลาย 5. วางแผนเก่ยี วกับเวลาในจัดการเรียนการสอนอยา่ งชัดเจน ท้ังในส่วนของเนอื้ หา และกจิ กรรม 6. ครผู ูส้ อนตอ้ งใจกว้าง ยอมรับในความสามารถในการแสดงออก และความคดิ เของทผ่ี เู้ รียน

2. เครือข่ายสงั คมออนไลน์ ใช้ดำเนินงานหรือกิจกรรมตา่ งๆ โดยมีบุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ร่วมกันเปน็ เครือข่ายเพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน แลกเปลี่ยน แบ่งปันทรัพยากร ข้อมูลข่าวสาร ฯลฯ ผ่านอินเทอร์เน็ต โดย เว็บไซต์ทใี่ หบ้ ริการเครือขา่ ยสังคมออนไลนส์ ามารถ แบง่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม (สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่

1. กลมุ่ เวบ็ ไซตเ์ ผยแพร่ “ตวั ตน” ตวั อยา่ ง myspace.com, facebook.com เป็นต้น 2. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” เช่น YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr.com, Multiply.com เปน็ ตน้ 3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking ไดแ้ ก่ Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็นตน้ 4. กลุ่มเวบ็ ไซต์ทใ่ี ชส้ ำหรบั การทำงานรว่ มกนั เปน็ กลุ่ม การทำงานเครอื ข่ายสงั คมออนไลน์ ทีเ่ ปดิ โอกาส ให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานำเสนอ ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ไดแ้ ก่ WikiPedia จากท่ีกล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่าง ต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ในการใช้งานในด้านต่างๆ และสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว มากย่ิงขน้ึ 4.ระยะเวลาที่ใชใ้ นการวจิ ัย เรมิ่ ต้นวนั ที่ 1 ธันวาคม 2564 สนิ้ สุดวนั ท่ี 31 มีนาคม 2565

นยิ ามคำศัพทเ์ ฉพาะ 1. ผลสมั ฤทธ์ิการเรยี นของผู้เรียน หมายถงึ ผลคะแนนทไ่ี ดจ้ ากการทดสอบด้วยเคร่ืองมือ แบบทดสอบ

ที่ครูผู้สอนจัดทำขึ้นโดยยึดตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในรายวิชาฟิสิกส์ 3 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์

2. การจัดการเรยี นร้ดู ้วยรูปแบบการสอน Active Learning หมายถึง กระบวนการจัดการเรยี นร้ตู าม แนวคดิ การสรา้ งสรรค์ทางปัญญา (Constructivism)

3. Google Workspace หมายถงึ บรกิ ารอกี อยา่ งหน่ึงจาก Google เป็นชดุ แอปพลิเคชันที่ใช้สำหรบั บริหารจัดการองค์กร เพ่อื การทำงานร่วมกันอย่างเต็มรูปแบบ เหมาะกับธุรกิจทกุ ขนาด ไมว่ า่ จะขนาดเล็ก ขนาด กลาง หรือขนาดใหญ่ โดยจะมแี อปพลิเคชนั ท่เี หมาะสำหรับการทำงานตา่ งๆ มากมายให้เลอื กใชง้ าน ไม่วา่ จะเป็น

ประโยชน์คาดวา่ จะได้รบั

1. ทำให้ครูได้พัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์โรงเรียนชำนาญสามัคคีวิทยา โดยการจัดการ เรียนการสอนแบบ Active learning ร่วมกับการใช้เทคโนโลยแี ละสือ่ ออนไลน์

2. ทำให้ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นโรงเรยี นชำนาญสามัคคีวทิ ยาสงู ขึ้น

กรอบแนวคิดการวจิ ยั ตัวแปรตาม ตัวแปรตน้ /ตัวแปรอิสระ

การสอนแบบ Active learning รว่ มกับ -ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียน การใช้ Google Workspace -ความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรยี นการ -แผนการจัดการเรยี นรู้ -แบบทดสอบ

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

งานวิจัยเร่ือง การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าฟิสิกส์ โดยการสอนแบบ Active learning ร่วมกับ การใช้ Google Workspace โรงเรยี นชำนาญสามัคควี ิทยา ผวู้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ี เก่ียวขอ้ งดงั นี้

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1.1 ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 1.2 องค์ประกอบของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 1.3 ความหมายของการวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น

2. รปู แบบการจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning

1. ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

1.1 ความหมายผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ชวาล แพรัตกุล (2514, หน้า 15-17) ได้ใหค้ วามหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นว่า เป็น

ความสำเร็จในดา้ นความรู้ ทกั ษะ และสมรรถภาพด้านต่างๆ ของสมอง น่นั คือ สมั ฤทธิผลทางการเรียนควรจะ ประกอบด้วยส่ิงสำคัญอย่างน้อยสามสงิ่ คือ ความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพสมองตา่ ง ๆ ภพ เลาหไพบูลย์ (2542 :

  1. ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถึง พฤตกิ รรมทีแ่ สดงออกถึงความสามารถในการกระทำ สิง่ หน่งึ สง่ิ ใดได้ จากที่ไมเ่ คยกระทำหรอื เคยกระทำได้น้อยก่อนท่จี ะมีการเรียนการสอน

สนทยา เขมวิรตั น์ (2542 : 6) ไดใ้ ห้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ความรู้ หรอื ความสามารถของบคุ คลทีไ่ ดจ้ ากการเรยี นรู้และความสามารถ โดยสามารถนำไปใช้ในการแกป้ ัญหาหรอื ศึกษา ตอ่ เนือ่ งได้ ซึ่งผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสามารถวัดได้ด้วยแบบทดสอบผลสัมฤทธท์ิ ่ัวไป

สรุปไดว้ า่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถงึ ระดบั ความสามารถของบุคคลท่ีเกิดจากการ เรยี นรู้การฝึกฝน และสมรรถภาพทางสมองดา้ นต่าง ๆ ซ่ึงสามารถวัดไดจ้ ากแบบทดสอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

2. องคป์ ระกอบท่ีมอี ิทธพิ ลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ในกระบวนการเรยี นรู้ การท่ีผูเ้ รยี นจะมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงหรือตำ่ เพยี งใดนัน้

ยอ่ มข้ึนอยกู่ บั องค์ประกอบหลายประการ ดงั ท่นี ักจติ วทิ ยาและนกั การศึกษาได้กลา่ วไวด้ ังน้ี Bloom (อา้ งใน เรณู จันทร์กุย, 2538, หน้า 25) ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรยี นในโรงเรยี นว่า ตัวแปรที่มี

อิทธพิ ลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประกอบดว้ ย 3 ตัวแปรคอื

1. พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ความคดิ (Cognitive Entry Behaviors) หมายถึง ความรู้ ความสามารถและทักษะตา่ ง ๆ ของผู้เรยี นที่มมี าก่อน

2. คุณลกั ษณะทางจติ ใจ (Affective Entry Characteristics) หมายถงึ แรงจงู ใจทที่ ำให้ ผู้เรียนเกิดความอยากเรยี นรใู้ นสิ่งใหม่ ๆ ได้แก่ ความสนใจในวิชาที่เรียน เจตคติตอ่ เนื้อหาวิชาทีเ่ รียนและการยอมรับความสามารถของตนเอง เปน็ ต้น

3. คณุ ภาพการเรยี นการสอน (Quality of Instruction) ประสิทธิภาพการเรยี นการสอนที่ นกั เรยี นจะไดร้ ับ ไดแ้ ก่ คำแนะนำการปฏบิ ตั ิและแรงเสรมิ ของผู้สอนที่มตี อ่ ผู้เรยี น เป็นตน้

Klausmier (อ้างใน เรณู จนั ทร์กุย, 2538, หนา้ 27) ได้กล่าวถงึ องค์ประกอบทีม่ ีอิทธิพลต่อ ผล สมั ฤทธิท์ างการเรยี นวา่ นอกจากตวั นกั เรยี นเองและครูผสู้ อนแล้วยังมอี งค์ประกอบอ่ืน ๆ ท่มี อี ิทธิพลตอ่ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเชน่ บ้าน สง่ิ แวดลอ้ ม และการศึกษาส่วนตัวของนกั เรียน เป็นต้น คลอสไมร์ ไดเ้ สนอ รูปแบบขององค์ประกอบเหล่านี้ไว้ 6 ประการ คือ

1. คณุ ลกั ษณะของผู้เรยี น ได้แก่ ความพรอ้ มทางด้านสมอง ความพร้อมทางดา้ นสตปิ ัญญา ความพร้อมทางดา้ นรา่ งกายและความสามารถทางดา้ นทักษะของรา่ งกายคุณลักษณะทางจติ ใจ ซงึ่ ได้แกค่ วาม สนใจ แรงจงู ใจ เจตคติและค่านยิ ม สขุ ภาพ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ตนเอง ความเข้าใจในสถานการณ์ อายุ เพศ เป็น ตน้

2. คณุ ลักษณะของผสู้ อนได้แก่ สตปิ ญั ญา ความรู้ในวิชาที่สอน การพัฒนา ความรู้ ทักษะทาง รา่ งกาย คุณลักษณะของจติ ใจ สุขภาพ ความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง ความเขา้ ใจสถานการณ์ อายแุ ละเพศ เป็นตน้

3. พฤตกิ รรมระหวา่ งผูเ้ รียนและผสู้ อน ไดแ้ ก่ ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งการดำเนนิ การเรยี นการสอน ทง้ั หลาย กลา่ วคอื ปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ งความรู้ ความคิด วธิ กี ารทค่ี รนู ำมาสอนทักษะทางรา่ งกาย และการกระทำ ทางจิตใจและความรสู้ กึ เปน็ ตน้

4. คณุ ลักษณะของกลมุ่ ได้แก่ โครงสรา้ ง เจตคติ ความสามัคคี การเป็นผู้นำ เป็นตน้ 5. คุณลกั ษณะของพฤติกรรมเฉพาะตัว ไดแ้ ก่ การตอบสนอง เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ เป็นตน้ 6. แรงผลักดนั ภายนอก ได้แก่ บา้ น ส่งิ แวดล้อม อทิ ธิพลทางศิลปวัฒนธรรม เป็นตน้ นอกจากน้ี Presscott (อา้ งใน เรณู จนั ทร์กยุ , 2538, หนา้ 28) ยงั ได้ทำการศึกษาเด็ก ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลา 30 ปี เพ่ือศึกษาองคป์ ระกอบท่มี ีผลต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรยี นซ่งึ ปรากฏผล ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. องค์ประกอบทางด้านร่างกาย (Physical Factors) ไดแ้ กอ่ ตั ราการเจรญิ เตบิ โตของร่างกาย สุขภาพทางร่างกาย ข้อบกพร่องทางร่างกาย และลกั ษณะท่าทาง

2. องคป์ ระกอบทางด้านความรกั (Love Factors) ได้แก่ ความสัมพันธร์ ะหว่างบิดา มารดา ความสัมพันธร์ ะหว่างบิดามารดาและลกู ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งลูก ๆ และความสมั พนั ธร์ ะหว่างบุคคลภายใน ครอบครวั เดยี วกัน

3. องค์ประกอบทางด้านวัฒนธรรมและสังคม (Cultural and Socialization Factors) ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเป็นอยู่ของครอบครวั สภาพแวดลอ้ มทางบา้ น การอบรมทางบา้ นและฐานะทาง ครอบครัว

4. องคป์ ระกอบทางด้านความสมั พันธ์ในหมเู่ พ่ือนวยั เดียวกัน (Peer Group Factors) ได้แก่ ความสัมพนั ธ์ในหมเู่ พื่อนวยั เดยี วกนั ท้งั ทางบ้านและทางโรงเรียน

5. องค์ประกอบทางด้านการพัฒนาแห่งตน (Self-Development Factors) ได้แก่ สตปิ ัญญา ความสนใจ ทัศนคตขิ องนักเรียนทีม่ ตี ่อการเรียน

6. องคป์ ระกอบทางด้านการปรบั ตัว (Self-Adjustment Factors) ไดแ้ กป่ ญั หาในการปรับ ตน การแสดงออกทางอารมณ์

เรณู จันทร์กุย (2538, หน้า 28) กลา่ ววา่ องคป์ ระกอบที่มีอทิ ธพิ ลต่อผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ของนักเรยี นประกอบดว้ ย ลกั ษณะของตวั นกั เรยี นเอง ได้แก่ ความสนใจทัศนคตติ ่อสงิ่ ต่าง ๆ สตปิ ญั ญาและ สุขภาพเป็นตน้ สว่ นลักษณะทีเ่ ป็นสภาพแวดลอ้ มรอบตวั นักเรียน เชน่ ทีอ่ ยอู่ าศยั สถานท่เี รยี น เศรษฐกจิ ความ เอาใจใส่ของครูและผปู้ กครอง ความสมั พันธ์กับพ่ีน้อง ความสมั พันธก์ ับเพื่อน เป็นต้น องคป์ ระกอบเหลา่ นี้ ครหู รือ ครแู นะแนว ตลอดจนผู้ปกครองสามารถชว่ ยเสริมหรอื พัฒนาสภาพองคป์ ระกอบต่าง ๆของนักเรียนใหม้ ีสภาพท่ีดี ได้

สรปุ องค์ประกอบทีม่ ีอทิ ธิพลต่อผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนกั เรียนประกอบด้วย องค์ประกอบทางดา้ นรา่ งกายที่เก่ยี วกบั ดา้ นตวั เด็ก พันธกุ รรม องค์ประกอบทางดา้ นสงั คม สิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ มท่ีมีปฏสิ มั พันธ์กับตัวเด็ก ทัง้ นี้รวมไปถงึ ประสทิ ธิภาพทางการเรียนการสอนท่ีนักเรยี นจะไดร้ บั จาก หลักสูตรของโรงเรยี นและผสู้ อน ซงึ่ องค์ประกอบเหล่านี้จะรวมกันและมผี ลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รียน

3. ความหมายของการวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ( Achievement Test ) หมายถึง การวัดในดา้ นการเรียนร้ใู น

เร่อื งของความรู้ ความรสู้ กึ นึกคดิ หรือทัศนคติและทักษะดา้ นต่าง ๆ ทน่ี กั เรยี นไดร้ บั จากการอบรมส่งั สอนของครู (ตา่ ย เซยี่ งฉ,ี 2523, หน้า 64)

สำหรบั ไพศาล หวงั พานิช (2526, หน้า 89) กล่าววา่ “ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น”หมายถึง ความสามารถของบคุ คลอนั เกิดจากการเรียนการสอน เป็นการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรยี นรู้ ทีเ่ กิดจากการฝึกฝนอบรมหรือจากการสอน

สุรชยั ขวัญเมือง (2522 : 232) กล่าวว่า การวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง การ ตรวจสอบดวู า่ ผูเ้ รียน ไดบ้ รรลถุ งึ จุดมงุ่ หมายทางการศึกษาตามทีห่ ลกั สูตรกำหนดไว้แลว้ เพียงใด ทงั้ นี้ ยกเวน้ อารมณ์ สงั คมและการปรับตัว นอกจากนีแ้ ล้วยงั หมายรวมไปถงึ การประเมนิ ผลความสำเรจ็ ตา่ ง ๆ ทงั้ ท่ีเป็นการวดั โดยใชแ้ บบทดสอบ แบบใหป้ ฏบิ ัตกิ ารและ แบบทไ่ี ม่ใช้แบบทดสอบด้วย

เสริมศักด์ิ วิศาลาภรณ์ และอเนกกลุ กรแี สง (2522 : 22) ให้ความหมายการวดั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนวา่ เปน็ กระบวนการวัดปรมิ าณของผลการศึกษาเล่าเรยี นว่าเกดิ ขนึ้ มากน้อยเพยี งใดคำนึงถึงเฉพาะ การทดสอบเทา่ น้นั

2.จัดการเรยี นร้แู บบ Active Learning

Active Learning เป็นกระบวนการจดั การเรียนร้ทู ่ีมุง่ เนน้ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรสู้ ูงสดุ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการเรียนรู้ในระดับทักษะการคดิ ขนั้ สงู อันประกอบดว้ ย การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการ ประเมินค่า ซง่ึ ลักษณะสำคญั ของการจดั การเรียนการสอนรปู แบบนีเ้ ปน็ การเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มใน กระบวนการเรยี นรู้ สามารถสร้าง องค์ความรู้ และจดั ระบบการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง อกี ทงั้ เปน็ การเสรมิ สร้างความ รบั ผดิ ชอบ การมวี นิ ัยในการทำงานแก่ผู้เรยี น

Active Learning คือกระบวนการจดั การเรียนรูท้ ี่ผูเ้ รยี นได้ลงมอื กระทำและได้ใช้ กระบวนการคิดเกี่ยวกับส่งิ ทีเ่ ขาได้กระทำลงไป (Bonwell, 1991) , เปน็ การจัดกิจกรรมการ เรียนรภู้ ายใต้ สมมตฐิ านพนื้ ฐาน 2 ประการ คอื 1) การเรยี นรเู้ ป็นความพยายามโดยธรรมชาตขิ อง มนุษย์และ 2) แต่ละบุคคลมี แนวทางในการเรยี นรู้ที่แตกต่างกัน (Meyers and Jones, 1993) , เป็นกระบวนการทีผ่ ้เู รยี นจะถูกเปล่ียนบทบาท จากผรู้ ับความรู้ (receive) ไปสู่การมสี ว่ นร่วมใน การสรา้ งความรู้ (co-creators) (Fedler and Brent, 1996)

Active Learning หมายถึง การเรยี นรู้เชิงรกุ เป็นการเรยี นร้ทู ผ่ี เู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการ เรยี นหรือดำาเนินกจิ กรรมต่างๆ ในการเรียนใหเ้ กดิ การเรียนรอู้ ยา่ งมีความหมาย เป็นวิธีการเรยี นรู้ ในระดบั ลึก ผู้เรียนจะสรา้ งความเข้าใจและคน้ หาความหมายของเนื้อหาสาระโดยเชอื่ มโยงกบั ประสบการณเ์ ดิมทีม่ ีอย่สู ามารถ บูรณาการความรใู้ หม่ที่ได้รับกับความรเู้ กา่ ทม่ี ี สามารถประเมนิ ต่อเติมและสร้างเปน็ แนวคิดของตนเอง ซ่ึงแตกต่าง จากวิธกี ารเรยี นร้ใู นระดับผิวเผนิ ซ่ึงเน้นการรบั ข้อมลู และจดจำข้อมลู เท่านน้ั ผ้เู รยี นลกั ษณะน้จี ะเปน็ ผเู้ รียนท่ี เรยี นรวู้ ิธกี ารเรยี น (Learning How to Learn) เปน็ ผู้เรียนทกี่ ระตือรือรน้ และ มีทักษะท่ีสามารถเลอื กรบั ข้อมูล วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหข์ ้อมูลได้อย่างมีระบบ (Suwannatthachote, 2555)

Active Learning เปน็ กระบวนการจัดการเรียนร้ตู ามแนวคิดการสรา้ งสรรคท์ างปัญญา (Constructivism) ทเ่ี นน้ กระบวนการเรยี นร้มู ากกวา่ เน้ือหาวชิ า เพอ่ื ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถ เช่ือมโยงความรหู้ รือ สร้างความรู้ให้เกิดขน้ึ ในตนเอง ดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ตั ิจริงผา่ นสอื่ หรือ กิจกรรมการเรยี นรู้ที่มีผสู้ อนเป็นผแู้ นะนำ กระตุน้ หรืออำนวยความสะดวก ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ข้ึนโดยกระบวนการคิดข้ันสงู กล่าวคอื ผูเ้ รียนมีการ

วิเคราะห์ การสังเคราะห์และการประเมินคา่ จากสิ่งท่ีได้รบั จากกิจกรรมการเรียนรทู้ ำให้การเรียนร้เู ป็นไป อยา่ งมี ความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อืน่ ๆ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกลุ , 2555) Active Learning เป็นการจดั การเรยี นการสอนแบบเนน้ พัฒนากระบวนการเรียนรู้ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นประยกุ ต์ใช้ทักษะและเชือ่ มโยง องค์ความรู้น าไปปฏบิ ัติเพือ่ แกไ้ ขปัญหาหรอื ประกอบอาชีพในอนาคต หลกั การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คือ การนำเอา วิธกี ารสอน เทคนคิ การสอนที่หลากหลายมาใชอ้ อกแบบแผนการสอนและกิจกรรม กระตุ้นให้ ผู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในชั้นเรยี น ส่งเสริมปฏิสัมพันธร์ ะหว่างผู้เรียนกับผ้เู รยี นและผูเ้ รียนกบั ผสู้ อน Active Learning จึงถือเปน็ การจัดการเรียนการสอนประเภทหนึ่งทีส่ ง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นมี คณุ ลักษณะสอดคล้องกับการ เปล่ยี นแปลงในยคุ ปัจจบุ นั อีกทัง้ ยังช่วยส่งเสริม student engagement , enhance relevance, and improve motivation ของผูเ้ รยี น (มหาวิทยาลัย ศรปี ทมุ , 2559)

ลักษณะสำคัญของการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active learning ไดแ้ ก่ 1. เป็นการเรยี นการสอนท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรยี นรูส้ ูงสดุ

2. ผเู้ รียนเรียนรู้ความรบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมีวินยั ในการทำงาน การแบ่งหน้าที่ความรบั ผิดชอบ

3. เปน็ กระบวนการสรา้ งสถานการณ์ให้ผู้เรยี นอ่าน พูด ฟัง คดิ อย่างลุ่มลึก ผเู้ รยี นจะเป็นผู้จัดระบบการ