ว ฒนธรรมและส งคมของประชากรภ ม ภาคเอเช ยตะว นออกเฉ ยงใต

Moynaq อดีตเมอื งทา่ การประมง กลายสภาพเปน็ เมืองรา้ งสสุ านเรือ เหตมุ าจากนา้ ในทะเลอารลั ลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จนแหง้ แลง้ ไปในทส่ี ดุ

3. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ

อากาศสว่ นใหญข่ องเอเชยี กลางแหง้ แล้งเปน็ ทะเลทรายและก่งึ ทะเลทรายในเขตอบอุ่น เพราะอยใู่ นเขตอิทธิพล ของลมทพี่ ดั มาจากเขตความกดอากาศสงู ภายในทวปี ไมม่ คี วามชน้ื มแี ต่ความแห้งแลง้ อย่หู ่างไกลจากทะเล และมี ภูมิ ประเทศเปน็ ทรี่ าบสงู และเทอื กเขาเปน็ ขอบ ทาใหไ้ ดร้ บั อิทธพิ ลความชนื้ จากทะเลน้อย แบ่งออกเป็น 4 เขตดงั น้ี

1. เขตภูมอิ ากาศแบบทุง่ หญา้ กึง่ ทะเลทราย (BS) ได้แกพ่ น้ื ทสี่ ่วนใหญ่ของคาซัคสถาน อณุ หภูมเิ ฉลี่ยประจาปี ไม่เกนิ 25 องศาเซลเซยี ส มฝี นตกนอ้ ย พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน็ ทงุ่ หญ้าส้นั หรอื ทงุ่ หญา้ สเต็ปป์ 2. เขตภูมิอากาศแบบทะเลทราย (BW) เป็นเขตทะเลทรายทม่ี พี ืน้ ท่กี วา้ งขวาง เชน่ ทะเลทรายคีซลิ กุม ในเขต ประเทศอุซเบกซิ สถานและภาคใตข้ องคาซัคสถาน และทะเลทรายคารคมุ ในเตริ ์กเมนิสถาน ทะเลทรายทงั คุม และทะเลทรายมยู นุ คมุ ในคาซคั สถาน มีพืชพรรณธรรมชาติเป็นไม้พ่มุ ขนาดเล็กมหี นาม และกระบองเพชร 3. เขตภมู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอร์เรเนียน (Cs) เขตน้ีในฤดรู อ้ นอากาศร้อนมาก ฤดหู นาวมฝี นตกชกุ และภูเขามี หิมะปกคลมุ ได้แก่ ชายฝง่ั ทะเลดาของจอรเ์ จีย ชายฝง่ั ทะเลสาบแคสเปยี นของอาเซอร์ไบจาน และชายฝ่งั ภาคใตข้ องเตริ ์กเมนิสถาน พืชพรรณธรรมชาตเิ ปน็ ไมพ้ ่มุ เตย้ี ไม้โอก๊ และเขตภเู ขาเปน็ ไมส้ น 4. เขตภมู อิ ากาศแบบทส่ี ูง (H) มีอากาศหนาวเย็นมาก ยอดเขามีหมิ ะปกคลมุ ตลอดปี เป็นแหลง่ น้าของ ภูมภิ าคนี้ ในฤดูรอ้ นนา้ แข็งบางสว่ นละลายไหลลงสทู่ ีร่ าบไดแ้ ก่ เขตเทือกเขาเทยี นซานในครี ก์ ซี สถาน ทสี่ งู ปามรี ์

ในทาจกิ สิ ถาน เขตเทือกเขาคอเคซสั ในจอร์เจยี อารเ์ มเนยี และอาเซอร์ไบจาน พืชพรรณธรรมชาติ เปลยี่ นแปลงไปตามระดับความสูงของพ้นื ที่ โดยในเขตทม่ี คี วามสูง 4,600 เมตรขึ้นไปจะไมม่ พี ชื พรรณ เจริญเตบิ โต สว่ นเขตทมี่ ีความสูงน้อยกว่าน้ีจะมีพืชพรรณธรรมชาตเิ ป็นแบบทุ่งหญ้าก่ึงทะเลทราย

4. ลักษณะทางเศรษฐกิจ

เศรษฐกจิ ทสี่ าคญั ของภมู ภิ าคเอเชยี กลาง ได้แก่

1. การเกษตร ประกอบดว้ ย

  1. การเพาะปลกู ภูมิภาคน้มี ีปริมาณฝนเฉลี่ยประจาปีต่า ในเขตที่ราบลมุ่ เขตโอเอซิส หรือบรเิ วณทีม่ ี ชลประทานเขา้ ถงึ เชน่ ท่รี าบทางดา้ นตะวนั ออกของทะเลแคสเปยี นสามารถปลกู ข้าวสาลี ฝา้ ย ข้าวโพด ข้าวบารเ์ ลยไ์ ดด้ ี และทรี่ าบล่มุ แม่นา้ ทางภาคตะวนั ตกของทะเลแคสเปยี น เหมาะแกก่ ารปลกู พืชผลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ข้าวสาลี องนุ่ สม้ และพืชผกั
  1. การเล้ียงสตั ว์ มีทัง้ การเลี้ยงแบบเรร่ อ่ น และแบบฟารม์ ปศสุ ัตว์ สัตว์ท่เี ลย้ี งกันมาก เช่น แกะ แพะ โค ไก่ ม้า ลา ลอ่ โดยเลย้ี งกันมากในบริเวณตอนใตข้ องทะเลอารลั และตอนใต้ของภูมิภาค โดยประเทศคาซัคสถานเป็นผสู้ ง่ ออก เนอ้ื สตั วร์ ายใหญท่ ่สี ดุ ของภมู ิภาค

2. การทาประมง แหลง่ ประมงทส่ี าคญั คอื ทะเลดา ทะเลแคสเปียน ทะเลอารลั และทะเลบลั คชั โดยมีเมืองเกอรเ์ ยป เมอื งเชฟเชนโก เมอื งคราสโน–วอดสค์เป็นเมอื งทาการประมงทสี่ าคัญของภูมิภาค ผลผลติ ทม่ี ีชอ่ื เสยี งของภูมิภาคนี้ คือ คาเวยี ร์ทีไ่ ดจ้ ากไขป่ ลาสเตอรเ์ จยี น

3. อุตสาหกรรม แม้ยังไม่เจรญิ ก้าวหนา้ มากนัก แต่ก็เป็นทมี่ าของรายได้หลกั ภายในภมู ิภาค โดยส่วนใหญอ่ ยทู่ ่ีประเทศ คาซัคสถาน อารเ์ มเนีย และอาเซอร์ไบจาน อตุ สาหกรรมทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ อุตสาหกรรมการกลนั่ น้ามนั การแยกแก๊ส ธรรมชาติ ปโิ ตรเลยี ม เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เหลก็ แปรรูป สนิ ค้าทางการเกษตร และเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้า

4. การคา้ ทาการค้ากบั ประเทศในภูมภิ าคเดยี วกันและยุโรปตะวนั ออกเปน็ สว่ นใหญ่ สงิ ค้าส่งออกทสี่ าคัญ เชน่ น้ามัน แก๊สธรรมชาติ ฝ้าย ผลติ ภัณฑจ์ ากสัตว์ ขนสตั ว์ สิ่งทอ ส่วนสินค้านาเข้าท่สี าคญั ได้แก่ เคร่อื งจกั รกล อปุ กรณ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ อาหาร ประเทศคู่คา้ ที่สาคญั ได้แก่ ประเทศรสั เซีย ยเู ครน ตุรกี เยอรมนี และจนี

5. ลกั ษณะประชากร สงั คม และวฒั นธรรม

ประชากร เอเชียกลางเปน็ ภมู ภิ าคทมี่ ปี ระชากรนอ้ ยท่สี ุดของทวีปเอเชยี มปี ระชากรประมาณ 86.6 ลา้ นคน (พ.ศ.2559) ประเทศอซุ เบกสิ ถานมปี ระชากรมากที่สดุ และประเทศอารเ์ มเนยี มปี ระชากรน้อยทส่ี ุด โดยบรเิ วณทมี่ ปี ระชากร หนาแน่นจะอยใู่ นประเทศแถบเทอื กเขาคอเคซสั ทางตะวนั ตกของทะเลแคสเปยี น คอื อารเ์ มเนีย อาเซอร์ไบจาน และ จอรเ์ จีย สว่ นบรเิ วณที่มีประชากรเบาบางคอื คาซัคสถานและเตริ ก์ เมนสิ ถาน เช้ือชาติ สว่ นใหญเ่ ป็นพวกคอเคซอยห์ รือพวกผวิ ขาว ได้แก่ ชาวอุซเบก รสั เซยี อาเซอร์ เติรก์ เมน อาร์เมเนีย ทาจกิ มองโกลลอยด์ ซง่ึ เปน็ ประชากรในคาซัคสถาน ครี ก์ ซี และทาจกิ ิสถาน ภาษา มีประชากรหลายเชอื้ ชาติท่มี ีภาษาเป็นของตนเอง แตท่ ม่ี ีจานวนประชากรมาก คอื ชาวครี ก์ ซี ใชภ้ าษาคีร์กซี ชาว อุซเบกใชภ้ าษาอซุ เบก ชาวอาเซอรีใช้ภาษารัสเซยี เป็นภาษากลางสอ่ื สารกนั ศาสนา ประชากรสว่ นใหญน่ บั ถอื ศาสนาอสิ ลามนิกายซุนนี มเี พยี งประเทศอารเ์ มเนยี และจอรเ์ จยี เทา่ นั้นที่นบั ถอื ศาสนา ครสิ ต์เป็นศาสนาประจาชาติ

คาลอน มินาเรต (Karon minaret) ตง้ั อยู่ทเ่ี มืองบคู ารา ประเทศอุซเบกสิ ถาน เป็นหอใช้สาหรับเรยี กผคู้ นให้เขา้ มาทาการละหมาดที่มัสยิด

Page 37 - สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

  1. 37

ความรู้เกยี่ วกับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ 2-27  
ทางบวก ผลในทางบวกคอื การขยายอปุ สงคด์ า้ นการบรโิ ภคทนี่ ำ� ไปสกู่ ารขยายการผลติ และการสงั่ สมทนุ  
มนษุ ยแ์ ละดา้ นการเงนิ เพอ่ื การพฒั นา แตผ่ ลกระทบทต่ี ามมากม็ มี ากมาย ตงั้ แตค่ วามจำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งสรา้ ง  
งานในดา้ นอตุ สาหกรรมและบรกิ ารอยอู่ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ไปจนถงึ ปญั หาความแออดั มลพษิ และการสรา้ งความ  
เสื่อมโทรมใหแ้ ก่ทรัพยากรของภาคชนบทท่ตี ้องเล้ียงดูประชากรในเมือง
       เลยออกไปจากเขตเมอื งใหญท่ มี่ คี วามเปน็ สมยั ใหมห่ รอื แมก้ ระทง่ั เลยไปจากเขตชนบททม่ี ลี กั ษณะ  
เปน็ พน้ื ทตี่ ำ่� ดงั กลา่ วแลว้ เปน็ พนื้ ทห่ี า่ งไกล ซงึ่ มกั จะมลี กั ษณะเปน็ ทส่ี งู และเขตภเู ขา พนื้ ทห่ี า่ งไกลเหลา่ นี้  
โดยทั่วไปเป็นที่ตั้งถิ่นฐานกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่เป็นชนกลุ่มน้อย อันเป็นกลุ่มชนที่มักไม่ได้กลมกลืนเข้า  
กบั ประชากรกลมุ่ หลกั ทงั้ ในดา้ นภาษาและสงั คม แตใ่ นขณะทเี่ ขตเมอื งขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ ดงั กลา่ วแลว้ นน้ั  
พ้ืนที่ป่าก็ถูกเปิดเป็นแหล่งต้ังถิ่นฐานและการพัฒนาด้านการเกษตร นอกจากน้ัน เขตท่ีเคยเป็นพ้ืนที่ท�ำ  
การเกษตรดั้งเดมิ กส็ ูญเสียแรงงานรุ่นหนุม่ สาวทอี่ พยพเข้าไปทำ� งานในเมือง
       การอพยพขา้ มพรมแดนในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตล้ ดนอ้ ยลงหลงั จากทป่ี ระเทศตา่ งๆ ในภมู ภิ าค  
ไดร้ บั เอกราช แตเ่ มอื่ มกี ารเรง่ การพฒั นาและการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ การอพยพยา้ ยถนิ่ ฐานภายในแตล่ ะ  
ประเทศกเ็ ปน็ ปรากฏการณท์ างสงั คมทส่ี ำ� คญั นอกจากการอพยพในลกั ษณะของการเคลอื่ นยา้ ยแรงงานแลว้  
สงครามก็มสี ว่ นอยา่ งส�ำคัญในการทำ� ให้เกดิ ปรากฏการณน์ ี้ โดยเฉพาะในกลมุ่ ประเทศอินโดจนี ทเ่ี ม่ือถงึ  
ค.ศ. 1975 ประชากรถึง 1 ใน 4 กลายเปน็ ผ้อู พยพในลักษณะใดลักษณะหน่งึ นอกจากน้ัน การอพยพยัง  
เกดิ จากโครงการสรา้ งเขอื่ น สนามบนิ หรอื โครงการพฒั นาอนื่ ๆ ทรี่ กุ ลำ้� เขา้ ไปในเขตหมบู่ า้ นชนบท ตลอดจน  
การท่ีคนจากชนบทย้ายถิ่นฐานเพราะเข้าไปท�ำงานในหน่วยงานของรัฐท่ีขยายตัวตลอดเวลา คนเหล่าน้ี  
ถกู สง่ ไปรับหน้าทีอ่ ยใู่ นพื้นท่ไี กลจากภูมิล�ำเนาในส่วนตา่ งๆ ของประเทศ ในบางกรณกี ารโยกย้ายถ่ินฐาน  
เปน็ นโยบายของรฐั เชน่ ในอนิ โดนเี ซยี ซงึ่ มโี ครงการโยกยา้ ยประชากรจากเกาะดา้ นในไปสหู่ มเู่ กาะดา้ นนอก  
หรือกรณีของเวียดนามเหนือในช่วงหลัง ค.ศ. 1961 และหลัง ค.ศ. 1975 เม่ือมีการรวมเวียดนามเหนือ  
และเวยี ดนามใต้เขา้ ด้วยกัน หรือในกมั พชู าหลัง ค.ศ. 1975 ดังไดก้ ล่าวแลว้
กิจกรรม 2.2.3  
       ลกั ษณะส�ำคญั ทางสังคมและเศรษฐกจิ ของเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้คืออะไร
แนวตอบกิจกรรม 2.2.3  
       ลกั ษณะสำ� คญั ทางสงั คมและเศรษฐกจิ ของเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ คอื การเปลยี่ นแปลงจากสงั คม
ท่ีด�ำรงอยู่บนรากฐานของระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพ ประชากรต้ังถ่ินฐานอยู่คงที่ไม่มีการโยกย้ายมากนัก  
มาเป็นการผลิตเพ่ือการค้ามากข้ึน การขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงสมัยอาณานิคมตั้งแต่ปลายคริสต์-  
ศตวรรษที่ 19 จนถึงต้นศตวรรษต่อมาท�ำให้ศูนย์กลางท่ีเป็นเขตเมืองขยายตัวอย่างมากด้วยการโยกย้าย  
ถิ่นฐานมีมากข้นึ และจำ� นวนประชากรทอ่ี าศยั อยใู่ นเขตเมืองก็มเี พิม่ มากขน้ึ ด้วยเชน่ กนั