ม.ราม ข อสอบ ว นเสาร อาท ตย ได หร อไม

(High Organization) ม่งุ ผลติ บณั ฑิตในอดุ มคติไทยที่มีความรคู้ คู่ ุณธรรม เพือ่ สร้างสรรค์สงั คมไทยพัฒนาอย่าง

ย่ังยืนตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 2

ความเป็นมาของมหาวิทยาลยั รามคาแหง : 2514 ถึงปจั จบุ นั

1. พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2514 กาหนดให้มหาวิทยาลัยรามคาแหงเป็น สถาบันการศึกษาและวิจัยแบบตลาดวิชา มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทาการวิจัย สง่ เสรมิ วชิ าการชน้ั สูง และทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม

ตลอดระยะเวลามากกว่า 40 ปี มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้พัฒนามาโดยตลอด ท้ังในด้านพัฒนาการ วิชาการ พัฒนาสังคม โดยให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในขณะเดียวกันก็พัฒนาไป ตามกระแสโลกาภิวัฒน์ทางด้านเทคโนโลยี จนปัจจุบันมหาวิทยาลัยรามคาแหงได้เปิดการเรียนการสอนโดยใช้ เทคโนโลยีทันสมัย การใช้คอมพิวเตอร์ในงานด้านบริหารและบริการ จนมหาวิทยาลัยได้ก้าวสู่การเป็น e-University และ Smart University ในระดบั มาตรฐานสากล

2. เหตุผลที่ตั้งมหาวิทยาลัยรามคาแหง มีสาเหตุมาจากปัญหาการขาดแคลนที่เรียน ในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย เพราะมหาวิทยาลัยต่าง ๆ มีสถานท่ีเรียนจากัด ไม่สามารถรับ ผู้ท่ีจะเข้า ศกึ ษาตอ่ ในระดับอุดมศึกษาได้ท้ังหมด เนอื่ งจากมีผู้ทีจ่ บการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาแลว้ ไม่มีโอกาสได้ศึกษา ต่อ ดงั น้นั รัฐจึงจาเป็นต้องจัดตงั้ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหงขน้ึ เพ่ือเปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลทีป่ ระสงค์จะเขา้ เรียนต่อใน มหาวิทยาลัยได้เข้ารับการศึกษาอย่างท่ัวถึง เพ่ือเพิ่มพูนวิทยฐานะแก่ผู้ประกอบอาชีพและขยายโอกาสทาง การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไป โดยเปิดรับสมัครนักศึกษาโดยไม่จากัดจานวนและไม่มีการ สอบคดั เลอื ก มกี ารจัดการเรียนการสอนแตไ่ มบ่ ังคับให้มาเข้าชนั้ เรยี น

3. คณะ/สานัก/สถาบันมหาวิทยาลัยรามคาแหงปัจจุบัน มหาวิทยาลัยรามคาแหงมีหน่วยงานใน ระดับคณะสานักและสถาบัน ซ่ึงมีหน้าท่ีดาเนินการจัดการศึกษาและให้บริการด้านบริหารและวิชาการ อย่างมี ประสิทธิภาพ คณะท่ีจัดการเรียนการสอน มีดังน้ี คณะนิติศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ คณะมนุษยศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะส่ือสารมวลชน คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะทัศนมาตรศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ บัณฑติ วิทยาลัย และสถาบันการศึกษานานาชาติ

สานักและสถาบันต่างๆ ท่ีบริการด้านบริหารและวิชาการ มีดังต่อไปน้ี สานักงานอธิการบดี สานักบริการ ทางวิชาการและทดสอบประเมินผล สานักหอสมุดกลาง สานักเทคโนโลยีการศึกษา สานักพิมพ์ สานักกีฬา สานักประกันคุณภาพการศึกษา สานักทดสอบทางอิเล็กทรอนิกส์ สานักวิทยบริการ สานักงานสาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกยี รตติ า่ งประเทศ สานกั งานตรวจสอบภายใน สานกั สหกิจศกึ ษาและพัฒนาอาชพี สานักบรกิ ารขอ้ มลู และ สารสนเทศ สถาบันคอมพิวเตอร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันศิลปวัฒนธรรมเฉลิมพระเกียรติ สถาบันภาษา สถาบันกฎหมายไทย ศนู ย์สือ่ การสอนทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ และสาขาวทิ ยบริการเฉลิมพระเกียรตสิ ว่ นภมู ิภาค

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 3

4. มหาวิทยาลัยรามคาแหง 2 เนื่องจากมหาวิทยาลัยรามคาแหงมีนักศึกษาเป็นจานวนมากและ เพิ่มขนึ้ เร่อื ย ๆ ดังนน้ั เพอื่ แกป้ ญั หาด้านสถานทีเ่ รียนไมเ่ พียงพอ มหาวิทยาลัยรามคาแหงจึงไดเ้ สนอแกไ้ ขปัญหา การขาดแคลนสถานท่ีเรียนต่อคณะ รัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้มหาวิทยาลัยจัดต้ังวิทยาเขตขึ้น เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ.2522 ณ บริเวณที่ดินซึ่งมีผู้บริจาคจานวน 150 ไร่ ตั้งอยู่ท่ีแขวงดอกไม้ เขตพระโขนง กรงุ เทพฯ บนถนนสายบางนา-ตราด และมหาวทิ ยาลัยเปิดใช้วทิ ยาเขตน้ี เมื่อภาค 1 ปกี ารศกึ ษา 2527 เป็นต้น มา โดยใช้เป็นสถานที่สอนกระบวนวิชาชั้นปีท่ี 1 ของระดับปริญญาตรีทุกสาขาวิชา สาหรับนักศึกษาที่ ไมม่ โี อกาสฟังคาบรรยายที่มหาวิทยาลัย ซ่ึงมีอยจู่ านวนมากทั่วประเทศนั้น มหาวทิ ยาลัยได้จัดให้มีการบรรยายสรุป ทางสถานวี ทิ ยุโทรทัศน์ทัง้ ส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคทัว่ ประเทศ

5. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติส่วนภูมิภาค ในปีการศึกษา 2538 มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้ ขยายโอกาสทางการศึกษาไปสู่ส่วนภูมิภาค เพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้ที่อยู่ในภูมิภาคและท้องถ่ินต่าง ๆ มีโอกาสได้ ศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติม นาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการดารงชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมหาวิทยาลัยได้ ดาเนินการเปิดสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติในจังหวัดต่าง ๆ ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และต่อมาได้เปิดสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติฯ เพ่ิมข้ึนอีก จนปัจจุบันมหาวิทยาลัยได้ จัดตัง้ สาขาวทิ ยบริการเฉลมิ พระเกียรติขน้ึ แลว้ ใน 23 จงั หวดั ทว่ั ประเทศ ดังนี้

1. สาขาวทิ ยฯจงั หวัดนครศรีธรรมราช 2. สาขาวิทยฯจงั หวดั อทุ ยั ธานี 3. สาขาวทิ ยฯจังหวัดปราจีนบรุ ี 4. สาขาวทิ ยฯจังหวัดอานาจเจริญ 5. สาขาวิทยฯจังหวดั นครพนม 6. สาขาวทิ ยฯจงั หวัดแพร่ 7. สาขาวทิ ยฯจังหวดั นครราชสมี า 8. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั สโุ ขทัย 9. สาขาวิทยฯจังหวัดขอนแก่น 10. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั ศรีสะเกษ 11. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั ตรงั 12. สาขาวิทยฯจงั หวดั อุดรธานี 13. สาขาวิทยฯจังหวดั ลพบรุ ี 14. สาขาวทิ ยฯจังหวดั หนองบัวลาภู 15. สาขาวิทยฯจังหวัดชยั ภูมิ 16. สาขาวทิ ยฯจังหวดั เพชรบรู ณ์ 17. สาขาวิทยฯจังหวัดกาญจนบุรี 18. สาขาวทิ ยฯจังหวดั สรุ นิ ทร์ 19. สาขาวิทยฯจังหวดั บุรีรัมย์ 20. สาขาวิทยฯจังหวดั สงขลา 21. สาขาวทิ ยฯจงั หวดั เชียงราย 22. สาขาวิทยฯจังหวัดพงั งา 23. สาขาวทิ ยฯจังหวดั เชยี งใหม่

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 4

6. สาขาวทิ ยบริการเฉลิมพระเกยี รตติ ่างประเทศ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้ขยายการเรียนการสอนสู่ต่างประเทศ ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2546 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาแก่ปวงชนชาวไทยใน ต่างประเทศท่ัวโลก เพื่อนาการอดุ มศึกษาไทยสสู่ ากลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม ปัจจบุ นั ไดข้ ยายสู่ 32 ประเทศทวั่ โลก ดังนี้ 1.ประเทศแคนาดา ณ กรุงออตตาวา แวนคู เวอร์ 2.ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ณ กรงุ วอชงิ ตัน ดี ซี นครนิวยอรก์ นครลอสแอนเจลสิ นครชิคาโก 3. ประเทศเบลเย่ียม ณ กรุงบรัสเซลส์ 4. ประเทศฝรัง่ เศส ณ กรงุ ปารีส 5. ประเทศสหพันธ์สาธารณรฐั เยอรมนี ณ กรงุ เบอร์ลิน นครแฟรงก์เฟริ ต์ 6. ประเทศไอซแ์ ลนด์ ณ กรุงเรคยาวิค 7. ประเทศอิตาลี ณ กรงุ โรม 8. ประเทศเนเธอร์แลนด์ ณ กรงุ เฮก 9. ประเทศโปแลนด์ ณ กรงุ วอร์ซอ 10. ประเทศสเปน ณ กรงุ มาดริด 11. ประเทศสวติ เซอรแ์ ลนด์ ณ กรุงเบิรน์ 12. ประเทศออสเตรยี ณ กรุงเวยี นนา 13. ประเทศสหราชอาณาจกั ร ณ กรงุ ลอนดอน 14. ประเทศเดนมาร์ก ณ กรุงโคเปนเฮเกน 15.ประเทศนอร์เวย์ ณ กรุงออสโล 16. ประเทศสวีเดน ณ กรุงสตอกโฮล์ม 17. ประเทศสาธารณรฐั ฟินแลนด์ ณ กรุงเฮลซิงกิ 18. ประเทศบาหเ์ รน ณ กรงุ มานามา 19.ประเทศรัฐสลุ ตา่ นโอมาน ณ กรุงมสั กัต 20.ประเทศสหรฐั อาหรบั เอมิเรตส์ ณ เมอื งดไู บ 21.ประเทศรฐั กาตาร์ ณ กรุงโดฮา 22.ประเทศออสเตรเลีย ณ กรุงแคนเบอรร์ า นครซิดนีย์ 23.ประเทศนวิ ซแี ลนด์ ณ กรุงเวลลิงตนั 24.ประเทศกมั พชู า ณ กรุงพนมเปญ 25.ประเทศอนิ เดยี ณ กรุงนวิ เดลี 26.ประเทศอนิ โดนีเซยี ณ กรงุ จารก์ าตาร์ 27.ประเทศมาเลเซีย ณ กรงุ กัวลาลมั เปอร์ 28.ประเทศเกาหลใี ต้ ณ กรงุ โซล

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 5

29.ประเทศสิงคโปร์ ณ สิงคโปร์ 30. ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน ณ กรงุ ปกั กิ่ง นครกวางโจว เมอื งเซ่ยี เหมนิ 31. ประเทศเวียดนาม ณ นครโฮจมิ นิ ห์ 33. ประเทศไทย ณ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง กรุงเทพฯ

7. การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้เร่ิมข้ึนเปน็ ครง้ั แรกในปีการศึกษา 2538 โดยไดม้ กี ารสอนโดยตรงจากมหาวิทยาลัย รามคาแหง กรงุ เทพฯ ไปส่มู หาวทิ ยาลัยรามคาแหงสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ ในส่วนภมู ภิ าค 3 จังหวัด คือ จังหวัดอุทัยธานี จังหวัดปราจีนบุรี และจังหวัดนครศรีธรรมราช เร่ิมแรกได้เปิดสอนในระดับปริญญาตรี โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านดาวเทียมไทยคมในย่านความถี่ C-Band โดยกระจายสัญญาณ ทิศทางเดียวไปยังสาขาวิทยบริการในส่วนภูมิภาค นักศึกษาที่เรียนอยู่ในห้องเรียนสามารถสอบถามและ ขอคาอธิบายเกยี่ วกบั การ เรยี นการสอนผ่านระบบโทรศัพท์ และโทรสารมายงั อาจารย์ผสู้ อนได้

ในปีการศึกษา 2539 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอนทางไกล โดยใช้เทคโนโลยีการ ถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน์โดยตรงสู่ห้อง เรียนต่าง ๆ ในระบบ (Direct To Home Broad Casting) ผ่านดาวเทียมไทยคมย่านความถ่ี Ku-Band ซ่ึงปัจจุบันออกอากาศผา่ นทางไทยสกายเคเบ้ิลทีวี ช่อง 10 นอกจากการ ใช้เทคโนโลยีสื่อสารแล้ว มหาวิทยาลัยยังได้จัดให้อาจารย์ไปบรรยายสรุป ณ สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ ในจังหวัดต่าง ๆ เป็นประจาทุกวันเสาร์และอาทิตย์ เพ่ือให้นักศึกษาในส่วนภูมิภาคได้พบและขอคาปรึกษาจาก อาจารย์ได้ และวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2539 มหาวิทยาลัย ได้เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ณ สาขาวิทยบริการฯ 4 จงั หวดั คือ จงั หวัดอทุ ัยธานี จงั หวัดปราจนี บรุ ี จงั หวัดนครศรธี รรมราช และจังหวดั อานาจเจรญิ

ในการเรียนการสอนระดับปริญญาโทในส่วนภมู ิภาคนั้น อาจารยผ์ ู้สอนจะเดินทางไปสอนที่สาขาวิทยบริการฯ ต่าง ๆ หมุนเวียนกันไปทั้ง 4 จังหวัด เมื่ออาจารย์ไปบรรยายที่สาขาวิทยบริการฯ ใดก็จะทาการถ่ายทอด ภาพและเสียงการบรรยายไปยังสาขาวิทยบริการฯ อื่นๆอีก 3 สาขาวิทยบริการ โดยใช้ Video Conferencing System ผ่านสัญญาณดาวเทียมไปสู่ห้องเรียน ด้วยวิธีนี้จะทาให้นักศึกษาจากทุกสาขาวิทย บริการฯ ได้รับฟังการบรรยายจากอาจารย์ผู้สอนพร้อมกันในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนยัง สามารถสื่อสารโต้ตอบกับนักศึกษาจากทุกสาขาวิทย บริการฯในลักษณะของการสื่อสารสองทาง (Two Way Communication) ได้อีกด้วย

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 6

คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง

ประวตั คิ วามเปน็ มาคณะสาธารณสุขศาสตร์

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหงได้จัดตั้งขึ้นตาม ตามพันธกิจของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)

ขอ้ ท่ี (1) การพัฒนาคนและสงั คมไทยสู่สังคมคุณภาพมุ่งสร้างภูมิคมุ้ กนั ตง้ั แตร่ ะดับปจั เจก ครอบครวั และ ชุมชนสู่สังคมที่มีคุณภาพ สามารถจัดการความเส่ียงและปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีส่วนร่วมใน การพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองของประเทศได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และ

ขอ้ ที่ (2) การพัฒนาคนสูส่ งั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ให้ความสาคญั กบั การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุก ช่วงวัยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง มีความพร้อมท้ังด้านร่างกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรง มีสติปัญญาท่ีรอบรู้ และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ตลอดชีวิตควบคู่กับการ เสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมและสถาบันสังคมให้เข้มแข็งและเอ้ือต่อการพัฒนาคน นั้น

ทางมหาวิทยาลัยได้ตระหนักถึงความสาคัญดังกล่าว และเห็นว่ายังขาดแคลนสาขาวิชาท่ีเก่ียวข้องกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและด้านสาธารณสุขโดยตรงจึงได้มีการพัฒนาหลักสูตรทางด้านสาธารณสุขศาสตร์โดย คานึงถึงสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงการยกระดับคุณภาพชีวิตสู่ความย่ังยืน และความต้องการในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม โดยแบ่งส่วนราชการเป็น 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข และ สานักงานคณบดี โดยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้ก่อต้ังขึ้นโดยมติท่ีประชุมสภา มหาวิทยาลัยรามคาแหงครั้งท่ี 8/2551 วาระที่ 4.7 เม่ือวันที่ 30 มิถุนายน 2551 ขึ้นเป็นส่วนงานภายใน สังกัดมหาวิทยาลัยรามคาแหง และมติสภามหาวิทยาลัย ครั้งท่ี 2/2563 เม่ือวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 เหน็ ชอบและอนมุ ัติใหย้ า้ ยสถานทตี่ ้ังคณะสาธารณสุขศาสตร์ มาสังกัดท่ีสว่ นกลาง มหาวิทยาลยั รามคาแหง

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 7

ข้อมลู ท่ัวไป

ตราสญั ลักษณ์

สีประจาคณะ สีชมพู-สม้ (Salmon pink)

ปรชั ญา สขุ ภาวะสรา้ งได้

วสิ ัยทศั น์ คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ สรา้ งคน สร้างสังคม สุขภาพดี

ปณธิ าน มุง่ ผลติ บัณฑติ ทมี่ คี วามรู้คู่คุณธรรม และจิตสานกึ ในความรับผิดชอบต่อสงั คม

พนั ธกจิ 1. สร้างโอกาสทางการศึกษาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ บุคลากรด้านสาธารณสุขศาสตร์โดย

ผ่านกระบวนการที่หลากหลาย 2. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ครอบคลุมด้านการเรียนการสอน การวิจัย

การบริการวิชาการ การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม และการบริหารจัดการภายในมหาวิทยาลัย 3. สนันสนุน ส่งเสริม พัฒนาในเร่ืองระบบสุขภาพเพื่อประชาชนมีสุขภาวะท่ีดีอย่างย่ังยืน 4. พฒั นาระบบการบริหารการศึกษาโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าลของการบริหารจัดการบา้ นเมืองทดี่ ี

เป้าประสงค์ 1. ผู้รับบริการไดร้ บั การศึกษา และการเรยี นรู้ ทมี่ คี ุณภาพ และมาตรฐานอยา่ งตอ่ เน่ือง 2. ผรู้ บั บรกิ ารไดพ้ ัฒนา ศักยภาพ ทงั้ ทางดา้ นรา่ งกาย และจิตใจ ตลอดจนรคู้ ณุ ค่าของศลิ ปวัฒนธรรม 3. ผลงานวจิ ยั ไดร้ ับการเผยแพรแ่ ละนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4. มีเครอื ขา่ ยเชือ่ มโยงกบั ภาคประชาสังคม เพ่ือดาเนนิ กจิ กรรมด้านต่างๆ รว่ มกัน 5. ระบบรหิ ารงานท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานเป็นทย่ี อมรับของผรู้ บั บรกิ าร

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 8

กลยทุ ธ์

1. สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาทุกระดบั 2. สง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารวชิ าการแก่ชมุ ชน และสงั คม 3. สง่ เสรมิ การทานบุ ารุง ศาสนา และศลิ ปวฒั นธรรม 4. พัฒนามาตรฐานหรือคุณภาพของผลผลิตตามอัตลักษณ์ 5. พัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพือ่ สนับสนนุ เอกลักษณ์และอตั ลักษณ์ 6. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การวจิ ัยและพัฒนา 7. สง่ เสริมการมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา 8. พัฒนาระบบบรหิ ารการศึกษาตามแนวทางหลักธรรมาภบิ าล

เอกลักษณ์ เปดิ โอกาสการเรียนรู้ และเสริมสร้างชุมชนสุขภาพ อตั ลกั ษณ์ ผลิตบัณฑติ ท่ีมคี วามรู้คคู่ ณุ ธรรม และยดึ ม่ันในจรรยาบรรณวชิ าชพี

ค่านยิ มร่วม

P – Prosperity การประสบผลสาเรจ็ H – Harmony ความปรองดองเปน็ หนึ่งเดยี ว E - Efficiency ความมปี ระสิทธิภาพ U – Utility การเป็นประโยชน์ A - Ability การมคี วามสามารถ L – Leadership การมีภาวะผู้นา B - Balance การรักษาสมดลุ T - Tradition การรกั ษาขนบธรรมเนียม H - Humanity ความมมี นษุ ยธรรม L - Logic การมเี หตุมผี ล

I - Intelligent ความฉลาดรอบรู้

C - Creativity ความคิดสรา้ งสรรค์

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 9

บุคลากรในสังกดั คณะสาธารณสุขศาสตร์

คณะผู้บรหิ ารคณะสาธารณสขุ ศาสตร์

คณบดีคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เดช สาราญจติ ต์ รองคณบดีฝ่ายบริหาร อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู รองคณบดีฝ่ายกิจการนกั ศกึ ษาและกจิ การพเิ ศษ อาจารย์จกั รกฤษ เสลา ผอู้ านวยการบณั ฑิตศึกษา อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู ผู้ชว่ ยคณบดีฝา่ ยวิชาการ และวจิ ัย ผู้ช่วยศาสตราจารยส์ นุ ารี ทะน๊ะเปก็ ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยนโยบายและแผน รองศาสตราจารย์ ดร.วฒั น์ บุญกอบ ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร.จันทรจ์ ารี เกตุมาโร ผชู้ ่วยคณบดฝี ่ายสวสั ดิการ อาจารยส์ พุ ตั รา อศั วไมตรี ผชู้ ่วยคณบดฝี ่ายประชาสัมพันธ์ อาจารย์ ดร.ม่ิงขวัญ ศริ ิโชติ

คณาจารย์คณะสาธารณสุขศาสตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เดช สาราญจติ ต์ - ปร.ด. สงั คมวิทยา มหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2550 - กศ.ม. สุขศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ พ.ศ. 2527 - กศ.บ. สุขศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ พ.ศ. 2522

รองศาสตราจารย์ ดร.วัฒน์ บุญกอบ - ปร.ด. การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2552 - M.S. Health Education, The City University of New York, USA พ.ศ. 2527 - กศ.บ. พลศกึ ษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2519

รองศาสตราจารย์ ดร.จันทร์จารี เกตมุ าโร - ปร.ด. การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2555 - ศษ.ม. สุขศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2540 - ค.ม. พลศึกษา จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ. 2537 - ศษ.บ. สขุ ศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2530 - ศษ.บ. พลศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง พ.ศ. 2524

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 10

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ถาวร มาตน้ 11 - ปร.ด. อายรุ ศาสตร์เขตร้อน มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2549 - วท.ม. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2541 - สศ.บ. บริหารสาธารณสุข มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2534 - สศ.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2531 - ส.บ. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล พ.ศ. 2531

อาจารย์ ดร.มงิ่ ขวัญ ศิริโชติ - ส.ด.การส่งเสรมิ สขุ ภาพ มหาวิทยาลัยเกรกิ พ.ศ.2561 - ศษ.ม. การบรหิ ารการศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง พ.ศ.2544 - ศษ.บ สขุ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2552 - คบ. บรรณารักษศาสตร์ วิทยาลยั ครบู ้านสมเดจ็ เจ้าพระยา พ.ศ.2527

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ เพชรมณี - ส.ด. สขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ.2545 - กศ.ม. สขุ ศกึ ษาและพฤตกิ รรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมติ ร พ.ศ.2534 - ส.บ. สาธารณสุขชมุ ชน มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช พ.ศ.2560 - ศษ.บ. วิชาเอก สขุ ศกึ ษา วชิ าโท กฎหมาย มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง พ.ศ.2527

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สนุ ารี ทะนะ๊ เปก๊ - วท.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล พ.ศ. 2555 - วท.บ. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2552

อาจารย์ ดร.สาโรจน์ นาคจู - ส.ด. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ พ.ศ. 2563 - วท.ม. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล พ.ศ. 2552 - วท.บ. สาธารณสุขศาสตร์ (อนามยั ชมุ ชน) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2546 - ศศ.บ. สารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2553

อาจารย์ ดร.มงคล รชั ชะ - ปร.ด. อาชวี อนามยั และอนามยั สงิ่ แวดลอ้ ม มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2564 - วท.ม. สขุ ศาสตร์อตุ สาหกรรมและความปลอดภัย มหาวทิ ยาลยั มหิดล พ.ศ. 2556 - ส.บ. อาชีวอนามัยและความปลอดภยั มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 - วท.บ. เทคโนโลยชี วี ภาพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พ.ศ. 2546

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY

อาจารยจ์ กั รกฤษ เสลา - วศ.ม. วิศวกรรมความปลอดภยั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2559 - ส.บ. อาชวี อนามยั และความปลอดภยั มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552 - วท.บ. ภมู ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. 2548

อาจารย์อนุ สรุ าช - วท.ม. สขุ ศาสตร์อตุ สาหกรรมและความปลอดภยั มหาวิทยาลยั มหดิ ล พ.ศ. 2555 - พย.บ. พยาบาลศาสตร์ วิทยาลยั พยาบาลสภากาชาดไทย พ.ศ. 2548

อาจารยช์ ุนกิ า แจ่มจารสั - MSc Public Health, Brunel University, UK พ.ศ. 2558 - ศษ.บ. สุขศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง พ.ศ. 2556

อาจารย์สพุ ตั รา อัศวไมตรี - ส.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวยิ าลัย พ.ศ. 2560 - ส.บ. การจดั การสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลยั บูรพา พ.ศ. 2558

เจ้าหนา้ ที่คณะสาธารณสุขศาสตร์

นางสาวสธุ กี านต์ คงอานาจ เจ้าหนา้ ท่บี ริหารงานทั่วไป ชานาญการ

(ปฏิบัตริ าชการหวั หน้าสานกั งานเลขานุการคณะสาธารณสขุ ศาสตร)์

นางสาวศริลลา คงรกั ษ์ เจา้ หนา้ ทบี่ รหิ ารงานทัว่ ไป ปฏิบัติการ

นางสาวประภสั สร ศรเี จรญิ นักวิชาการเงินและบญั ชี ปฏิบัตกิ าร

นางสาวอิสราภร สายกลิ่น นกั วชิ าการศึกษา ปฏิบตั กิ าร

นางสาวมรรษมน อินธกรจินดา นักวชิ าการโสตทศั นศึกษา ปฏบิ ัติการ

นางสาวศศชิ า ตรงชเู กยี รติ นักวทิ ยาศาสตร์ ปฏิบตั กิ าร

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 12

สาขาวิชาที่เปดิ สอนในระดับปริญญาโท

1. ชือ่ หลกั สูตร

รหสั หลักสูตร : 25530071100208

ภาษาไทย : หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาบรหิ ารสาธารณสขุ

ภาษาองั กฤษ : Master of Public Health Program in Public Health Administration

2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวิชา : สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑติ (บริหารสาธารณสุข) ภาษาไทย : Master of Public Health (Public Health Administration) ภาษาองั กฤษ : ส.ม.(บริหารสาธารณสขุ ) อักษรยอ่ ภาษาไทย : M.P.H. (Public Health Administration) อกั ษรย่อ ภาษาอังกฤษ

3. วิชาเอก -

4. จานวนหน่วยกิตท่เี รียนตลอดหลกั สตู ร 37 หน่วยกติ

5. รปู แบบของหลักสูตร 5.1 รปู แบบ หลกั สตู รระดบั ปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเขา้ ศกึ ษา รบั นักศึกษาไทยหรือนักศึกษาต่างชาตทิ ม่ี ีความสามารถในการใช้ภาษาไทย 5.4 ความร่วมมอื กับสถาบนั อื่น  สถาบันจดั การเรียนการสอนโดยตรง

 ความรว่ มมือกับสถาบันการศึกษาตา่ งประเทศ  ความร่วมมอื กบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ของภาครฐั เอกชน หรือหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง เช่นการ

เชญิ เปน็ อาจารย์พิเศษ วิทยากร การเป็นท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์ การศกึ ษาดงู าน เปน็ ต้น 5.5 การใหป้ ริญญาแก่ผ้สู าเรจ็ การศกึ ษา  ปรญิ ญาเพียงสาขาวิชาเดียว

 ปรญิ ญามากกว่า 1 สาขาวชิ า  ปริญญาร่วมระหวา่ งมหาวิทยาลยั กับสถาบนั อดุ มศึกษาอน่ื ทม่ี ีข้อตกลงรว่ มมือ

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 13

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพจิ ารณาอนมุ ตั ิ/เห็นชอบหลกั สตู ร

 หลกั สูตรใหม่ พ.ศ..........- .........

หลักสูตรใชบ้ งั คบั ภาคการศึกษา.........-………..ปกี ารศกึ ษา.........- .........  หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565 หลกั สตู รใช้บังคบั ภาคการศึกษา 1 ปีการศกึ ษา 2565 ปรับปรุงจากหลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าบรหิ ารสาธารณสขุ (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ.2560)  ทปี่ ระชมุ สภามหาวิทยาลัยรามคาแหงวาระท่ี 5.17 ครั้งท่ี 1 / 2565 เม่ือวันท่ี 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2565

 สป.อว. (สานักงานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม)

รบั รอง/เห็นชอบหลกั สตู ร เมอื่ วันท.ี่ ...............เดือน.......................พ.ศ...............

 สานกั งานวิชาชีพ /องคก์ รวิชาชีพ รบั รอง/เห็นชอบหลกั สตู ร

เมอื่ วันท.่ี ...............เดอื น.......................พ.ศ..............

7. ความพรอ้ มในการเผยแพรห่ ลกั สตู รท่ีมีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รบั การเผยแพร่วา่ เป็นหลกั สูตรท่มี ีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ

ระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2552 ในปกี ารศึกษา 2566

8. อาชีพท่สี ามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศกึ ษา 8.1 นักบริหารสาธารณสุขทเี่ ป็นผนู้ าการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาองคก์ รสาธารณสุขภาครัฐและ

เอกชน 8.2 นกั วชิ าการสาธารณสุข 8.3 นกั วิจัยและพฒั นาทางด้านท่เี ก่ยี วข้องกับงานสาธารณสุข 8.4 นกั บริหารงานในองค์กรในลกั ษณะอน่ื ๆ ที่เกย่ี วข้องเช่นองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 8.5 ครูอาจารยใ์ นสาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ และสาขาวิชาทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 8.6 นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนดา้ นระบบสขุ ภาพ

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 14

9. อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร

ลา ช่ือ – สกุล ตาแหนง่ วฒุ ิ สาขาวิชา สถานศกึ ษา ประ ปีที่สาเรจ็ ดับ ทาง การศึกษา เทศ การศึกษา

วิชาการ ไทย 2563 ไทย 2552 1 นายสาโรจน์ นาคจู อาจารย์ ส.ด. สาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ไทย 2546 ไทย 2553 วท.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ไทย 2561 ไทย 2544 วท.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ไทย 2552 ศศ.บ. สารสนเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช ไทย 2527 ไทย 2549 2 นางมง่ิ ขวัญ ศิรโิ ชติ อาจารย์ ส.ด. การส่งเสรมิ สขุ ภาพ มหาวิทยาลยั เกริก ไทย 2541

ศษ.ม. การบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ไทย 2534 ไทย 2531 ศษ.บ. สุขศึกษา มหาวิทยาลยั รามคาแหง ไทย 2531

คบ. บรรณารักษศาสตร์ วทิ ยาลัยครูบา้ นสมเด็จเจ้าพระยา

3 นายถาวร มาตน้ ผู้ชว่ ย ปร.ด. อายรุ ศาสตรเ์ ขตรอ้ น มหาวิทยาลยั มหิดล

ศาสตราจารย์ วท.ม. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล

(บรหิ ารสาธารณสขุ )

สศ.บ. บรหิ ารสาธารณสขุ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช

สศ.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช

ส.บ. สาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล

10. สถานท่ีจัดการเรยี นการสอน

มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง

11. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพฒั นาท่ีจาเปน็ ต้องนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสูตร

11.1 สถานการณ์หรือการพฒั นาทางเศรษฐกิจ แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ด้านสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิ ศ (Prevention & Promotion Excellence) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 บริการเป็นเลิศ (Service Excellence)ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) ยุทธศาสตร์ท่ี 4 บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence) ซึ่งเป้าหมาย กระทรวงสาธารณสุขคือ “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพย่ังยืน” เพื่อให้สอดรับกับ การจัดทายุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ใช้ในการขับเคล่ือนและพัฒนาประเทศ ให้บรรลุตามวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” เพราะที่ผ่านมาประเทศไทยไม่เคยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของ ประเทศในระยะยาวเพ่ือใช้ขับเคลื่อนประเทศไปสู่เป้าหมายท่ีเป็นที่ยอมรับร่วมกันทั้งประเทศ การขยายตัว และการแข่งขันทางเศรษฐกิจทั้งในและ ต่างประเทศ ส่งผลให้มีการนาเทคโนโลยใี หม่ๆ เข้ามาช่วยพัฒนางาน

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 15

ในด้านการสาธารณสุข ทั้งน้ีการชะลอตัวลงทางด้านเศรษฐกิจของประเทศไทยตามภาวะเศรษฐกิจโลก ก่อให้เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจต่าง ๆ เช่น การตกงาน การว่างงาน การขาดรายได้มาจุนเจือครอบครัวมี ผลกระทบต่อปัญหาสุขภาพ การสร้างความม่ันคงทางเศรษฐกิจและส่งเสริมความสามารถในการแ ข่งขัน จะส่งผลให้เกิดการจ้างงานเพ่ิมข้ึน อย่างไรก็ตามการพัฒนาเหล่าน้ีก็ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนใน หลายด้าน จึงควรสร้างความเข็มแข็งของการบริหาร ตามนโยบายของรัฐเพ่ือการขับเคล่ือนฐานรากอย่าง ย่ังยืน ดังน้ันสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในด้านการสาธารณสุข จึงต้องผลิตบุคลากรเพื่อสนับสนุน นโยบายดา้ นระบบสุขภาพใหเ้ กดิ เป็นรูปธรรม สกู่ ารพฒั นาท่ยี ั่งยนื

จากที่กล่าวมาน้ันคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง จึงเห็นความสาคัญในการพัฒนา บุคลากรทางสาธารณสขุ เพอ่ื เปน็ ผ้นู าและสามารถบริหารงานสาธารณสุข ตามความตอ้ งการของประเทศได้

11.2 สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมได้แก่ ประชากร ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพัฒนาประเทศอย่างมีทิศทาง จาเป็นต้องมีความชัดเจน เพ่ือให้หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีภารกิจ สามารถกาหนดแนวทางและจัดสรรหน้าท่ีความรับผิดชอบในการ ดาเนินงานพัฒนา อันเป็นการลดความซ้าซ้อน ลดการขาดความเป็นเอกภาพ เพราะวัฒนธรรมเป็นเคร่ือง กาหนดวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคม การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมจึงเก่ียวข้องเชื่อมโยงกับสภาพ ปัญหาสังคมของประเทศ จากปัญหาสุขภาพในครอบครัว และภาวะความเจ็บป่วย หรือตายก่อนวัยอันควร อนั เกิดจากการมพี ฤติกรรมเส่ยี งหรอื พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการใช้ยาและสารเสพติดทรี่ ะบาด อย่างหนักในเยาวชนและวัยแรงงาน ปัญหาอาชญากรรม อุบัติเหตุและการขาดความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สิน รวมทั้งโรคอุบัติการณ์ใหม่ เช่น โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส ( COVID-19) ท่ีมีผลกระทบต่อชีวิตและ ความเป็นอยู่ของประชาชน ทาให้เกิดความอ่อนแอทางสังคมท่ีเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต การเรียนรู้ค่านิยมที่ผิด ๆ จนเกิดความเส่ือมถอย ประกอบกับระบบสขุ ภาพไทย ยงั ขาดความเปน็ ธรรม ความเสมอภาค ความรับผดิ ชอบ การสร้างพลังทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีเข้มแข็ง เป็นการพัฒนาระบบบริการสุขภาพอย่างหน่ึง ตลอดจนน้อมนาแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางการพัฒนาและยึดหลักท่ีว่า "สุขภาพดี เป็นผลมาจากสังคมดี" โดยมีการวางแผนเชิงกลยุทธ์และบริหารจัดการระบบสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือรองรับกับสถานการณ์การเปล่ียนแปลงของโลกในปัจจุบันและอนาคต จะเป็นการสร้างระบบคุณค่าและ แรงจูงใจ อันเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันแก่บุคลากรทางสาธารณสุข ให้เกิดความรู้ สร้างประสบการณ์ในการ เรียนรู้ เกิดความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตามที่ตนเองได้รับ เพ่ือเก้ือกูลต่อสังคม และเพื่อ สนับสนุนให้นาองค์ความรู้ ทักษะความสามารถไปประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นวัฒนธรรมการเรียนรู้ในองค์กรทุก ระดับ รวมทั้งเพื่อมุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียงสร้างให้ประชาชนมีสุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุข โดยมุ่งหวังว่าระบบสุขภาพจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในการดารงชีวิตของประชาชนอย่างท่ัวถึงและย่ังยืน ตลอดไป

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 16

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1และ 11.2 ตอ่ การพัฒนาหลักสูตรและความเกยี่ วข้องกับพนั ธกจิ ของสถาบนั 12.1 การพฒั นาหลกั สูตร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง ได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตร

โดยวิเคราะห์จากผลกระทบของสถานการณ์ภายนอกที่กล่าวมาน้ันและจากประกาศกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 138 ตอนพิเศษ 144 ง หน้า 2 เมื่อ 30 มถิ ุนายน 2564 ในการดา้ นการสร้างบัณฑิตและพัฒนากาลังคนได้กาหนดปรชั ญาการอดุ มศึกษาไทยและ ระบบอุดมศึกษาใหม่ด้านการสร้างบัณฑิตและพัฒนากาลังคน ไว้ดังน้ี การอุดมศึกษาไทย มุ่งสร้างบัณฑิตและ พัฒนากาลังคนในทุกช่วงวัย (Lifelong Learning) ให้เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม และมีสมรรถนะ (Competency) ที่จาเป็น และรองรับสังคมและเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนไปอย่างฉับพลัน (Disruption) ทั้งใน ปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดี รวมถึงเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน ( Competitiveness) ของประเทศในระดับสากล และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน แต่ในขณะเดียวกัน ก็มีความรักและ ภูมิใจในสถาบัน วัฒนธรรม และประเพณีท่ีดีงามของชาติ จึงได้พัฒนาหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนาศักยภาพของ บุคคล ส่งเสริมความรอบรู้ทางด้านสาธารณสุขศาสตร์และการบริหารสาธารณสุขเพ่ือสร้างสมรรถนะท่ีพึง ประสงค์ของผู้บริหารสาธารณสุข ให้รู้จักเลือกใช้เทคนิคการบริหาร รวมทั้งสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ สู่การพัฒนาระบบสุขภาพ และมีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัยอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม รู้จักนาความรู้คู่คุณธรรมในวิชาชีพมาใช้ด้วยจิตสานึกท่ีดี มีภาวะผู้นา เป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงชีพและ ปฏบิ ตั งิ าน

12.2 ความเกีย่ วข้องกบั พันธกิจของสถาบนั พันธกิจของมหาวิทยาลัยรามคาแหง มุ่งขยายโอกาสทางการศึกษาเพ่ือให้เกิดความเสมอภาค ตลอดจนมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้คู่คุณธรรม พัฒนาหลักสูตรให้ได้มาตรฐาน มีความยืดหยุ่นและความ หลากหลายในการปฏิบัติ ประสานความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและ เอกชนท้ังในและต่างประเทศ เพื่อนาความรู้สู่ปวงชนและมีความเป็นสากล จัดระบบการศึกษาเพ่ือปวงชนใน หลายรูปแบบ การร่วมมือแลกเปล่ียนทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษา หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ทั้งในและตา่ งประเทศ นาวิชาการสคู่ วามเปน็ เลศิ

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 17

13. ความสมั พนั ธ์กบั หลักสูตรอนื่ ทเ่ี ปดิ สอนในคณะ/ภาควชิ าอน่ื ของสถาบัน (เชน่ รายวิชาทเ่ี ปิดสอน เพือ่ ให้บริการคณะ/ภาควชิ าอ่นื หรือตอ้ งเรียนจากคณะ/ภาควชิ าอื่น)

13.1 รายวิชาในหลักสตู รทเ่ี ปิดสอนโดยมหาวิทยาลยั /บณั ฑิตศกึ ษา จานวน 1 วชิ า หมวดวิชาบงั คับบณั ฑติ ศกึ ษา จานวน 1 รายวชิ า - RAM 6001 ความรู้ค่คู ณุ ธรรมสาหรบั บณั ฑิตศกึ ษา

13.2 รายวิชาในหลักสูตรท่ีเปิดสอนให้คณะ/ภาควิชา/หลักสตู รอนื่ -ไมม่ ี

13.3 การบริหารจัดการ 13.3.1 มีอาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบในรายวชิ า 13.3.2 เชญิ อาจารย์พิเศษภายนอกบรรยายไม่เกนิ รอ้ ยละ50 13.3.3 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร ทาหน้าท่ปี ระสานงาน มอบหมายภาระหนา้ ที่การสอนแก่

อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบในแต่ละรายวชิ า โดยดาเนนิ การดังน้ี (1) ประชุมเตรยี มการมอบหมายอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบและผเู้ กย่ี วขอ้ ง (2) จดั อบรมอาจารย์และผรู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรรายวิชา (3) จัดบคุ ลากร/อาจารยผ์ สู้ อน/ผ้เู ก่ียวขอ้ งเพื่อประสานงานใหด้ าเนินการเรยี นการสอน (4) จดั สถานท่ี สอื่ เทคโนโลยี ตารา ใหพ้ รอ้ มและเพียงพอ (5) จัดกระบวนการเรียนการสอนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ตรงตามเนื้อหา การวัดและประเมินผลให้ สอดคลอ้ งกับรายวชิ าทก่ี าหนดไว้ (6) จัดประสบการณก์ ารเรยี นรูน้ อกสถานท่ีเพ่มิ เตมิ ให้เหมาะสมกับหลกั สตู ร

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 18

หมวดที่ 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรชั ญา ความสาคัญ และวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร

1.1 ปรชั ญา

1.1.1 ปรชั ญามหาวิทยาลัยรามคาแหง

“ส่งเสริมความเสมอภาคทางการศึกษา ผลติ บัณฑิตท่มี ีความรู้คคู่ ณุ ธรรม”

1.1.2 ปรัชญาของหลกั สตู ร มุ่งเน้นการผลิตผู้นาท่ีจะเป็นผู้บริหารด้านสาธารณสุขท่ีมีวิสัยทัศน์ มีความรู้คู่คุณธรรมมีทักษะ

ทางปญั ญา มีทกั ษะในการส่อื สารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมในการพฒั นาระบบงานสาธารณสุข เพื่อคุณภาพชวี ิตทดี่ ีและยง่ั ยนื ของประชาชน

1.2 ความสาคัญ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารสาธารณสุข เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตมหาบัณฑิต

ให้มีความรู้ ความสามารถในการบริหารงานสาธารณสุขท้ังภาครัฐ เอกชนและท้องถ่ิน บนพื้นฐานของหลักวิชาการ ภายใตบ้ ริบทของชุมชน ท้องถิน่ ทรี่ บั ผิดชอบและตอบสนองยทุ ธศาสตรร์ ะบบสุขภาพแหง่ ชาติ โดยสามารถวเิ คราะห์ วจิ ัย สรา้ งองค์ความรู้ มวี สิ ยั ทัศน์กวา้ งไกล มีคุณธรรม จริยธรรมและเป็นผู้นาการพัฒนาสาธารณสุขท้ังระดบั ทอ้ งถน่ิ และระดบั ชาตติ ามพันธกจิ ของมหาวิทยาลยั รามคาแหงท่ีตอ้ งการกระจายความร้สู ชู่ มุ ชน

1.3 เหตุผลในการปรับปรุงหลักสูตร เหตุผลสาคญั ในการปรบั ปรงุ หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑติ สาขาบริหารสาธารณสุข เพ่ือให้

เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2558 โดยกาหนดให้มีการปรับปรุงหลักสูตรใน รอบ 5 ปี อีกท้งั ยังสอดรับกับการบรหิ ารสาธารณสุขยุคใหมบ่ นพ้ืนฐานของหลักวิชาการ ใหก้ า้ วทันการเปล่ยี นแปลง สงั คม เศรษฐกิจ ทง้ั ในระดับครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และความรอบรู้ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพยคุ ชีวติ วถิ ีใหม่

1.4 วตั ถุประสงค์ เพ่ือผลิตบณั ฑิตใหม้ ีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. มีความรู้ ความสามารถ นาองค์ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการในระดับสูงและบริหารงาน สาธารณสุขได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

2. สามารถทาวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาหน่วยงาน สืบค้นข้อมูลวิชาการ คิดวิเคราะห์เพ่ือนาผลการวิจัยไปใช้ใน องค์การ สงั คมและชุมชนได้

3. มที กั ษะการบริหารจดั การ ประยุกตอ์ งค์ความรสู้ กู่ ารพฒั นาระบบสุขภาพแบบองค์รวมได้ 4. เป็นผู้นาการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการสุขภาพ ร่วมกับภาครัฐและเอกชน เพื่อการพัฒนาวิชาชีพ สาธารณสขุ 5. มีความรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื บรหิ ารงานด้านสาธารณสขุ ได้ 6. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จติ สาธารณะรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ผู้ร่วมงาน หนว่ ยงาน สงั คมและชุมชน

FACULTY PUBLIC HEALTH RAMKHAMHAENG UNIVERSITY 19

2. แผนพฒั นาปรบั ปรุง คาดว่าจะดาเนินการพฒั นาปรบั ปรุงให้แล้วเสร็จครบถว้ นภายใน 5 ปี

การพฒั นา/เปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตวั บง่ ช้ี 1. การพฒั นา ปรบั ปรุง หลักสตู รตามมาตรฐานท่ี 1. การปรับปรงุ หลักสตู รทุก 5 ปี 1. เอกสารการปรบั ปรุงหลกั สตู ร สกอ.กาหนด 2. การตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมินหลักสตู ร 2. รายงานการตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ หลกั สตู ร 2. การพัฒนาทรัพยากร ประกอบการเรียนการสอน 3. มีคณะกรรมการประเมนิ หลักสตู ร 3. คาสงั่ /การประชุมคณะกรรมการประเมินหลกั สตู ร

3. การพัฒนาคณาจารย์ 4. กาหนดคุณสมบัติอาจารยผ์ ู้สอนให้เป็นไป 4. เกณฑ์คณุ สมบัตอิ าจารย์ผสู้ อนตามเกณฑส์ กอ.