ม สย ดบ ลาล อ.ก มทรล กษ จ.ศร สะเกษ

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 351 แสง ชื่อทอ้ งถนิ่ อ่ืน : แกว้ (ล�ำปาง), ขางขาวตน้ เกล้ียง (เชยี งใหม่), ชุมแสง (ภาคกลาง, นครราชสมี า), กระเบยี น (กาญจนบุรี), แสง (อสี าน), อนั้ (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ตุมแซง (ส่วย-อ.ทา่ ตมู สรุ นิ ทร)์ Xanthophyllum lanceatum (Miq.) J. J. Sm. (วงศ์ Polygalaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไมต้ ้น สงู 5-15 ม. เปลือกเรยี บ ตน้ แก่แตกเป็นรอ่ งตามยาว ตามกิง่ ออ่ นและชอ่ ดอกมขี นสนั้ แนบกบั ผิว สเี หลอื ง อมน้�ำตาล ใบเด่ยี ว เรยี งสลับ รูปรแี กมรูปขอบขนาน หรือรปู ใบหอก ยาว 4-13 ซม. ปลายใบแหลม-เรยี วแหลม โคนใบแหลม-มน ผิวใบเกลย้ี งท้ังสองดา้ น ดา้ นบนมนั เงา ดา้ นลา่ งสีเขยี วนวล เน้อื ใบค่อนขา้ งหนา มเี สน้ แขนง ใบขา้ งละ 8-13 เส้น กา้ นใบยาว 3-7 มม. บวมพอง ช่อดอกแบบกระจะ ยาว 5-13 ซม. ตัง้ ขึน้ ออกตามปลายกิ่ง หรอื ซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลบี ดอกมอี ย่างละ 5 กลีบ กลีบเล้ียงสีส้มคลำ�้ รปู ไข่ ยาว 2-3.5 มม. มขี น กลีบดอก สีขาวหรือมีสมี ว่ งเรอื่ ๆ เม่อื ใกลโ้ รยจะเปลี่ยนเปน็ สีเหลืองคลำ�้ รูปใบหอกกลบั ยาว 7.5-10 มม. มีขนด้านนอกที่ ปลายกลบี -เกลีย้ ง สองกลีบดา้ นบนทโี่ คนกลีบด้านในแต้มขีดสเี หลอื ง และบานโค้งกลับ กา้ นดอกยอ่ ยยาว 1-2 มม. ผลทรงกลม กว้าง 1.7-3.5 ซม. ผิวเกลี้ยงสีเขยี วและมีนวล มี 1-2 เมลด็ ถน่ิ อาศัย ขึน้ ตามริมน้�ำในปา่ ดงดบิ และป่าผลดั ใบทอี่ ยใู่ นเขตทร่ี าบน้�ำท่วมถงึ แตช่ อบขึ้นในปา่ บ่งุ ปา่ ทามมากกว่า ทรี่ ะดบั ความสูงจากระดบั น้�ำทะเลไม่เกนิ 400 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมีนายน-เมษายน ผลแก่เดือนมิถุนายน- สิงหาคม กระจายพนั ธ์ุ พบไดง้ า่ ย ทว่ั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในบงั คลาเทศ เมยี นมาร์ ลาว กัมพชู า เวยี ดนาม คาบสมุทร- มาเลเซยี และเกาะสมุ าตรา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน สีมว่ ง รสหวานมัน (รสชาตคิ ล้ายผักหวานป่า) กนิ เปน็ ผกั สด ลวก จ้มิ นำ้� พรกิ ป่น ปงิ้ ปลา ลาบ ก้อย หรอื นึ่งกบั ปลา หรอื ใสแ่ กง (3, 6, 8, 12, 18, 19, 20, 21, 23, 24, 25, 26, 27).- สมุนไพร แกน่ ตากแดด ผสมดอก จนั ทน์ผา (Dracaena cochinchinensis) ตม้ น�้ำด่มื รกั ษาโรคมะเร็ง (6).- เปลอื กและแกน่ ตากแหง้ ต้มกับนำ�้ ใหง้ วด ผสมอาหารเปน็ ยาเบือ่ (8).- กาฝากไมแ้ สง ใช้เขา้ ยาอนื่ ๆ รกั ษาโรคข้ีปา้ งหมกั เหลือง (โรคดซี ่าน) (18).- แกน่ เขา้ ยาอน่ื ๆ รกั ษาโรคกระเพาะ (25).- เชื้อเพลงิ ไม้ ใช้ท�ำฟนื หรอื เผาถา่ น (11, 19, 21, 23).- ก่อสรา้ งหรอื เคร่อื งมอื เนอื้ ไม้ ใชท้ ำ� แอกไถนา (26).- ดา้ นอื่น นิยมขดุ ล้อมต้น น�ำมาปลกู เป็น ไม้ประดับสวน มที รงตน้ สวยงาม (18, 23).- เนื้อไมไ้ มแ่ ข็งแรง ปลวกและมอดชอบกิน (19).--- ผลสกุ ลงิ ชอบ กิน (23)

ปลอก กาบใบ

ปา่ บ่งุ ป่าทาม ภาคอีสาน 353 พังโพดใหญ่ ช่อื ท้องถ่ินอื่น : ผกั เอ้อื ง เอ้ือง เออ้ื งนำ้� (ภาคกลาง, ภาคใต)้ , ผักไผน่ ำ�้ (ภาคเหนอื ), หญา้ ควยงใู หญ่ (ไทด่าน- อ.โพธต์ิ าก หนองคาย), พังโพด พงั โพดใหญ่ เสลดพงั พอนนำ�้ (ไทลาว-อ.ศรีเชยี งใหม่ หนองคาย), ผักแผวทาม ผักแผวน้�ำ (อ.ศรสี งคราม นครพนม), ผักแพว (อ.กนั ทรารมย์ ศรสี ะเกษ), พงุ โพด (อ.เมือง ยโสธร) Persicaria attenuata (R. Br.) Soják subsp. pulchra (Blume) K. L. Wilson (วงศ์ Polygonaceae) ไม้น้�ำลม้ ลุก อายุหลายปี ลำ� ต้นตั้งตรงสงู ไดถ้ ึง 70 ซม. หรอื ทอดคลานตามพื้นดินหรือลอยปรมิ่ น้�ำ ยาวไดถ้ งึ 2 ม. ลำ� ตน้ มขี อ้ และปล้อง ปลอ้ งกลม กว้าง 0.3-2.5 ซม. ยาวไดถ้ งึ 15 ซม. ผิวเกลีย้ งหรอื มขี นประปราย ปลอ้ งท่ี อายุมากจะบวมโตข้นึ และกลวงด้านใน ใบเด่ียว เรียงเวียนรอบล�ำต้น ตั้งขนึ้ เล็กนอ้ ย รปู ใบหอก ยาว 8-20 ซม. กวา้ ง 2-5 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ โคนใบสอบ กา้ นใบยาว 0.5-1.5 ซม. ผิวใบมีขนหนานุ่มสีขาว ทงั้ สองด้าน เนือ้ ใบค่อนขา้ งหนาและนมุ่ มีเสน้ แขนงใบขา้ งละ 13-25 เส้น โคนก้านใบมีกาบใบ (leaf sheath) และปลอก (ocrea) เปน็ หลอด ปลอกยาว 2-5 ซม. มขี นยาวสีขาวหนาแน่น ปลายปลอกตัดตรง ทข่ี อบมขี น เปน็ ร้ิวยาวไดถ้ งึ 7 มม. ช่อดอกคลา้ ยหางกระรอก ออกท่ปี ลายก่งิ ต้ังขึ้น ยาวไดถ้ ึง 20 ซม. มขี น รวงชอ่ ดอกยาว 4-11 ซม. กลบี ดอก/กลบี รวม มี 5 กลบี สขี าว รูปไข่ ยาว 2-3 มม. อบั เรณูสขี าว-ชมพู เมล็ดรปู กลมแบนคลา้ ย เลนส์แวน่ ตา กวา้ ง 2.4-3 มม. สีดำ� ถ่นิ อาศัย ข้นึ ในท่ีโล่งแจง้ ตามพืน้ ทีช่ น้ื แฉะ คนู �้ำ รมิ หนองนำ้� ที่มรี ะดบั นำ้� ลึกไมเ่ กนิ 1 ม. ทค่ี วามสงู จากระดับน้�ำ ทะเลไม่เกนิ 1,000 ม. ออกดอกและตดิ ผลตลอดทง้ั ปี กระจายพันธ์ุ พบไดง้ ่ายทัว่ ประเทศไทย ตา่ งประเทศพบในเขตรอ้ นและกึง่ เขตรอ้ นในทวปี เอเชีย ออสเตรเลยี และ แอฟริกา การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน เปน็ ผักสด จม้ิ นำ�้ พรกิ หรอื กินแกลม้ กบั ป้ิงปลา (27).- สมุนไพร ทุกส่วน น�ำมาหนั่ แล้ว แช่น้ำ� ในบ่อเล้ียงปลา ช่วยรักษาบาดแผลของปลา (27).- ดา้ นอน่ื ทุกสว่ น เป็นอาหารววั -ควาย (26)

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 355 ผักตบชวา ช่อื ทอ้ งถ่นิ อน่ื : ผกั ตบชวา ผกั ตบป่อง สวะ (ภาคกลาง), ผกั ปอ่ ง (สุพรรณบุรี), ผกั บ่ง (นครราชสมี า), ผกั ตบ ผักตบชวา (อีสาน), ดบั บ่เป็น (อ.กนั ทรารมย์ ศรีสะเกษ) Eichhornia crassipes (Mart.) Solms (วงศ์ Pontederiaceae) ชือ่ พ้อง : - ไมน้ �้ำลม้ ลุก ทั้งตน้ ลอยท่ีผิวนำ�้ หรอื มีรากหยง่ั ยึดดนิ ท้องน�ำ้ สูง 20-70 ซม. มีหนอ่ และไหลแทงออกดา้ นข้าง ลำ� ตน้ สัน้ ซ่อนอยูใ่ นกาบใบ มีรากฝอยจำ� นวนมากจมอย่ใู ตน้ �ำ้ ใบเดีย่ ว เรียงกระจุกรอบ รปู ไขก่ วา้ ง หรอื รูปหัวใจ กว้าง 5-20 ซม. ยาว 7-25 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบกลม เวา้ รปู หัวใจ หรอื มน ผวิ ใบเกลย้ี งมันเงา มเี สน้ ใบ จำ� นวนมากเรยี งขนานกันเรมิ่ จากโคนใบ-ปลายใบ ก้านใบยาว 10-50 ซม. คอดท่ปี ลาย แตบ่ วมพองท่ีช่วง ลา่ งและมีเน้อื ดา้ นในอ่อนนุ่มคลา้ ยฟองนำ้� โคนก้านใบมใี บทลี่ ดรปู ติดอยู่ ชอ่ ดอกแบบชอ่ เชิงลด ต้ังขนึ้ กลางกอ ยาว 15-50 ซม. ร่วงชอ่ ดอกยาว 7-20 ซม. มดี อกย่อยสีม่วงออ่ น-ชมพู กลบี รวมมโี คนเชอ่ื มเป็นหลอด ยาว 1.5- 1.8 ซม. ปลายแยก 6 แฉก แบ่งเปน็ 2 ชั้นๆ ละ 3 แฉก รูปไขก่ ลับ ยาว 3-3.3 ซม. แฉกบน 1 อนั มขี นาดใหญ่ ทีส่ ุดและมีแต้มสีม่วงเขม้ และสเี หลืองตรงกลาง คล้ายแววมยรุ าขนนกยงู ไม่มกี ้านดอกย่อย ผลแบบแหง้ แล้วแตก (capsule) ถ่ินอาศยั ข้ึนตามทีโ่ ล่งแจง้ ในแหลง่ นำ�้ น่งิ -นำ้� ไหล หรือตามพ้นื ทชี่ น้ื แฉะ ทค่ี วามสงู จากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กนิ 500 ม. ออกดอกและตดิ ผลเกือบตลอดทั้งปี แตพ่ บมากชว่ งเดอื นพฤศจิกายน-เมษายน สว่ นใหญ่ขยายพันธุ์ตาม ธรรมชาติด้วยการแตกหนอ่ หรือไหล กระจายพันธ์ุ เป็นวัชพชื น้ำ� ท่มี ถี น่ิ กำ� เนดิ อยใู่ นประเทศบราซลิ ปัจจุบันแพรร่ ะบาดอยา่ งรนุ แรง ไปตามแหลง่ น�ำ้ ท่ัวประเทศไทย และในเขตรอ้ นและกึง่ เขตร้อนทว่ั โลก การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ นและชอ่ ดอกอ่อน รสหวาน เปน็ ผกั สด ลวก หรอื นึ่ง จิ้มน�้ำพริก จม้ิ ปน่ , ก้านใบตากแห้งแล้วน�ำ มาสานตระกรา้ หรือเคร่อื งจักสานตา่ งๆ ตกแตง่ บา้ น (15, 17, 18, 20).--- ดา้ นอ่นื ต้นสด สบั เปน็ อาหารหมู ววั ควาย, ใชห้ มกั ปุย๋ หรอื เพาะเห็ด (15, 17) การควบคุม กำ� จัดโดยการดึงหรอื ชอ้ นออกจากแหลง่ นำ้� ดว้ ยสวิง นำ� มาหมักเป็นปุ๋ย หรือใช้เล้ยี งสตั ว์ หรอื น�ำมาตาก แดดใหแ้ ห้งแลว้ ใช้ทำ� เช้อื เพลิง ควรปอ้ งกนั การปลอ่ ยนำ�้ เสียจากชุมชน คอกสัตวเ์ ลย้ี ง หรือพ้ืนทเี่ กษตร ลงสู่ แหลง่ น้�ำโดยตรง เพราะเปน็ การเพิม่ ปรมิ าณธาตุอาหารในแหล่งนำ้� ธรรมชาติ อนั จะท�ำให้ผักตบชวาขยายพันธ์ุได้ อยา่ งรวดเร็ว

ผล ตน้ ที่ยงั มชี วี ิตอย่ใู นช่วงฤดแู ลง้

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 357 ผักฮิ้น ชื่อทอ้ งถนิ่ อนื่ : ผักเขยี ด ขาเขียด นิลบล (ภาคกลาง), ผักเปด็ (ชลบุร)ี , ผักร้ิน (ภาคใต้), ผักเผ็ด (นครราชสมี า), ผักฮนิ ผกั ฮิ้น ผกั ฮนิ้ นำ้� (ภาคเหนอื ), ผักฮ้นิ (อบุ ลราชธานี), ผกั อฮี ิน ผกั อฮี ีน (อ.โพธ์ติ าก, อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย, อ.ธาตพุ นม นครพนม) Monochoria vaginalis (Burm.f.) C.Presl ex Kunth (วงศ์ Pontederiaceae) ชอ่ื พอ้ ง : Monochoria vaginalis var. plantaginea (Roxb.) Solms ไม้น�ำ้ ลม้ ลุก ทัง้ ตน้ ลอยทผ่ี ิวน�้ำหรือมรี ากหย่ังยึดดนิ ทอ้ งนำ้� สงู 10-50 ซม. มลี กั ษณะทวั่ ไปคลา้ ย ผกั ตบชวา (Eichhornia crassipes) แตกตา่ งกนั ที่ ผกั ฮ้ิน จะมลี ำ� ตน้ ทย่ี ดื ยาว 5-30 ซม. (ลำ� ตน้ ของผักตบชวาสน้ั มากและ ซ่อนอยู่ในกาบใบ) และผอมเพียว ใบผักฮน้ิ รปู ไข่หรอื รูปใบหอกแคบ กวา้ ง 2-4.5 ซม. ยาว 3-12 ซม. (มขี นาด เลก็ และเรยี วยาวกวา่ ผักตบชวา) มีช่อดอกออกทีป่ ลายลำ� ตน้ ชอ่ ดอกยาว 3-6 ซม. (สัน้ และเลก็ กว่าผกั ตบชวา) มีก้านดอกย่อยยาว 2-10 มม. สว่ นใหญ่ดอกมสี ีม่วงเขม้ หายากทม่ี สี มี ่วงอ่อน-สีขาว (แฉกกลีบรวมด้านบน ไม่มแี ววมยุราเหมือนดอกผักตบชวา) แฉกของกลบี รวมยาว 0.5-1.5 ซม. (สั้นกวา่ หรอื มขี นาดของดอกท่เี ลก็ กวา่ ผกั ตบชวา) ถิน่ อาศยั ข้ึนตามที่โล่งแจง้ ในแหลง่ นำ�้ น่งิ นาข้าว หรอื ตามแอง่ นำ้� ขังขนาดเลก็ ทีม่ รี ะดบั น�้ำลึกไมเ่ กนิ 50 ซม. หายากตามแหล่งน้�ำลึกหรือนำ�้ ไหล ข้ึนท่คี วามสงู จากระดบั นำ้� ทะเลไม่เกิน 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดอื นสงิ หาคม- ตลุ าคม ติดผลเดอื นกนั ยายน-พฤศจิกายน ช่วงฤดแู ล้งในพน้ื ท่นี ้�ำแหง้ ส่วนใหญจ่ ะแหง้ ตายไป มเี พยี งบางส่วนทย่ี งั สามารถอย่รู อดไดต้ ามร่องดิน/ก้นแอง่ น�้ำท่ยี ังคงมีความช้ืนเหลอื อยู่ กระจายพนั ธุ์ พบไดง้ ่าย กระจายพันธทุ์ วั่ ประเทศไทย มักพบเปน็ วชั พืชตามนาข้าว เมลด็ มขี นาดเล็กมาก (ยาว 1 มม.) ติดไปกับดิน น�้ำพัดพา หรอื ถกู ววั -ควายกินแลว้ ถ่ายออกมา ช่วยแพร่กระจายไปยังแหลง่ น�้ำอ่นื ๆ ได้ดี ต่างประเทศพบในเขตร้อนของทวีปแอฟริกาและออสเตรเลีย และพบทัง้ ในเขตรอ้ นและเขตอบอุ่นในทวปี เอเชีย การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น เปน็ ผักสด จิ้มนำ้� พริก ปน่ หรือซุบ, แกงกบั หน่อไม้ดอง (26, 27)

ชอ่ ดอก

ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 359 แหนปากเป็ด ชอื่ ทอ้ งถ่ินอ่นื : ดีปลนี ้�ำ แหนปากเป็ด (ภาคกลาง) (วงศ์ Potamogetonaceae) Potamogeton nodosus Poir. ชอื่ พ้อง : Potamogeton malaianum Miq. ไมน้ �้ำลม้ ลกุ อายหุ ลายปี มีเหง้าทอดคลานอยใู่ นดนิ ทอ้ งนำ�้ และชูลำ� ต้น กงิ่ กา้ นและใบข้ึนมาลอยปร่ิมผวิ นำ้� ล�ำต้นท่ีชูข้นึ มายาวได้ถึง 3 ม. ก่งิ มีข้อ-ปลอ้ ง กลม หนา 2-6 มม. เกล้ยี ง สนี ้�ำตาลอมชมพู มหี ูใบขนาดใหญ่ รปู ขอบขนาน ยาว 2-6 ซม. ติดคงทน ใบเด่ยี ว เรียงสลับหรอื ตรงข้าม รูปร-ี รปู ขอบขนานแกมรี ยาว 5-25 ซม. ปลายและโคนใบมน-แหลม ขอบใบเรียบ ผิวเกลี้ยง มเี ส้นใบเรยี งขนานกันตามแนวยาว 7-15 เส้น เสน้ ใบ ย่อยเรยี งแนวขวาง ลายถ่ีคลา้ ยตาข่าย ใบทีอ่ ยูใ่ ต้นำ�้ สนี ำ�้ ตาล มรี ูปรา่ งเรียวยาวกวา่ และมีเนือ้ ใบบางโปร่งแสง มากกวา่ ใบทล่ี อยอยู่ท่ีผิวนำ�้ ซ่งึ จะมสี ีเขียว กา้ นใบยาว 3-26 ซม. ชอ่ ดอกแบบช่อเชงิ ลด ออกท่ปี ลายกง่ิ เป็นช่อ ตัง้ ข้ึนชเู หนือนำ�้ ยาว 5-15 ซม. มีร่วงชอ่ ดอกยาวประมาณ 2-5 ซม. สีน้�ำตาลอมชมพู ดอกยอ่ ยขนาดเล็กมาก กว้าง 3 มม. เรยี งอดั กนั แน่นรูปทรงกระบอก มีกลบี รวมรูปกลม 4 กลีบซ้อนกันแนน่ ผลรปู ไขก่ ลบั ยาว 3-4 มม. ถ่ินอาศัย ข้นึ ตามท่ีโลง่ แจ้งในแหลง่ นำ้� นง่ิ หรอื ลำ� ธารที่มีนำ�้ ไหลเออ่ื ย และมีระดบั นำ้� ลึกไม่เกนิ 3 ม. ท่คี วามสงู จาก ระดบั นำ้� ทะเลไม่เกนิ 500 ม. ออกดอกและตดิ ผลเกือบตลอดทงั้ ปี กระจายพันธุ์ กระจายพันธ์ทุ ่ัวประเทศไทย แตพ่ บไม่บ่อยนัก ส่วนใหญพ่ บตามบงึ หรืออา่ งเกบ็ นำ้� ทีม่ นี ำ�้ ตลอดปี ตา่ งประเทศพบท้ังในเขตร้อนและเขตอบอนุ่ ทว่ั โลก การใช้ประโยชน์ -

ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 361 ตีนจ้�ำ ชื่อท้องถน่ิ อนื่ : ตนี จ�้ำ ตีนจ่ำ� จมุ่ จ่ำ� กระโดนเต้ีย (ชัยภมู ิ, อ.เมือง มหาสารคาม), ตนี จ�ำ กะโหลก (อ.ทุ่งเขาหลวง ร้อยเอ็ด), จมุ จำ�่ (อ.เชียงขวญั ร้อยเอ็ด, อ.มญั จาคีรี ขอนแกน่ ) Ardisia aprica H. R. Fletcher (วงศ์ Primulaceae) ช่อื พอ้ ง : - ไม้พุ่มเตย้ี สูง 10-30 ซม. มเี หง้าใตด้ ิน มไี หลยาวได้ถึง 1 ม. มกั ข้ึนเป็นกลมุ่ ใหญ่ ตามกง่ิ ออ่ น ชอ่ ดอก และ ก้านใบเกล้ยี ง ใบเดย่ี ว เรยี งเวยี น รปู ไขก่ ลบั หรือรปู รี ยาว 6-15 ซม. (คลา้ ยใบ กระโดน Careya arborea) ปลายใบกลม-แหลม ขอบใบเรยี บ โคบใบสอบเรยี ว ผิวใบเกลี้ยง เนือ้ ใบค่อนขา้ งหนา มีเสน้ แขนงใบข้างละ 6-10 เสน้ มีรอยกดตามแนวเสน้ แขนงใบทีผ่ ิวใบด้านบน กา้ นใบยาว 5-10 มม. ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 3-6 ซม. ออกตามซอกใบ ดอกย่อยควำ่� หน้าลง กลบี เลีย้ งและกลบี ดอกอย่างละ 5 กลบี กลีบดอกสีชมพูเขม้ - สชี มพู รูปไข่ ยาว 5 มม. ปลายค่อนขา้ งเรียวแหลม เกสรเพศผู้สเี หลอื ง มี 5 เกสร ทงั้ หมดหันเข้ามาแตะกนั เป็น พ่มุ แหลม ก้านดอกยาว 2-4 มม. ผลรปู ทรงกลมแป้น บุม๋ ด้านบน-ลา่ ง กว้าง 6-8 มม. สงู 3-4 มม. มีกลีบเล้ียงติด แนบทีข่ ว่ั ผล ผวิ เกลย้ี งสมี ว่ ง เมื่อสุกสีด�ำ เน้อื ฉ�ำ่ นำ้� มี 1 เมล็ด ถิน่ อาศยั ขนึ้ ตามท่ีมีแสงรำ� ไร ในป่าดงดบิ แลง้ ใกล้ชายน้�ำในเขตทีร่ าบน้�ำท่วมถึง หรือบริเวณป่าบงุ่ ป่าทามที่ต่อ กับป่าดงดบิ แล้ง ทีค่ วามสูงจากระดบั นำ�้ ทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดือนมกราคม-มนี าคม ผลแก่เดอื น เมษายน-มิถุนายน กระจายพันธ์ุ ตีนจำ�้ เป็น พชื ถิ่นเดียว พบเฉพาะในประเทศไทย และพบค่อนขา้ งยาก กระจายพนั ธ์ุในจงั หวัด ชยั ภูมิ นครราชสมี า ศรีสะเกษ ขอนแก่น มหาสารคาม และร้อยเอด็ หรือในเขตลุม่ น�้ำชีและมลู เทา่ น้ัน การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน รสมนั เป็นผักสด จ้ิมน้ำ� พริก ปลาแดกบอง หรือกินแกลม้ กับป้งิ ปลา, ผลสกุ สีมว่ งอมดำ� มี รสหวาน กนิ เป็นผลไม้ (10, 11, 12, 13, 14)

ดอกเพศผู้ ผลด้านใน

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 363 ค�ำไก่ ชื่อทอ้ งถ่นิ อนื่ : มะองนก (ภาคเหนอื ), ประค�ำไก่ มะค�ำไก่ มะค�ำดไี ก่ (ภาคกลาง), มักค้อ (ขอนแกน่ ), คำ� ไก่ เซียงคำ� (อ.เมือง มหาสารคาม) Putranjiva roxburghii Wall. (วงศ์ Putranjivaceae) ชอ่ื พอ้ ง : Drypetes roxburghii (Wall.) Hurusawa ไม้ต้น ไมผ่ ลัดใบ สูง 10-20 ซม. เปลอื กบางเรยี บสีเทาอมนำ้� ตาล ตามกงิ่ ออ่ น ช่อดอกและกา้ นใบอ่อนมขี นส้นั ใบเด่ียว เรยี งสลับระนาบเดยี ว รูปขอบขนานหรือรูปรี ยาว 4-12 ซม. ปลายใบเรียวแหลม-แหลม ขอบใบ หยกั มนหรอื จักฟันเลื่อย โคนใบมน-แหลม และมักจะเบี้ยวดว้ ย มเี ส้นแขนงใบขา้ งละ 7-11 เส้น เส้นใบย่อย แบบร่างแหเห็นชดั ดา้ นลา่ ง ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกแยกเพศและอย่ตู า่ งต้น ออกตามซอกใบ สีเขียวอม เหลอื ง มีกลบี เลี้ยง 4-5 กลบี ไม่มกี ลีบดอก ดอกเพศผอู้ อกเปน็ กระจกุ แน่น มี 7-15 ดอก/กระจกุ ดอกยาว 6 มม. ดอกเพศเมยี ออก 1-4 ดอก/กระจุก ผลรปู ไขแ่ กมรหี รอื ไขก่ วา้ ง ยาว 1.5-2.7 ซม. ผิวมีขนสขี าวหนาแน่น ปลายผลมน-กลม ก้านผลยาว 1-1.6 มม. ผลสุกสีเหลืองคลำ�้ เนอื้ ฉ่�ำน้ำ� มี 1 เมลด็ รปู รปี ลายแหลม ผนงั แข็ง ถ่ินอาศยั ขึ้นตามป่าดงดิบแลง้ หรือป่าเบญจพรรณ ในปา่ บุ่งป่าทามจะพบตามเนินดินหรือรอยต่อกบั ป่าดงดบิ แลง้ ขน้ึ ทีค่ วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไม่เกิน 600 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นตุลาคม-ธนั วาคม ผลแก่เดอื นมกราคม-มีนาคม กระจายพนั ธุ์ พบทว่ั ทกุ ภาคต้ังแต่จงั หวัดประจวบคีรขี นั ธข์ นึ้ มา ยกเวน้ ภาคใต้ ต่างประเทศพบในภมู ิภาคเอเชียใต้ เมียนมาร์ ลาว กมั พชู า เกาะชวา หม่เู กาะเลสเซอร์ซนุ ดา หมู่เกาะโมลกุ กะ และเกาะนวิ กินี การใช้ประโยชน์ เช้ือเพลิง ไม้ใชท้ ำ� ฟืนหรอื เผาถ่าน (11).- ก่อสร้างหรือเครอื่ งมอื เนอ้ื ไม้ แปรรูปท�ำเฟอร์นิเจอรห์ รอื กอ่ สรา้ ง (11, 12).- ด้านอน่ื ทกุ ส่วนเป็นอาหารชา้ ง (12)

ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 365 เครือปลอก ช่ือทอ้ งถิน่ อ่นื : กระปรอกชา้ ง ตานขโมย (ปราจีนบุร)ี , คนทีดำ� (ตรงั ), พญางิว้ ด�ำ (พงั งา, ภูเก็ต), เครอื เขาแกลบ (อ.สวา่ งวรี ะวงศ์ อบุ ลราชธานี), เครือปลอก (บรุ ีรัมย)์ , ค้อเคีย คอ้ เครือ (อ.กนั ทรารมย์ ศรีสะเกษ), เครอื ปลอก- ช้าง (อ.เมอื ง ยโสธร), เครอื หนวดปลาเคงิ (อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), เครอื ตา่ งไก่ (อ.บ้านดุง อดุ รธาน)ี , อะไวกรองต้า (ส่วย-อ.ท่าตมู สุรินทร)์ Ventilago harmandiana Pierre (วงศ์ Rhamnaceae) ช่ือพ้อง : - ไม้เลอื้ ย ยาวได้ถงึ 20 ม. กวา้ งถงึ 15 ซม. เถามีเนื้อเหนยี ว เถาและกิง่ มสี นั ขนาดเล็กตามแนวยาวจำ� นวนมาก และมกั จะบิดเลก็ นอ้ ย ตามกง่ิ อ่อน ชอ่ ดอก และกา้ นใบอ่อนมขี นสั้น ใบออ่ นสแี ดงอมชมพู ใบเด่ียว เรยี งสลบั รปู รีหรือรูปขอบขนาน ยาว 5-12.5 ซม. ปลายใบมน-เรียวแหลม บางครงั้ เวา้ ต้นื ขอบใบเรยี บ โคนใบมน- แหลม ผวิ ใบด้านบนมันเงา ดา้ นลา่ งเกล้ยี งหรืออาจมขี นประปรายในใบออ่ น มีเสน้ แขนงใบข้างละ 9-13 เสน้ เสน้ ใบยอ่ ยเรียงตามขวาง ก้านใบยาว 2-6 มม. ช่อดอกแบบแยกแขนงหรอื ชอ่ กระจะ ออกตามปลายกง่ิ หรือ ซอกใบ ยาว 5-15 ซม. ดอกย่อยสเี หลอื งอมเขียว ออกเป็นกระจกุ มี 3-10 ดอก/กระจกุ ขนาดเลก็ มาก เมือ่ บานกว้าง 3 มม. มกี ลบี เล้ยี งและกลบี ดอกอย่างละ 5 กลีบ ก้านดอกยาว 1-4 มม. ผลแบบมปี ีกยาว 1 ปกี รปู ใบหอกหรือรปู ขอบขนาน กว้าง 7-8 มม. ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม ผวิ เกลย้ี ง มเี สน้ กลางปีกตามแนวยาว 1 เสน้ เมล็ดทรงกลมตดิ ท่โี คนปีก กวา้ ง 5-7 มม. มีกลบี เลี้ยงตดิ ท่ี 1/4 จากโคนเมลด็ ผลแกป่ ีกจะเปลย่ี นเปน็ สี เหลืองแล้วแหง้ เปน็ สีนำ้� ตาล ถิ่นอาศัย ขึน้ ตามชายป่าหรอื ท่โี ลง่ แจ้ง ในปา่ ดงดบิ และป่าบงุ่ ป่าทาม ทค่ี วามสงู จากระดบั น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 800 ม. ออกดอกและติดผลตลอดทั้งปี กระจายพันธุ์ พบทวั่ ทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ ตา่ งประเทศพบในเกาะไฮหนาน ประเทศจีน เวียดนาม ลาว และ กมั พชู า การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น เป็นผกั สด จม้ิ น้�ำพรกิ หรอื กนิ แกล้มกับป้ิงปลา (17).- สมุนไพร เถา ตากแห้ง ตม้ น�้ำด่ืม เป็นยาระบาย รักษาโรคริดสดี วงทวาร (9).- วสั ดุ เถา มเี นื้อเหนยี ว ทนน�้ำ ใช้แทนเชือกผกู สิ่งของ ผกู /ถักลอบ ไซ ตมุ้ มัดไม้ฟนื , เถาใหญ่ใช้ทำ� ขอบสวงิ กงลอบ กงไซ (15, 23)

ผลอ่อน โคนใบท่มี ีขอบใบจรดกับเส้นใบค่ขู ้าง หนามทกี่ ิ่ง หนามทโ่ี คนลำ� ตน้

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 367 หนามคอง ชอ่ื ทอ้ งถิ่นอน่ื : มะตนั ตง หมากมา (ภาคเหนือ), ตะครอง หมากกะทนั ชา้ ง (ภาคกลาง), หนามคอม (พษิ ณโุ ลก), หนามค้อม หนามตะคอง (อบุ ลราชธานี), หนามคอง (รอ้ ยเอด็ , ขอนแก่น), อังโกรง อังตรวง ตรวง (เขมร- สรุ นิ ทร)์ , กัลครอง ซงั ครา คังครลั (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สุรินทร)์ Ziziphus cambodiana Pierre (วงศ์ Rhamnaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้พ่มุ รอเล้ือย ยาว 4-15 ม. แตกกง่ิ ต่�ำ เปลอื กเถาสนี �้ำตาลอมเทา ขรขุ ระและมีหนามเรียงเปน็ กลมุ่ ตามแนว ขวาง ทีโ่ คนหนามบวมโต ยาวไดถ้ งึ 2 ซม. ปลายหนามแหลมคม กิ่งมีหนามแหลมคมโคง้ กลับ ยาวไดถ้ งึ 6 มม. ตามก่งิ ออ่ น ดอก และกา้ นใบมีขนสน้ั ใบเด่ียว เรียงสลบั (คล้ายใบ พุทรา/หมากทนั ) ใบมักชขู นึ้ เลก็ น้อย รูปรี ยาว 4-8 ซม. ปลายใบมน-แหลม ขอบใบเรียบหรือจักฟันเล่อื ยเลก็ นอ้ ยในใบออ่ น โคนใบแหลมและมีขอบ ใบจรดกบั เส้นแขนงใบคู่ข้างใกล้โคนใบ (ไมล่ งไปจรดทกี่ ้านใบ) ผวิ ใบด้านบนเกลีย้ งหรือมีขนประปราย มันเงา ดา้ นลา่ งมขี นประปรายตามเส้นใบ มเี ส้นใบ 3 เส้น ออกจากโคนใบ กา้ นใบยาว 0.5-1 ซม. ดอกออกเปน็ กระจกุ 3-10 ดอก/ซอกใบ ดอกเมือ่ บานกวา้ ง 5-7 มม. มีกลบี เล้ียงและกลบี ดอกอยา่ งละ 5 กลีบ สีเขยี วออ่ น-สเี ขียว อมเหลอื ง ก้านดอกยาว 2-5 มม. ผลทรงกลม กวา้ ง 1.8-2 ซม. ผวิ เรยี บเกล้ยี ง มีกลีบเล้ยี งติดคงทนท่ขี ว่ั ผล ผลออ่ นสีเขียว เมื่อสกุ เปลี่ยนเปน็ สเี หลือง-นำ�้ ตาล มี 1 เมล็ด เมล็ดแข็ง รปู รี ยาว 1 ซม. ถิ่นอาศัย ข้นึ ตามชายปา่ ท่ีโลง่ แจง้ ในป่าผลัดใบ ในป่าบุง่ ป่าทามจะพบตามเนนิ ดนิ จอมปลวก หรือรอยตอ่ กบั ปา่ ดงดิบแลง้ หรอื ป่าผลดั ใบ ขึ้นทค่ี วามสูงจากระดับนำ้� ทะเลไม่เกนิ 500 ม. ผลัดใบช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม แล้วผลิใบใหม่และออกดอกเดือนมีนาคม-เมษายน ผลแก่เดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน กระจายพนั ธ์ุ พบไดค้ อ่ นข้างงา่ ย ทั่วทกุ ภาค ยกเวน้ ภาคใต้ ตา่ งประเทศพบทลี่ าว กัมพชู า และเวียดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลสุก สีเขียวอมเหลือง รสฝาดปนขมเลก็ น้อย บางแหง่ กินเปน็ ผลไม้ (3, 4).- สมนุ ไพร ทุกสว่ นเขา้ ยาอ่นื ๆ บำ� รงุ เลอื ดลม (13).- ผลดิบ รสฝาด เคี้ยวทำ� ความสะอาดฟนั /ใช้แทนยาสีฟนั (10).- ล�ำตน้ ย่างไฟ แล้วต้มนำ้� ด่ืมบำ� รงุ น�้ำนมในแมล่ กู อ่อน (14).- วสั ดุ ผล ใชเ้ ปน็ ลูกกระสุนยิงนก (10, 13)

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 369 หมากเล็บแมว ช่ือท้องถิ่นอืน่ : มะตันขอ หนามเล็บเหยย่ี ว หมากหนาม (ภาคเหนือ), พุทราขอ เล็บเหยีย่ ว (ภาคกลาง), หนาม- เล็บแมว (สระบรุ ี), เล็บหยว่ิ ยบั หย่วิ (ภาคใต้), สัง่ คนั (สรุ าษฎร์ธาน,ี ระนอง), แสงค�ำ (นครศรธี รรมราช), เล็บแมว ยับเย่ียว (นครราชสีมา), หมากเล็บแมว เลบ็ แมว (อีสาน) Ziziphus oenopolia (L.) Mill. (วงศ์ Rhamnaceae) ช่ือพ้อง : - ไมพ้ ุม่ รอเลอื้ ย ยาว 3-15 ม. หมากเลบ็ แมว มลี ักษณะทั่วไปคล้ายกบั หนามคอง (Ziziphus cambodiana) มีความแตกตา่ งกนั ที่ ใบของหมากเล็บแมว ยาว 3-6 ซม. (คอ่ นข้างสนั้ และเล็กกวา่ ใบหนามคอง) แผ่นใบหรือ โคนใบมักจะเบ้ยี ว ไม่สมมาตร ผิวใบดา้ นบนมรี อยกดหรอื ยน่ ตามแนวเส้นใบ และมีขนสัน้ สว่ นผวิ ใบด้านล่างมี ขนสน้ั นุม่ หนาแนน่ ผลกลมมขี นาดกว้าง 0.7-1 ซม. (เล็กกว่าผลของหนามคอง) ผลสุกเปลย่ี นเปน็ สนี ำ้� ตาล-ดำ� หนามคอง มีใบยาว 4-8 ซม. แผน่ ใบหรอื โคนใบสมมาตร ผวิ ใบดา้ นบนเรียบเกลี้ยง ดูมันเงา และมขี น ประปรายทดี่ า้ นลา่ ง ผลกลมมขี นาดกว้าง 1.8-2 ซม. ถิ่นอาศัย ขน้ึ ตามชายป่า ท่ีโล่งแจ้ง ในป่าผลดั ใบหรอื ป่าดงดิบ ในปา่ บุ่งป่าทามจะพบตามเนนิ ดิน จอมปลวก หรอื รอยตอ่ กับปา่ ดงดบิ แลง้ หรือปา่ ผลดั ใบ ขึ้นทีค่ วามสงู จากระดับน้ำ� ทะเลไมเ่ กิน 1,000 ม. ต้นท่ขี ้ึนในท่ีแห้งแล้งจะ ผลัดใบชว่ งเดอื นกมุ ภาพันธ์-มีนาคม แลว้ ผลิใบใหม่และออกดอกเดอื นมนี าคม-สิงหาคม ผลแก่เดือนกนั ยายน- ธนั วาคม กระจายพนั ธุ์ พบได้ง่าย ทว่ั ทกุ ภาค ต่างประเทศพบในเขตรอ้ นของภูมภิ าคเอเชยี ใต้ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ จนี ตอนใต้ และตอนเหนือของทวปี ออสเตรเลยี การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ผลสุก สีนำ�้ ตาลเขม้ -ด�ำ รสเปร้ียวอมหวาน เป็นผลไม้ (8, 9, 10, 13, 14).- ผลดิบ ใช้ต�ำส้ม (10).- สมนุ ไพร ราก ฝนกับฝาหมอ้ ดินเผาแล้วทาหัวฝี ชว่ ยเร่งให้หัวฝีสกุ แลว้ แตก แหง้ เรว็ (8).- ทุกสว่ น เขา้ ยาอ่นื ๆ บำ� รุงร่างกาย (13).- ทกุ สว่ น ต้มน�้ำด่มื เปน็ ยาบ�ำรุงนำ�้ นมในแมล่ ูกออ่ น (14)

หใู บหุ้มยอด

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 371 สะมัง ชือ่ ท้องถ่นิ อน่ื : นกข่อ สม้ ป้อง (เชยี งใหม)่ , บงคด องคต (ล�ำปาง, แพร่), เฉียงพรา้ นางแอ สนั พร้านางแอ สี ฟนั -นางแอ (ภาคกลาง), เขียงพรา้ เขียงพรา้ นางแอ (ชุมพร, ประจวบครี ขี นั ธ์, ตราด), คอแหง้ สฟี นั (ภาคใต)้ , หมักมงั (ปราจีนบุรี), มัง (อุบลราชธานี, ศรสี ะเกษ, ยโสธร, รอ้ ยเอด็ ), มงมงั ชะมงั สะมงั (มหาสารคาม, ร้อยเอด็ , อ.เจรญิ ศิลป์ สกลนคร, อ.บ้านดงุ อดุ รธาน)ี , บกนัง บุ้งนัง (อ.เมอื ง อ.พรรณนิคม สกลนคร, อ.ศรสี งคราม นครพนม), กมู ยุ ตระเมง (เขมร-สุรนิ ทร)์ , เมงมัง (ส่วย-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร)์ Carallia brachiata (Lour.) Merr. (วงศ์ Rhizophoraceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้ตน้ สูงไดถ้ งึ 30 ม. เปลอื กสเี หลืองอ่อน-นำ้� ตาล เรยี บ ตน้ แก่เปลอื กแตกเป็นชอ่ งส่เี หลยี่ มเนือ้ หนาและน่มุ แบบ ไม้ก๊อกจุกขวด ตามก่งิ ออ่ น ชอ่ ดอก และกา้ นใบเกล้ยี ง ปลายกง่ิ มีหใู บหุ้มยอดเรียวแหลม ใบเด่ยี ว เรยี งตรง กนั ข้าม รูปไข่กลบั -รี ยาว 5-15 ซม. ปลายใบมน-กลม โคนใบมน-แหลม ขอบใบเรยี บและม้วนลงเลก็ น้อย ต้นออ่ นขอบใบจกั ฟันเล่ือย ผวิ ใบเกลยี้ งเป็นเงามัน เน้ือใบหนา มีเส้นแขนงใบข้างละ 13-16 เส้น มองเหน็ ไมช่ ดั เจนทผ่ี ิวใบด้านบน กา้ นใบยาว 1 ซม. ชอ่ ดอกแยกแขนง ออกเป็นกลมุ่ แน่นตามซอกใบ ยาว 2-6 ซม. กลีบเลยี้ งและกลีบดอกมอี ย่างละ 6-7 กลบี กลบี เล้ยี งสเี ขยี วอ่อน รปู สามเหลย่ี ม ยาว 3-4 มม. กลีบดอกสี ขาว ค่อนขา้ งกลมและหยกิ ยน่ กวา้ ง 1.5 มม. จานฐานดอกสีเหลืองเขม้ ไมม่ ีก้านดอกหรือกา้ นดอกสั้นมาก ผล ทรงกลม กวา้ ง 5-7 มม. ปลายผลมกี ลบี เลย้ี งติดคงทน ผลสกุ สแี ดงมเี นื้อฉำ่� นำ้� มี 1-5 เมล็ด รปู ไต ถ่ินอาศัย ข้ึนตามปา่ ดงดิบ ในป่าเบญจพรรณและปา่ บ่งุ ป่าทามจะชอบขึน้ ใกล้แหล่งน้�ำ ท่คี วามสงู จากระดับ น�้ำทะเลไม่เกิน 1,300 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมกราคม-กุมภาพันธ์ ผลแก่เดือนมนี าคม-เมษายน กระจายพันธุ์ พบได้ง่าย ทวั่ ประเทศ ต่างประเทศพบในเขตร้อนและกงึ่ เขตรอ้ นตัง้ แตเ่ กาะมาดากัสการ์ เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนี ตอนใต้ ออสเตรเลียตอนเหนือ และหมเู่ กาะแปซฟิ ิก การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลสุก สแี ดง รสหวานอมเปรี้ยว กินเปน็ ผลไม้ (3, 4, 11, 12, 17, 18).- สมุนไพร ต้นหรอื กงิ่ ตากแห้ง ตม้ ผสมกบั รสสุคนธ/์ ฮ้นิ แฮด (Tetracera spp.) ด่ืมรกั ษาโรคซาง (6).- เปลือกหรอื แก่น เข้ายาอ่นื ๆ ต้มน้�ำดื่มและอาบ แกก้ ินของผิดส�ำแดงในแมล่ กู ออ่ น (17).- ทกุ สว่ น เขา้ ยาอนื่ ๆ ตม้ นำ�้ ดื่ม เปน็ ยาระบาย รักษา ท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ (11).- ทุกส่วน ตม้ น�้ำด่มื ถอนพษิ ไข้ พษิ แมลงสัตวก์ ดั ตอ่ ย (12).- เชอ้ื เพลงิ ไม้ใชท้ ำ� ฟนื หรือเผาถ่าน (4, 10, 11, 15, 20, 23, 25).- กอ่ สร้างหรอื เครอ่ื งมอื เนื้อไม้แข็งแรง มลี ายสวยงาม แปรรปู ท�ำเฟอร์นิเจอร์ ก่อสรา้ ง ทำ� เสาบ้าน (3, 13, 18, 20, 23, 24).--- ดา้ นอืน่ ผลสกุ เปน็ อาหารของนกและสตั วป์ ่า (10, 13, 18)

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 373 เงี่ยงดุก ช่อื ท้องถ่นิ อื่น : เง่ยี งดกุ หนามเง่ยี งดกุ หนามปลาดุก (นครราชสมี า, ขอนแกน่ , ร้อยเอด็ , ศรีสะเกษ, อบุ ลราชธาน)ี , หนามแทง่ นอ้ ย (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), หนามก๊นไก่ (ไทญ้อ-อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม) Canthium berberidifolium Geddes (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พ้อง : - ไมพ้ ุม่ สงู 1-2 ม. กงิ่ มขี นส้นั และมหี นามแหลมคมออกเป็นคูต่ ามซอกใบ/ข้อ ยาว 0.5-3 ซม. กง่ิ โน้มลง ใบเด่ียว เรยี งตรงข้าม รปู กลม-ไขก่ ลับ ยาว 1-2 ซม. ปลายใบกลม-เว้าตน้ื โคนใบมน-แหลม มเี สน้ แขนงใบข้างละ 3-4 เสน้ ปลายเสน้ โค้งจรดกัน ผวิ ใบด้านบนเกล้ียงมนั เงา มรี อยกดเป็นร่องตามแนวเสน้ แขนงใบ ด้านล่างมีขน ประปราย-เกลีย้ ง กา้ นใบยาว 1-2 มม. ดอกออกเป็นกระจกุ ตามซอกใบ มี 1-3 ดอก/กระจกุ ดอกขนาดเล็ก เมือ่ บานกว้าง 8-10 มม. กลีบเล้ยี งยาว 1.5 มม. ปลายหยักเปน็ แฉกตนื้ ๆ 5 แฉก เกล้ียง-ขนประปราย กลบี ดอกสี เหลอื งอ่อน-ขาว โคนเช่ือมติดกนั ปลายแยก 5 แฉก รปู ไข่ ยาว 3-4 มม. ปลายเรยี วแหลม กา้ นดอกยาว 2 มม. ผลคอ่ นข้างกลม แบนดา้ นขา้ งเล็กนอ้ ย กวา้ ง 0.8-1 ซม. ปลายมกี ลบี เลย้ี งตดิ คงทน ผิวเกลีย้ งมันเงา เมอ่ื สกุ สี ส้ม-แดง มี 2 เมล็ด ถ่นิ อาศยั ขึ้นตามชายปา่ ดงดบิ แล้งและปา่ เบญจพรรณทอี่ ย่ใู นเขตที่ราบน้�ำท่วมถึง และในป่าบุ่งป่าทาม ทค่ี วามสูง จากระดับนำ�้ ทะเลไมเ่ กนิ 300 ม. ออกดอกชว่ งเดือนเมษายน-กรกฎาคม ผลแก่เดอื นมถิ ุนายน-กนั ยายน กระจายพันธุ์ พบได้ทวั่ ไป ในภาคตะวันออก ภาคกลาง ส�ำหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พบท่วั ไป แต่ไมพ่ บใน ล่มุ น�ำ้ โมง ต่างประเทศพบท่ีกมั พชู า การใช้ประโยชน์ อาหาร ผลสกุ สีสม้ -แดง รสเปรี้ยวอมหวาน กินเป็นผลไม้ (17).--- ดา้ นอ่นื ผลสกุ เปน็ อาหารนก (10)

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 375 หนามแท่ง ชอ่ื ท้องถน่ิ อ่นื : เคด เคล็ด หนามเคด แท่ง หนามแท่ง (ภาคกลาง, ภาคตะวันออก, ภาคเหนอื ), เคล็ด เคลด็ ท่งุ (ภาคใต้), แทง่ หนามแท่ง (นครราชสมี า, ประจวบคีรขี นั ธ์), มะเค็ด หนามแทง่ (อีสาน), ระเวียง (เขมร-อีสานใต)้ Catunaregam tomentosa (Blume ex DC.) Tirveng. (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไมพ้ ุม่ สงู 1-8 ม. ล�ำต้นกลม เปลอื กสนี �้ำตาลอมเทา แตกเป็นสะเกด็ บางๆ ตามก่ิงออ่ นและก้านใบมขี นสัน้ หนา นุ่มและมีหนามแหลมคมออกเปน็ คู่ตามซอกใบ ยาว 2-5 ซม. ใบเด่ียว เรยี งตรงข้ามหรอื เป็นกระจกุ ท่ีปลาย กง่ิ ย่อย รปู หอกกลับ-ไข่กลับ ยาว 5-7 ซม. ปลายใบแหลม-กลม และมตี ิง่ หนาม ขอบใบม้วนลง โคนใบสอบ มี เสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-12 เสน้ ผิวใบดา้ นบนมีขน และมรี อยกดเป็นร่องตามแนวเสน้ แขนงใบ ด้านลา่ งมี ขนหนาน่มุ สขี าวอมน้�ำตาล ก้านใบยาว 3-10 มม. ดอกเดย่ี วออกตามซอกใบ เม่อื บานกวา้ ง 3-5 ซม. มีกลนิ่ หอม กลบี เลย้ี งสีเขยี ว กลีบดอกสขี าว เปล่ียนเป็นสเี หลืองเมือ่ ใกล้ร่วง มีโคนเชอ่ื มตดิ กนั ปลายแยก 8-10 แฉก รปู ไขก่ ลับ ยาว 1.5-2 ซม. ปลายมน-กลม และมีตง่ิ แหลม อบั เรณสู ีเหลืองรปู แถบ ยาว 5 มม. ตดิ ระหว่างซอก แฉกกลีบดอก ก้านดอกสัน้ มาก ผลทรงกลม กว้าง 4-6 ซม. ปลายผลมีกลบี เลี้ยงตดิ คงทน ผวิ มีขนกำ� มะหยนี่ มุ่ เมือ่ สกุ สเี หลืองคลำ้� มเี มลด็ จ�ำนวนมาก และมีเนอื้ ในรอบเมลด็ สดี ำ� ถิน่ อาศัย ข้ึนตามท่ีโล่งแจง้ หรอื ชายป่าในพ้ืนท่ีดนิ ปนทรายหรือดนิ ลูกรงั ในทุ่งหญา้ ปา่ เต็งรงั ป่าเบญจพรรณ และ ปา่ บุ่งป่าทาม ทีค่ วามสงู จากระดับน้ำ� ทะเลไมเ่ กิน 800 ม. ออกดอกชว่ งเดือนธนั วาคม-เมษายน ผลแกเ่ ดือน มีนาคม-กรกฎาคม กระจายพันธ์ุ พบไดง้ า่ ย ท่วั ประเทศ ตา่ งประเทศพบที่เมยี นมาร์ ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า คาบสมุทรมาเลเซียตอน- บน และเกาะชวา การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร ผลสกุ เนื้อในรอบเมลด็ สดี ำ� นำ� มาขย้ีกับนำ�้ ท�ำใหเ้ กดิ ฟอง ใชซ้ กั ผา้ หรอื สระผม (7, 20).-เน้ือในรอบ เมลด็ สีด�ำขยี้ผสมกับนำ้� มวก (นำ�้ แช/่ ซาวข้าว) ใช้สระผม ทำ� ให้ผมนมุ่ เงางาม (18).- เชือ้ เพลงิ ไมใ้ ช้ท�ำฟนื หรอื เผาถ่าน (20)

ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 377 ชื่อทอ้ งถน่ิ อ่ืน : ไชวาน ไชยวาน (อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) ตะไครน้ ้�ำ (ราชการ) ไชยวาน Cephalanthus tetrandra (Roxb.) Ridsdale & Bakh. f. (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พ้อง : - ไมพ้ ่มุ สงู 2-5 ม. เปลอื กสีน�ำ้ ตาลออ่ น เรยี บ-แตกเป็นแผน่ บาง ตามกิง่ ออ่ น กา้ นใบ และช่อดอกมีขนสั้นหนา นมุ่ -เกลย้ี ง กิง่ มักเปน็ 4 เหล่ียม หูใบมี 1 คู่ รูปสามเหล่ียม ยาวได้ถงึ 5 มม. หลดุ ร่วงงา่ ย ใบเดย่ี ว เรียงตรง ข้ามสลบั ตัง้ ฉากหรอื เรยี งรอบขอ้ 3-5 ใบ/ข้อ ใบรูปไข่ หรือรูปขอบขนานแกมรปู รี ยาว 6.5-15 ซม. ปลายใบ แหลม-เรยี วแหลม โคนใบมน-เวา้ เลก็ นอ้ ย ผิวใบด้านบนเกลีย้ ง-มขี นประปราย มักจะย่นและเปน็ คล่นื ตามแนว เสน้ แขนงใบเล็กน้อย ด้านลา่ งมขี นนมุ่ หนาแนน่ -เกลย้ี ง และมกั จะพบกระจุกขนท่ซี อกของเส้นกลางใบกับ เส้นแขนงใบ (domatia) มีเส้นแขนงใบขา้ งละ 8-12 เส้น กา้ นใบยาว 1-3 ซม. มกั มีสแี ดง ดอกแบบช่อกระจกุ ทรงกลม ช่อเดีย่ วหรอื แยกแขนง มีชอ่ ย่อยไดถ้ งึ 10 ชอ่ กา้ นชอ่ ดอกยาว 2.5-6 ซม. ออกตามปลายกงิ่ หรือซอกใบ ใกลป้ ลายก่งิ ช่อดอกสขี าว ทรงกลม กวา้ ง 2-2.5 ซม. คล้ายดอกท่ม/กระทมุ่ นา (Mitragyna diversifolia) มี กล่ินหอม ผลย่อยรูปไขก่ ลบั หรือคลา้ ยหยดนำ�้ ยาว 1-2 ซม. ภายในมีเมลด็ รปู รี ยาว 3-5 มม. ถน่ิ อาศยั ข้ึนตามทโี่ ล่งแจ้งในบงึ หรือหนองนำ้� ทมี่ นี ำ้� ท่วมขงั เกือบตลอดปี บรเิ วณทม่ี รี ะดบั น�้ำลึกปกติไม่เกนิ 2 ม. ท่คี วามสงู จากระดับน้�ำทะเลไมเ่ กิน 300 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมถิ นุ ายน-กันยายน ผลแก่เดอื นกรกฎาคม- พฤศจิกายน กระจายพนั ธ์ุ ไชยวาน เปน็ พืชหายาก พบเฉพาะตามบึงนำ้� ตน้ื บางแหง่ ของภาคเหนอื ท่หี นองบงคาย จ.เชียงราย และ หนองเลง็ ทราย จ.พะเยา ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื พบที่ หนองไชยวาน อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม, จ.อุดรธานี และ จ.อบุ ลราชธานี ต่างประเทศพบทด่ี า้ นตะวันออกของอินเดีย บงั คลาเทศ เมยี นมาร์ จีนตอนใต้ ไตห้ วัน เวียดนาม และลาว การใชป้ ระโยชน์ -

ผลอ่อนผา่ ตามแนวขวาง

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 379 อินถวาน้อย ช่อื ทอ้ งถิน่ อื่น : อินถวาปา่ พุดปา่ (อบุ ลราชธาน)ี , อนิ ถวาทาม อินถวานอ้ ย (อ.กนั ทรารมย์ ศรีสะเกษ), เอนอา้ (อ.เมอื ง ยโสธร), พดุ น�้ำ ใบบก (ภไู ท-อ.พรรณานิคม สกลนคร), อินถวา อนิ ถวาทาม (อ.ศรีสงคราม นครพนม), สดี าทาม (อ.บ้านดุง อุดรธานี, อ.เจรญิ ศลิ ป์ สกลนคร) Kailarsenia lineata (Craib) Tirveng. (วงศ์ Rubiaceae) ช่ือพ้อง : Gardenia lineata Craib ไมพ้ ุม่ สงู 1-3 ม. ตามกิ่งอ่อนมีขนสั้นนมุ่ ไมม่ ีหนาม มักพบชนั ใสเหนียวหมุ้ ยอด มีหใู บเป็นหลอดปลายแยก 2 แฉก ใบเดย่ี ว เรียงตรงขา้ ม รูปรี หรอื รปู ไขก่ ลับ ยาว 3-8 ซม. ปลายใบแหลม-มน ขอบใบเป็นคลนื่ โคนใบ สอบ-มน ผิวใบดา้ นบนเกลีย้ งเป็นมนั เงา และมรี อยกดเป็นรอ่ งตามแนวเส้นแขนงใบ ดา้ นล่างเกลี้ยงหรือมี ขนประปราย มีเส้นแขนงใบขา้ งละ 6-11 เสน้ ก้านใบยาว 2-4 มม. เกลย้ี ง-มีขนประปราย ดอกเด่ียว ออกตาม ซอกใบใกลป้ ลายก่งิ กลีบเลยี้ งและกลีบดอกมีอยา่ งละ 5 กลบี กลบี เล้ยี งโคนเชอ่ื มตดิ กนั ผวิ ดา้ นนอกมี 5 สันตาม ยาว มีขนสั้น กลบี ดอกสีขาว รปู ลำ� โพง ปลายแยกเปน็ 5 แฉกๆ ยาว 1.3-2 ซม. ปลายแหลม มีกลิน่ หอม ผล รปู รี-รยี าว-กลมรี ยาว 2-3 ซม. กวา้ ง 1-2.5 ซม. ผิวเกลย้ี ง ผลอ่อนมสี ันตามแนวยาว 10 สนั ปลายผลมี กลีบเลย้ี งติดคงทน กา้ นผลยาว 5 มม. ผลแก่สเี หลืองออ่ น มสี ันเดน่ ชัด 5 สนั มเี มล็ดจำ� นวนมาก ถน่ิ อาศัย ขน้ึ ตามที่โลง่ แจง้ หรือชายป่าบุง่ ปา่ ทาม หรอื รมิ นำ้� ในเขตทร่ี าบน้�ำท่วมถึง ท่ีความสูงจากระดับน้�ำทะเล ไม่เกิน 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ เมษายน ผลแกเ่ ดอื นพฤษภาคม-กรกฎาคม กระจายพนั ธุ์ อินถวานอ้ ยเปน็ พชื ถิ่นเดยี วของประเทศไทย พบมากตามปา่ บงุ่ ปา่ ทามในภาคตะวนั ออกเฉยี ง- เหนอื ในลุ่มน้�ำมูล-ชี พบไดง้ ่ายในเขตลุ่มนำ้� สงคราม แตไ่ มพ่ บในเขตลุม่ นำ้� โมง การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร ราก ตากแหง้ ต้มน้�ำดม่ื ช่วยเจริญอาหาร (6).- ยอดออ่ น ตำ� ผสมตวั มดแดง กินเปน็ ยาแกบ้ ิด (18).- ดอก มีกลน่ิ หอม ต้มน�้ำดืม่ บ�ำรงุ หวั ใจ (23).- เชื้อเพลิง ไม้ใช้ท�ำฟนื หรือเผาถา่ น (21).- วัสดุ กิง่ และตน้ ตดั มามัดรวมกันทำ� ไมก้ วาดลานดนิ (20).--- ดา้ นอื่น ปลกู เป็นไม้ประดับ ดอกมกี ล่ินหอม หรือใช้ดอก บูชาพระ (1, 9, 17, 19, 20, 21, 23, 25)

หใู บห้มุ ยอด ผล

ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 381 ท่ม ช่อื ท้องถ่นิ อน่ื : ตมุ้ แซะ ตุ้มน้อย ต้มุ น�้ำ (ภาคเหนอื ), กระท่มุ กระทมุ่ นา กระท่มุ น้�ำ กระท่อมขี้หมู (ภาคกลาง), กระทุ่มดง (กาญจนบุรี), ท่อมขี้หมู (สงขลา), ท่อมนา (สุราษฎรธ์ าน)ี , โทมน้อย (เพชรบรู ณ์), กระทุ่ม ทม่ (นครราชสีมา), ถม่ พาย (เลย), ถม่ ท่ม ทม่ นา ท่มน�ำ้ ท่มทาม ทม่ น้อย (อีสาน), กะตัม (เขมร-อ.ท่าตูม สุรินทร์), กะทม ตำ� (ส่วย-สุรินทร)์ Mitragyna diversifolia (Wall. ex G.Don) Havil. (วงศ์ Rubiaceae) ชื่อพอ้ ง : - ไม้ต้น สงู 8-15 ม. เปลอื กสีน้ำ� ตาลออ่ น แตกรอ่ นเปน็ แผน่ บางๆ ตามก่งิ อ่อน ชอ่ ดอก และใบออ่ นมีขนส้ันนุม่ ยอด มีหูใบหุ้มยอดรูปน้วิ หวั แม่มือแบน ยาว 1-1.5 ซม. ใบเดีย่ ว เรยี งตรงขา้ ม รูปรี รกี ว้าง หรือรูปขอบขนาน ยาว 6-12 ซม. ปลายใบมน ขอบใบเรียบ โคนใบมน-เวา้ รปู หัวใจ ผิวใบด้านบนเกล้ียง ด้านล่างเกลยี้ ง-ขนประปราย บางคร้งั พบกระจุกขนสัน้ ที่ง่ามเส้นกลางใบกับเสน้ แขนงใบ มีเสน้ แขนงใบข้างละ 8-12 เสน้ กา้ นใบยาว 1-2.5 ซม. เกล้ยี ง-มีขน ชอ่ ดอกแบบช่อกระจกุ ซอ้ น (dichasium) มี 3 ช่อดอกยอ่ ย ออกท่ีปลายก่งิ แตล่ ะช่อดอกย่อย มีดอกย่อยขนาดเลก็ จ�ำนวนมากอัดกนั แน่นเปน็ ทรงกลม เมือ่ ดอกบานชอ่ ดอกจะกว้าง 1.5-2 ซม. กลีบดอก เป็นหลอดยาว 3-4 มม. ปลายแยก 5 แฉก สีขาวแล้วเปลย่ี นเปน็ สเี หลืองอ่อนเมื่อใกลโ้ รย มีกลน่ิ หอม แต่ละ ช่อดอกย่อยมีใบประดบั 1 ค่รู องใต้ช่อ มลี กั ษณะคลา้ ยใบที่ลดรูป ยาว 2-5 ซม. ก้านชอ่ ดอกยอ่ ยยาว 1-2 ซม. ก้านชอ่ ดอกย่อยคู่ขา้ งยาว 4-6 ซม. ผลอยรู่ วมกนั เปน็ กลุ่มทรงกลม กว้าง 1.3-1.8 ซม. ผลย่อยรูปไข่ ยาว 5 มม. ถ่นิ อาศัย ข้นึ ตามที่โลง่ แจง้ ในเขตท่ีราบนำ�้ ทว่ มถึง ทงุ่ นา และปา่ บุ่งป่าทาม หรอื ในพ้นื ที่แอง่ กระทะในป่าผลดั ใบ ทีค่ วามสูงจากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กนิ 400 ม. ออกดอกช่วงเดอื นมิถนุ ายน-กนั ยายน ผลแกเ่ ดือนกันยายน-ธันวาคม กระจายพนั ธ์ุ พบได้งา่ ย ทว่ั ประเทศ ต่างประเทศพบในเมยี นมาร์ จนี ตอนใต้ ลาว เวยี ดนาม กมั พชู า คาบสมทุ ร- มาเลเซีย เกาะชวา และฟิลปิ ปนิ ส์ การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร แก่น ตม้ น้ำ� ด่มื แก้กนิ ของผิดส�ำแดง หรือแกเ้ บอื่ เมา (2, 14), แก่น ต้มน�้ำด่ืมรกั ษาอาการปวดเมอื่ ย, เปลอื กท่ม+กาฝากไม้ทม่ ต้มน้�ำดื่มแก้ตกเลือดหรือบ�ำรุงแม่ลูกออ่ น (1).- แกน่ ทม่ + เครือเขาแกลบ (Ventilago sp.) + แคบิด + รากหกู วาง (Terminalia catappa) ตม้ น�้ำดืม่ บำ� รุงแมล่ ูกอ่อนหลงั คลอดบุตร (26).- เปลือก เข้ายาอน่ื ๆ ตม้ นำ้� ดื่มบ�ำรุงแม่ลูกออ่ น (4).- แกน่ ต้มนำ�้ ดมื่ บำ� รงุ เลอื ด (11).- แก่น แช่น้�ำด่มื เป็นยาเย็น แก้ ท้องเสยี (19).- ใบ มรี สขม ค้ันนำ้� ดม่ื แก้ปวดทอ้ ง แก้ท้องเสีย แต่ดม่ื มากจะเมา (18).- เชอ้ื เพลิง ไม้ทำ� ฟืน หรือเผาถา่ น (1, 11, 13, 17, 18, 20, 25, 27).- กอ่ สร้างหรือเครอ่ื งมอื เนื้อไม้ค่อนขา้ งอ่อนและเบา แต่ เหนียว ไม่ทนทานต่อการผพุ งั ใช้แปรรปู ทำ� เฟอร์นเิ จอร์ หรอื งานกอ่ สร้างทอี่ ย่ใู นรม่ (1, 8, 11, 12, 17, 19, 20, 23, 24, 25, 27).- เนอ้ื ไม้เบาและเหนยี ว นิยมใช้ทำ� แอกไถนา ท�ำหวั หมไู ถนา (ผาน) หรอื ท�ำไม้ตกี ลองเส็ง (1, 3, 10, 12, 14, 17, 23, 26, 27).- วสั ดุ ไมใ้ ชท้ �ำตีนกระต๊ิบข้าว (23).- กง่ิ สดและพุ่มใบ เอามามัดรวมกันจมลง ในน้�ำ ล่อกุ้งฝอยให้มาอยู่ แล้วเอาสวงิ ชอ้ นจับ (15).- ด้านอื่น ใบ เปน็ อาหารของแมลงอนี ูน ถา้ น�ำแมลงอีนนู มากินจะมีรสขม ต้องน�ำแมลงไปแชน่ �้ำก่อนคว่ั กิน (12).- ดอก ทรงกลมสวยงามและมกี ล่นิ หอม ท�ำเปน็ ตมุ้ หู ประดบั (10)

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 383 ยอน�้ำ ชื่อท้องถนิ่ อื่น : ยอนา (ภาคกลาง, ภาคใต้), ยอป่า (อา่ งทอง), ยอปา่ เลก็ (นครสวรรค์), ก้ามกุ้ง (เลย), ยอนำ้� (ชยั นาท, ศรีสะเกษ, อ.โกสมุ พสิ ยั มหาสารคาม), ยอเบ้ีย (ศรีสะเกษ), เครือขมน้ิ (อ.เมอื ง มหาสารคาม), ยอเตย้ี (สรุ าษฎร์ธานี, อ.เจรญิ ศลิ ป์ สกลนคร, อ.ศรีเชียงใหม่ หนองคาย), ยอทาม (อ.บา้ นดุง อุดรธานี), ยวั เปรย ยวั ตกึ (เขมร-อ.ทา่ ตูม สรุ ินทร)์ Morinda pandurifolia Kuntze (วงศ์ Rubiaceae) ชอ่ื พ้อง : Morinda pandurifolia var. oblonga (Pitard) Craib Morinda pandurifolia var. tenuifolia Craib ไมพ้ ุ่มหรือไม้พุ่มรอเลอ้ื ย สูง 0.3-2.5 ม. รากและเหงา้ มเี นื้อสเี หลืองเขม้ ตามกง่ิ อ่อน ชอ่ ดอก ใบ และผลมขี น สนั้ นมุ่ ใบเดยี่ ว เรยี งตรงขา้ ม รูปรี รปู ขอบขนาน รูปแถบ หรือรูปไวโอลนิ ยาว 3-15 ซม. ปลายใบแหลม-เรยี ว แหลม โคนใบแหลม ใบของต้นอายุนอ้ ยขอบใบมกั จะหยักเป็นแฉกแบบขนนก 1-3 แฉกในแต่ละข้างของขอบใบ ผวิ ใบด้านบนเกลี้ยง-มขี นประปราย ดา้ นลา่ งมขี นส้ัน มเี ส้นแขนงใบขา้ งละ 8-12 เส้น กา้ นใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบกระจุกทรงกลม กวา้ ง 1 ซม. กลบี ดอกสขี าว เปน็ หลอดยาว 1.5-1.8 ซม. ปลายกลีบแยก 5-6 แฉก ยาว 1.5 ซม. บานโคง้ กลับ มกี ล่ินหอม ผลกลมร-ี ขอบขนาน และมักจะเบี้ยว กวา้ ง 2.5-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. มีผลยอ่ ยรปู หลายเหลยี่ มอัดรวมกัน 20-50 ผล มีกลบี เลยี้ งคลา้ ยวงแหวนตดิ คงทนทก่ี ลางผลย่อยแตล่ ะผล เมลด็ รปู รี ยาว 7-11.5 มม. ถน่ิ อาศยั ขึ้นตามทีโ่ ล่งแจง้ หรือชายปา่ รมิ น้ำ� หรือในพ้นื ที่บ่งุ ทาม และในป่าบุ่งป่าทาม ทค่ี วามสงู จากระดับน้�ำทะเล ไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกช่วงเดอื นธันวาคม-เมษายน ผลแกเ่ ดอื นมีนาคม-กรกฎาคม กระจายพันธ์ุ พบได้ค่อนข้างยากในภาคกลางตั้งแต่จงั หวดั ตากลงไปถงึ ภาคใต้ที่จังหวดั สุราษฎร์ธานี แต่คอ่ นขา้ ง พบไดง้ า่ ยทวั่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต่างประเทศพบในลาว กัมพชู า และเวยี ดนาม การใช้ประโยชน์ สมนุ ไพร ราก ตม้ น�ำ้ ดื่ม เป็นยาบำ� รุงกำ� ลงั (27).- ราก ทบุ เอาน้�ำทารกั ษาแผลเงีย่ งปลาดกุ ต�ำ (24).- ท้งั ต้น เปน็ ยาเยน็ เขา้ ยาอนื่ ๆ เป็นยาบำ� รงุ เลือด (13).--- ต้น/เถา เขา้ ยาอื่นๆ แก้ปวดเมือ่ ยตามรา่ งกาย (11)

เหงา้

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 385 ยอเบี้ย ชื่อท้องถน่ิ อ่ืน : ยอป่า ยอดนิ ขม้ินทุ่ง (ไทโคราช-อ.ชมุ พวง อ.เมอื งยาง นครราชสีมา), ขม้นิ (ไทลาว-อ.เมอื งยาง นครราชสีมา), ยอทาม (ภไู ท-อ.พรรณานคิ ม สกลนคร), ซกั (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม นครพนม), ฮากเหลือง (ไทญอ้ - อ.เมือง สกลนคร), ยอเบ้ีย (ศรสี ะเกษ) Morinda persicifolia Buch.-Ham. (วงศ์ Rubiaceae) ชื่อพ้อง : Morinda persicifolia var. talmyi Pit. Morinda talmyi Pierre ex Lecomte ไมพ้ ุม่ รอเลอื้ ย สงู 0.2-3 ม. ลกั ษณะท่ัวไปของ ยอเบย้ี คล้ายกบั ยอนำ้� (Morinda pandurifolia) มาก แต่ยอเบ้ยี มีลักษณะแตกต่างที่ ตามกงิ่ อ่อน ช่อดอก ใบ และผลเกล้ียง ไมม่ ีขน ใบของยอเบ้ยี มหี ลากหลายรปู ได้แก่ ใบ รปู แถบ รูปขอบขนาน รปู รี รปู ไขก่ ลับ รปู หอกกลบั หรอื รูปไวโอลนิ ยาว 3-11.5 ซม. มีเสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-8 เส้น ผลรปู ค่อนขา้ งกลม กว้าง 1-3 ซม. และมเี มลด็ ยาว 5-7 มม. ยอน้�ำ ตามกิ่งออ่ น ช่อดอก ใบ และผลมขี นสนั้ หนาแนน่ -ประปราย ส่วนใหญใ่ บเปน็ รปู รี-ขอบขนาน มเี ส้น แขนงใบขา้ งละ 8-12 เส้น ผลกลมร-ี ขอบขนาน กวา้ ง 2.5-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. และเมลด็ ยาว 7-11.5 มม. ถ่ินอาศัย ขึ้นตามทโี่ ล่งแจ้งหรือชายป่า ตามริมนำ้� หรอื ในพนื้ ที่บุ่งทาม และในป่าบ่งุ ป่าทาม ท่ีความสูงจากระดับ น�้ำทะเลไมเ่ กนิ 200 ม. มีถนิ่ อาศยั เหมอื นกับยอนำ�้ แตท่ ง้ั สองชนดิ มักจะขนึ้ เป็นกลุม่ แยกจากกัน ออกดอกช่วง เดือนมกราคม-มถิ นุ ายน ผลแกเ่ ดอื นเมษายน-กนั ยายน กระจายพันธ์ุ พบได้คอ่ นข้างง่ายทัว่ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื แต่ไมพ่ บในลุ่มนำ�้ โมง ต่างประเทศพบในลาว กัมพูชา และเวียดนาม การใชป้ ระโยชน์ สมนุ ไพร รากยอเบ้ยี + ว่านม้า ดองเหล้าด่มื เป็นยาบำ� รุงก�ำลัง หรือแกก้ ินผดิ สำ� แดง (23).--- ราก ฝนผสมกบั เถาของ ต้นยาน ทาแก้ฟกชำ้� ดำ� เขียว กระดูกหกั (19)

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 387 ยอพญาไม้ ชอ่ื ท้องถ่ินอ่นื : ยอพญาไม้ (อ�ำนาจเจริญ) (วงศ์ Rubiaceae) Morinda nana Craib ชื่อพอ้ ง : - ไม้พุ่มรอเล้อื ย สงู 0.3-1.5 ม. ลกั ษณะท่ัวไปของ ยอพญาไม้ จะคล้ายกบั ยอนำ�้ (Morinda pandurifolia) และ ยอเบย้ี (Morinda persicifolia) แต่ยอพญาไม้มีจดุ แตกตา่ งกบั ท้งั สองชนดิ ตรงท่ี ตามก่ิงอ่อน ชอ่ ดอก ใบ และ ผลจะมีขนสัน้ หนาแน่น-ประปราย ปกติมใี บรปู ไขก่ ลับหรอื รปู รี บางครง้ั เป็นรปู ไวโอลิน ยาวเพียง 1.5-2 ซม. มีเสน้ แขนงใบข้างละ 4-5 เสน้ ผลรูปคอ่ นขา้ งกลม กวา้ ง 1-2 ซม. ยอน้ำ� มีใบรูปรี รปู ขอบขนาน หรอื รปู แถบ ยาว 3-15 ซม. มีเส้นแขนงใบขา้ งละ 8-12 เสน้ และมผี ลรูปกลม ร-ี ขอบขนาน และมกั จะเบย้ี ว กวา้ ง 2.5-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. ยอเบยี้ มีใบรปู แถบ รปู ขอบขนาน หรือรูปใบหอกกลบั ยาว 3-11.5 ซม. มีเส้นแขนงใบข้างละ 5-8 เส้น ผล รูปค่อนขา้ งกลม กว้าง 1-3 ซม. ถน่ิ อาศัย ขึน้ ตามทโ่ี ลง่ แจ้งหรือชายปา่ ตามรมิ นำ้� หรอื ในพนื้ ทีบ่ งุ่ ทาม และในปา่ บงุ่ ป่าทาม ทีค่ วามสูงจากระดับ น�้ำทะเลไม่เกนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นกุมภาพันธ์-มิถุนายน ผลแก่เดอื นพฤษภาคม-กนั ยายน กระจายพันธ์ุ ยอพญาไม้เปน็ พืชถน่ิ เดียวของประเทศไทย พบได้ง่ายในลมุ่ น�้ำสงคราม และพบทจี่ ังหวัด อ�ำนาจเจริญ บรเิ วณใกลแ้ ม่นำ�้ โขงอกี ดว้ ย การใช้ประโยชน์ ด้านอนื่ เปน็ อาหารววั -ควาย (1)

ดอก ผลอ่อน

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 389 เหมือดกุ้ง ช่อื ท้องถ่นิ อื่น : มะดันนำ�้ (กาญจนบุร)ี , เหมือดกุ้ง (ไทลาว-อ.ศรีสงคราม นครพนม), ส้มกุ้ง (ไทญอ้ -อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม) Morindopsis capillaris (Kurz) Kurz (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พอ้ ง : Morindopsis laotica Pit. ไม้พ่มุ สูง 1-2 ม. กงิ่ อ่อนเปน็ สี่เหล่ยี ม ตามกิง่ ออ่ น ใบ และชอ่ ดอกเกล้ยี ง-มขี นส้นั ประปราย ใบเด่ียว เรียงตรงขา้ ม รปู ขอบขนาน หรอื รปู รี ยาว 2-5 ซม. ปลายใบแหลมหรือมตี งิ่ แหลม ขอบใบมเี ส้นขอบใบนนู และงุ้มลง โคน ใบมน-แหลม มีเสน้ แขนงใบขา้ งละ 6-11 เส้น ผิวใบด้านบนมันเงา เน้อื ใบหนา กา้ นใบยาว 2-5 มม. บวมหนา ชอ่ ดอกแบบกระจกุ มีดอกย่อย 1-5 ดอกเป็นกระจุกทปี่ ลายกา้ นช่อดอก ชอ่ ดอกออกเป็นคูต่ รงกันข้าม ออกบน ก่ิงเหนือซอกใบ 2-8 มม. หรอื ทีป่ ลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 4-15 มม. มีใบประดับสเี ขียวรองดอก 1-2 คู่ ยาว 1.5-2 มม. ดอกสีขาว มีขนาดเลก็ มาก กลีบเลี้ยงรวมฐานรองดอกรปู ทรงกระบอก ยาว 4-5 มม. แฉกกลบี เลย้ี ง 4-5 แฉก ยาว 1 มม. โคนเช่ือมติดกันยาว 0.5 มม. หลอดกลีบดอก ยาว 2-3 มม. ปลายแยก 4-5 แฉก รูปคอ่ น ข้างกลม ยาว 1-1.5 มม. ผลรูปรีแกมขอบขนานและโค้งเลก็ น้อย ยาว 2-3 ซม. ผิวเกลี้ยง เปน็ เหลี่ยมเลก็ น้อย ปลายผลมีกลีบเล้ียงติดคงทน มีเมลด็ ขนาดเล็กจำ� นวนมาก ถ่นิ อาศัย ขนึ้ ตามท่ีโลง่ แจง้ ริมล�ำธาร เกาะแก่งในแมน่ �้ำ หรอื ในปา่ บงุ่ ป่าทาม ที่ความสูงจากระดบั น้�ำทะเลไมเ่ กนิ 200 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นมีนาคม-พฤษภาคม ผลแก่เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม กระจายพนั ธ์ุ กระจายพนั ธุ์กวา้ งแต่เปน็ พชื คอ่ นข้างหายาก พบในลมุ่ นำ�้ แมก่ ลอง จังหวัดกาญจนบุรี ราชบรุ ี และ จังหวดั จันทบุรีและตราด และในภาคตะวันออกเฉียงเหนือพบทอ่ี ดุ รธานี หนองคาย นครพนม และอุบลราชธานี ตา่ งประเทศพบในรัฐอัสสมั ประเทศอนิ เดีย เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และเวยี ดนามตอนใต้ การใชป้ ระโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น รสฝาด เปน็ ผกั สด กินแกลม้ ก้อย-ลาบ (19, 21).--- วสั ดุ ลำ� ตน้ ใชท้ �ำแกนไมข้ องตับหญา้ มงุ หลังคา (19)

ผลอ่อน หูใบหมุ้ ยอด

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 391 ก้านเหลือง ชื่อทอ้ งถิ่นอ่ืน : ตมุ้ ขัก ต้มุ ค�ำ ต้มุ ดง (ภาคเหนอื ), ต้มุ เหลือง (แมฮ่ ่องสอน), ก้านเหลอื ง สะแกเหลือง กระทมุ่ คลอง กระทมุ่ น้�ำ (ภาคกลาง), ตะกู (สโุ ขทัย), กา้ นเหลอื ง (นครราชสมี า, มกุ ดาหาร), ปอขีห้ มาแห้ง (บรุ ีรัมย์), ท่มุ พาย (อ.วารินช�ำราบ อบุ ลราชธาน)ี Nauclea orientalis (L.) L. (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พ้อง : Nauclea orientalis var. pubescens (Kurz) Craib ไม้ต้น สงู 10-25 ม. เปลือกสีน้ำ� ตาล เรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด ตามก่งิ ออ่ นและหใู บมขี นประปราย-เกล้ยี ง ทีย่ อดมี หูใบหุม้ รูปกลมและแบนดา้ นขา้ ง ยาว 1-2.5 ซม. ใบเดีย่ ว เรียงตรงข้าม รปู ไข่กวา้ ง หรอื รปู รแี กมขอบขนาน ยาว 10-25 ซม. ปลายใบมน โคนใบมน-เวา้ รูปหวั ใจ ผวิ ใบด้านลา่ งมีขนกำ� มะหยี่นุ่ม-เกอื บเกล้ยี ง มเี สน้ แขนง ใบข้างละ 6-11 เสน้ ก้านใบยาว 2-5 ซม. ชอ่ ดอกแบบกระจกุ อดั แนน่ ทรงกลม เมือ่ ดอกย่อยบานจะกว้าง 3-5 ซม. มกี ลนิ่ หอม ออกเดยี่ วตามปลายก่ิง ก้านชอ่ ดอกยาว 2 ซม. มีขน-เกล้ียง ดอกยอ่ ยขนาดเลก็ มาก กลบี ดอกสเี หลอื ง โคนเป็นหลอด ยาว 6-9 มม. ปลายแยก 4-5 แฉก มเี กสรเพศเมียสีขาวยาวพ้นออกมาจากหลอด กลีบดอก ผลทรงกลมหรอื เบ้ยี ว กว้าง 3-5 ซม. ผวิ ขรขุ ระ เปน็ ช่องขนาดเล็กจ�ำนวนมาก ซ่ึงเปน็ ส่วนของผลย่อย อดั กันแนน่ เมอ่ื แกจ่ ะแหง้ สีน�้ำตาล ผลยอ่ ยจะหลดุ แยกจากกนั มีเมลด็ ขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก รูปขอบขนาน ยาว 1.5-2 มม. ถน่ิ อาศัย ขน้ึ ในท่ีโลง่ แจง้ ตามรมิ ล�ำคลอง แมน่ ำ�้ หรอื อา่ งเก็บนำ�้ ท่ีเป็นดนิ ตะกอนทับถม ท่ีความสูงจากระดับ น�้ำทะเลไมเ่ กิน 600 ม. ออกดอกช่วงเดือนมีนาคม-กนั ยายน ผลแกเ่ ดอื นมิถนุ ายน-พฤศจกิ ายน เปน็ ไมโ้ ตเร็ว ออกดอก-ตดิ ผลเมอื่ ต้นมีอายุ 4-5 ปี กระจายพันธ์ุ ก้านเหลืองพบได้คอ่ นขา้ งง่าย และทว่ั ประเทศ ต่างประเทศพบในเมยี นมาร์ จีนตอนใต้ ลาว กัมพชู า เวียดนามตอนใต้ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซยี จนถงึ ตอนเหนอื ของออสเตรเลีย การใชป้ ระโยชน์ สมุนไพร แก่นกา้ นเหลอื ง + หัวขา้ วเย็นเหนือ/ขา้ วเยน็ ใต้ ต้มน้ำ� ด่ืมรักษาโรคดซี า่ น และโรคตับ (7).- เปลือก เนือ้ ไม้ และแก่น ตม้ นำ�้ รว่ มกับต้นแสง/ชมุ แสง (Xanthophyllum lanceatum) ดื่มแกป้ วดเม่อื ย (1).- ใบ กินไม่ได้ มีฤทธเ์ิ บอื่ เมา แตใ่ ช้ไล่แมลงหรือหอยเชอร่ไี ด้ โดยน�ำ ใบก้านเหลอื ง + ใบสะเดา + ใบข้ีเหลก็ ตำ� แลว้ หมกั ผสมกนั กบั นำ้� กรองเอาแต่น�้ำมาใช้.- เชือ้ เพลิง เนือ้ ไม้ใช้ท�ำฟืนได.้ - ก่อสร้างหรอื เคร่อื งมือ แก่นไม้ มีสเี หลืองเข้มสวยงาม คล้ายแก่นไม้ขนุน เน้ือไมเ้ บา แข็งแรงปานกลาง ใช้งานกอ่ สรา้ งในรม่ ท�ำไมฝ้ า กระดาน โครงเคร่า จนั ทนั หรือทำ� เคร่ืองเรือน (ท่ีมา : อ.เมือง มุกดาหาร)

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 393 คัดเค้า ช่ือท้องถน่ิ อื่น : หนามลิดเคา้ (เชียงใหม)่ , คดั เค้า คดั ค้าว เคด็ เคา้ (ทว่ั ไป, ภาคกลาง), เข้ียวกระจบั (ภาคตะวนั ตก เฉียงใต้), พญาเท้าเอว (กาญจนบรุ ี), คดั เคา้ หนามคัดเค้า คัดเคา้ เครอื (อสี าน), ยดึ กะตา ปันรายดึ ตะกา (เขมร- อ.ทา่ ตมู สุรนิ ทร)์ Oxyceros horridus Lour. (วงศ์ Rubiaceae) ชือ่ พอ้ ง : - ไม้พมุ่ รอเล้ือย สูง 3-6 ม. เปลอื กสนี ำ�้ ตาล เรียบ กงิ่ มหี นามแหลมคมโค้งกลับคล้ายเขาควาย ออกเปน็ ค่ตู รง ข้ามกนั ทีซ่ อกใบ ยาว 1 ซม. ตามกิ่งออ่ น ใบ และชอ่ ดอกเกลย้ี ง ใบเดี่ยว เรยี งตรงขา้ ม รูปรีแกมขอบขนาน ยาว 6-12 ซม. ปลายใบแหลม-เรยี วแหลม โคนใบมน มีเส้นแขนงใบขา้ งละ 7-11 เสน้ กา้ นใบยาว 1-1.5 ซม. ชอ่ ดอกแบบแยกแขนง ยาว 3-6 ซม. ออกตามซอกใบและปลายกิง่ ดอกย่อย 10-25 ดอก อยู่คอ่ นขา้ งชิดกนั คล้าย ชอ่ ดอกเข็ม มีกล่นิ หอมแรงชว่ งตอนเยน็ -กลางคืน กลีบเลยี้ งสีเขียว กลีบดอกเปน็ หลอด ปลายแยก 5-6 แฉก รูปขอบขนาน ปลายมกั จะบิดเลก็ น้อย ดอกบานกวา้ ง 1.5-2 ซม. สขี าวแล้วเปล่ยี นเปน็ สีเหลอื งคล�้ำเมอื่ ใกล้ โรย ผลทรงกลม กวา้ ง 1 ซม. ผลอ่อนสีเขียว ผิวเกลี้ยงมนั เงา ปลายมโี คนของกลีบเล้ียงรปู วงแหวนตดิ คา้ ง เมือ่ สกุ สดี ำ� มีเมล็ดขนาดเลก็ จ�ำนวนมาก ถ่ินอาศัย ขึน้ ในที่โลง่ แจง้ หรอื ชายปา่ ดงดิบ ป่าเบญจพรรณ และป่าบุง่ ป่าทาม ในเขตท่รี าบน�้ำท่วมถึง ที่ความสูง จากระดบั นำ�้ ทะเลไม่เกนิ 500 ม. ออกดอกชว่ งเดือนมกราคม-เมษายน ผลแกเ่ ดือนเมษายน-กรกฎาคม กระจายพันธ์ุ พบค่อนข้างง่าย ทว่ั ประเทศ ตา่ งประเทศพบในเมยี นมาร์ ลาว กมั พชู า และเวยี ดนามตอนกลาง-ใต้ การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดออ่ น เป็นผกั สด จม้ิ นำ�้ พรกิ หรือกนิ แกลม้ ลาบ-กอ้ ย (9, 11).- สมนุ ไพร เมลด็ บดเข้ายาอนื่ ๆ บำ� รงุ เลอื ด (7).- ราก ตม้ น้ำ� ดมื่ แก้เบาหวาน (7).- กง่ิ หรอื ลำ� ต้น ตม้ น�ำ้ ดื่ม บำ� รุงน้�ำนม (1).- รากหรือเหง้า เข้ายาอนื่ ๆ แกม้ นมาน (ลมพษิ , อาการมผี นื่ คนั เพราะแพท้ างผวิ หนงั ) (12).- แกน่ เป็นยาเยน็ ฝนแล้วพอกรักษา แผล (11).- วสั ดุ ลำ� ต้นและกิง่ ใชท้ ำ� ไมก้ วาด กวาดแยกฟางข้าวออกจากเมล็ดข้าว (11).- ดา้ นอื่น ปลกู ท�ำซมุ้ หนา้ บา้ น หรอื ปลูกเปน็ ร้วั บ้าน เพราะมีหนามคมและดอกหอม (1, 15).- ดอกมกี ล่ินหอม ใช้บูชาพระ (4, 11).--- ตน้ มีหนาม ใช้วางลอ้ มวงกนั ผมี ากินรกแมล่ กู ออ่ น (12)

ขนมขา้ วตดหมา ภาพโดย เตอื นใจ ประทมุ มา

ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 395 เครือตดหมา ชื่อทอ้ งถ่นิ อืน่ : ผักไหม (ภาคเหนอื ), กระพงั โหม พงั โหม ตดหมตู ดหมา (ภาคกลาง), ย่านพาโหม (ภาคใต)้ , เครอื - ตดหมา ตดหมา (อีสาน), ตะมกู ปลาไหล (อดุ รธานี), เครือไส้ปลาไหล (มหาสารคาม), เวือระพอม (เขมร-บุรีรัมย,์ สุรนิ ทร)์ Paederia foetida L. (วงศ์ Rubiaceae) ชอ่ื พ้อง : - ไม้เลอื้ ยล้มลุก ยาว 3-6 ม. มีหัวหรอื รากสะสมอาหารใต้ดนิ เถาและใบมีนำ้� ยางสขี าว ตามกงิ่ ใบ กา้ นใบ และ ก้านช่อดอกมขี นส้นั ประปราย-เกล้ียง ใบหรอื หัวใต้ดินเม่อื ขยจี้ ะมีกลน่ิ เหม็นคล้ายตด มหี ใู บติดคงทนระหวา่ ง ก้านใบคู่ตรงข้าม รูปสามเหลยี่ มหรือรูปไข่ ยาว 2-6 มม. ปลายแหลมหรือแยก 2 แฉก ใบเดย่ี ว เรียงตรงข้าม รูปไข่ หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กวา้ ง 2-4 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายใบแหลม หรอื มตี ง่ิ แหลม โคนใบแหลม- เวา้ รปู หัวใจเล็กนอ้ ย มเี สน้ แขนงใบขา้ งละ 4-6 เส้น กา้ นใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบแยกแขนง ออกตามซอก ใบหรือปลายกิง่ ยาว 5-40 ซม. กลบี เล้ยี งปลายแยก 5 แฉก รปู สามเหลยี่ ม ยาว 0.5-1 มม. กลีบดอกเปน็ หลอด ยาว 10-12 มม. ปลายแยก 4-5 แฉก ยาว 2-3 มม. ขอบกลบี หยัก กลบี ดอกด้านนอกสชี มพอู ่อน-ขาว ด้านใน สมี ่วงแดง มีขนหนาแน่นท้ังดา้ นนอกและด้านใน ผลทรงกลมหรอื รปู ไข่กว้าง กวา้ ง 4-7 มม. ยาว 4-10 มม. ผวิ คอ่ นขา้ งเกลยี้ ง ปลายมีกลบี เลี้ยงตดิ คงทน ผลแก่แห้งมีสีน�ำ้ ตาลอ่อน มี 2 เมลด็ รปู ค่อนขา้ งกลม กว้าง 3-4 มม. ถิน่ อาศยั ขึน้ ในที่โลง่ แจ้ง ท่รี กรา้ ง หรือชายป่าดงดิบ ป่าผลดั ใบ และป่าบงุ่ ปา่ ทาม ท่คี วามสูงจากระดับน้�ำทะเล ไม่เกิน 1,500 ม. ออกดอกชว่ งเดอื นกันยายน-กมุ ภาพนั ธ์ ผลแก่เดอื นธันวาคม-พฤษภาคม กระจายพันธุ์ พบไดง้ ่าย มกั เปน็ วชั พชื เล้อื ยปกคลมุ พชื อืน่ ๆ ตามทีร่ กรา้ งข้างทางทวั่ ประเทศ ตา่ งประเทศพบใน เขตรอ้ นและเขตอบอนุ่ ในภูมภิ าคเอเชียใต้ เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เอเชียตะวนั ออก ไปจนถึงเกาหลเี หนอื ญ่ปี ุ่น ปัจจบุ ันเป็นวชั พชื รกุ รานเข้าไปในทวปี อเมรกิ าเหนือ และหมู่เกาะฮาวาย การใช้ประโยชน์ อาหาร ยอดอ่อน มีกลนิ่ เหมน็ เป็นผักสด ผักเครื่องเคยี งเมี่ยง ลาบ ก้อย จมิ้ น�ำ้ พริก ปลาแดกบอง (2, 13, 14, 17).- หวั หรอื เหงา้ ใตด้ นิ (มกี ล่นิ เหม็นแต่เม่ือท�ำให้สุกกลนิ่ จะหายไป) ใชท้ ำ� ข้าวโป่ง (ขา้ วเกรียบวา่ ว) ต�ำคนั้ นำ�้ ผสมกับแปง้ ขา้ วเกรียบ ตำ� คลุกกนั เวลาปิ้งจะช่วยท�ำให้ขา้ วเกรียบพองฟดู ีกวา่ การไมใ่ สน่ ้�ำของหัวเครือตดหมา มี คณุ สมบัติคล้ายการใช้ผงฟู บ้างกว็ า่ ใชใ้ บและเถามาตำ� คนั้ น้�ำแทนหวั กไ็ ด้ (13, 14, 17).- ใชท้ �ำ ขนมข้าวตด หมา (13, 14, 15) โดยใช้ แป้งขา้ วเหนียว + น�ำ้ + น�้ำคนั้ หัวเครอื ตดหมา + มะพรา้ วขูด + น้�ำตาลทราย/น�้ำตาล โตนด คลกุ และนวดให้เข้ากนั หอ่ ใสใ่ บตอง นง่ึ หรอื ปิ้งให้สุกแล้วจะหอม (สตู รขนมโดย นางลำ� พนู ประทมุ มา อ.บงึ บูรพ์ จ.ศรสี ะเกษ).- รากอ่อนล้างนำ�้ ให้สะอาด ตำ� บีบคั้นน้�ำ ใช้พรมขา้ วเหนยี วทีน่ ึง่ สุกใหม่รอ้ นๆ ส่าย/สง ขา้ วดว้ ยไม้พายบนกระโบมใหท้ ว่ั จะช่วยให้ข้าวพองฟูขึ้น เนือ้ น่มุ หอม และอมหวานเล็กน้อย (2).- สมนุ ไพร ทกุ ส่วน น�ำมาต้มน�้ำดมื่ รกั ษาอาการท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ ชว่ ยขบั ลม (13).--- ใบและเถา ตำ� พอกหนา้ ผากเด็ก ช่วย ลดไข้ (17)

รากสะสมอาหาร/หวั

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 397 เครือตดหมาน้อย ช่ือท้องถิ่นอ่ืน : พังโพม หญ้าตดหมา (ภาคกลาง), ตดหมูตดหมา (ประจวบคีรีขนั ธ์), ย่านพาโหม (ภาคใต)้ , ตดหมา ตำ� ยานตวั ผู้ (นครราชสมี า), ตดหมา เครือตดหมา เครอื ตดหมานอ้ ย (อสี าน) Paederia linearis Hook.f. (วงศ์ Rubiaceae) ชือ่ พอ้ ง : Paederia consimilis Pierre ex Pit. ไมเ้ ลอ้ื ยล้มลกุ ยาว 2-4 ม. มหี ัวหรอื รากสะสมอาหารใตด้ นิ เถาและใบมนี ้�ำยางสขี าว ใบหรือหัวใตด้ นิ เมื่อขยจี้ ะมี กลน่ิ เหม็นคล้ายตด ซ่งึ มีลกั ษณะหลายอย่างคล้ายกับ เครือตดหมา (Paederia foetida) แต่ เครือตดหมา- น้อย มีจุดเดน่ ที่แยกไดง้ า่ ยคอื มีใบรูปแถบหรือรปู ใบหอกแกมแถบ กวา้ ง 0.5-1.5 ซม. ยาว 5-12 ซม. มี ก้านใบท่ีส้นั เพียง 2-5 มม. และตามกิ่งออ่ น กา้ นใบ ผิวใบด้านล่าง ก้านช่อดอก และผลจะมขี นยาวสากคายหรือ ขนส้ันค่อนข้างหนาแน่นมากกว่า (เครือตดหมา มใี บรปู ไขห่ รอื รปู ไข่แกมขอบขนาน กวา้ ง 2-4 ซม. ยาว 5-10 ซม. กา้ นใบยาว 1-3 ซม. และตามกง่ิ ออ่ น กา้ นใบ ผิวใบด้านล่าง ช่อดอก และผล มีขนส้นั ประปราย-เกลย้ี ง) ถน่ิ อาศัย ข้นึ ในทโ่ี ล่งแจ้ง ทีร่ กรา้ ง หรอื ชายปา่ ดงดบิ ปา่ ผลดั ใบ และป่าบุ่งปา่ ทาม ทคี่ วามสงู จากระดับน�้ำทะเล ไมเ่ กิน 300 ม. ในพื้นท่ีสภาพอากาศหรือดินทีแ่ หง้ แล้งเรามกั จะพบเครือตดหมาน้อยไดง้ ่ายกวา่ เครือตดหมา ออกดอกชว่ งเดือนธันวาคม-มีนาคม ผลแกเ่ ดือนมีนาคม-มิถนุ ายน กระจายพันธุ์ พบไดง้ ่าย มกั เป็นวัชพชื เลอื้ ยปกคลุมพชื อ่นื ๆ ตามท่รี กรา้ งข้างทางทว่ั ประเทศ ตา่ งประเทศพบใน เมียนมาร์ ลาว กัมพูชา และเวยี ดนามตอนใต้ การใช้ประโยชน์ ใชป้ ระโยชนเ์ หมือนกบั เครือตดหมา

ผลออ่ น (มาก)

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 399 ข้าวสาร ชื่อทอ้ งถ่นิ อื่น : ตะไหล (เชยี งใหม)่ , ข้าวสาร (อ.ศรีสงคราม นครพนม, อ.พรรณานิคม สกลนคร) Prismatomeris tetrandra (Roxb.) K. Schum. (วงศ์ Rubiaceae) ชอื่ พอ้ ง : - ไมพ้ ุ่ม สงู 0.5-4 ม. กิง่ เป็นสีเ่ หลยี่ ม กิง่ แก่มีสันหรือรอยย่นตามยาว ตามกิ่ง ใบ ก้านใบ และชอ่ ดอกเกลยี้ ง ใบเด่ียว เรยี งตรงขา้ ม รปู ร-ี หอกกลับ ยาว 3.5-12 ซม. ปลายใบแหลม-เรียวแหลม โคนใบแหลม ผิวใบเกล้ยี ง ดา้ นบนมันเงา มีเสน้ แขนงใบขา้ งละ 5-9 เส้น ปลายเสน้ โค้งจรดกัน นูนชดั ที่ผวิ ใบด้านบน เส้นใบย่อยแบบ ร่างแหมองเห็นชัดเจนทผ่ี วิ ใบด้านล่าง กา้ นใบยาว 4-10 มม. ดอกออกเปน็ กระจกุ ตามซอกใบหรอื ปลายกง่ิ มี 1-12 ดอก/กระจกุ กา้ นดอกยาว 5-15 มม. มจี ุดสขี าว กลบี เล้ียงสเี ขยี ว ยาว 1-2 มม. ปลายแยกเปน็ แฉกต้ืนๆ 4-5 แฉก กลบี ดอกสีขาว เป็นหลอดยาว 1.2-2 ซม. ปลายแยก 4-5 แฉก คล้ายดอกมะลิ แฉกยาวใกล้เคียงกับ หลอดดอก มีเสน้ กลบี ตามยาว 3 เส้น ดอกมีกลิน่ หอม ผลทรงกลมแกมรี กว้าง 1 ซม. ผิวเกลยี้ ง เมือ่ สกุ สมี ่วงด�ำ มี 1 เมลด็ ถ่นิ อาศัย ขน้ึ ในท่ีมีแสงรำ� ไร หรอื ชายปา่ ดงดบิ ปา่ ผลดั ใบ และป่าบุ่งปา่ ทาม ที่ความสงู จากระดับน�้ำทะเลไมเ่ กนิ 1,000 ม. ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพนั ธ-์ มิถุนายน ผลแกเ่ ดอื นเมษายน-สิงหาคม กระจายพันธ์ุ พบได้คอ่ นขา้ งง่าย ทัว่ ประเทศ ตา่ งประเทศพบในอนิ เดยี ศรลี ังกา จีนตอนใต้ เมยี นมาร์ ลาว กมั พูชา และเวยี ดนาม การใชป้ ระโยชน์ สมนุ ไพร ราก มสี เี หลือง ฝนผสมกบั เนือ้ มะพร้าว แลว้ นำ� มาทาแก้โรคขเ้ี รอ้ื น, ราก ต้มน�้ำดื่มรักษาโรคดีซ่าน (20).- ราก ฝนผสมน้�ำหรือตม้ นำ้� ดื่ม แก้ไข้ในเดก็ ใช้แทนยาพาราเซตามอ่ น (18).- ราก ต้มน�้ำดม่ื หรอื ดองเหลา้ เป็นยาบำ� รุงก�ำลัง (20, 23)