ค ม อ หล กการประกอบอาหาร และ การบร การอาหาร ม.กร งเทพ

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-s่ือkกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี ีพ1 47 พัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ Re - Skill และ Up - Skill ให้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) หลกั การของหลกั สูตร หลกั สตู รการทำอาหารว่างเพื่อสขุ ภาพ มกี ารกำหนดหลกั การของหลกั สูตรไวด้ งั นี้ 1. เป็นหลักสตู รการทำอาหารว่างเพ่ือสุขภาพ ทเ่ี นน้ การใช้สมุนไพรมาเป็นวัตถุดิบเพ่ือเสริมภูมิคุ้มกัน โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2. เป็นหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดิบต่าง ๆ ที่ร่างกายจะได้ รับ เพ่อื เสรมิ ภูมคิ มุ้ กันโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 3. เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าในการประกอบอาชีพการทำอาหารว่างเพื่อสุขภาพจาก การเลือกใชบ้ รรจุภณั ฑ์สำหรบั ตกแตง่ จดั เสิร์ฟ การคดิ ตน้ ทุน และช่องทางการจัดจำหน่าย 4. เปน็ หลักสูตรทสี่ ามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายได้ใหท้ ้ังตนเองและชมุ ชน จุดหมาย 1. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับการทำอาหารวา่ งเพ่อื สุขภาพ 2. ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถดุ บิ ทีน่ ำมาใชใ้ นการทำอาหารว่าง เพอ่ื สขุ ภาพ 3. ผู้เรียนสามารถจดั ทำอาหารวา่ งเพอื่ สุขภาพ 4. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าในการประกอบอาชีพการทำอาหารว่าง เพือ่ สขุ ภาพจากการเลือกใช้บรรจภุ ณั ฑ์สำหรบั ตกแต่ง จดั เสิร์ฟ การคดิ ตน้ ทนุ และชอ่ งทางการจดั จำหน่าย 5. ผเู้ รียนสามารถนำไปประกอบอาชีพ และสรา้ งรายได้ให้ท้ังตนเองและชมุ ชน กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ัวไปที่มีความสนใจในการพัฒนาและต่อยอดอาชพี ระยะเวลา ระยะเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จำนวน 38 ช่วั โมง แบง่ เป็น 1. ภาคทฤษฎี จำนวน 14 ชว่ั โมง 2. ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 24 ช่ัวโมง 47

หreลัก-สsตู kรiเlพlื่อแกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 48 โครงสรา้ งหลกั สตู ร จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา จำนวนช่ัวโมง ที่ เรื่อง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1. ความรู้เบื้องต้น มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับ 1. ความหมายของอาหารว่าง ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับ 2. ประเภทของอาหารว่าง 22 เก่ียวกับ อาหารว่าง อาหารวา่ งเพื่อสุขภาพ 3. การกำหนดเวลาในการจดั อาหารวา่ ง เพ่ือสุขภาพ เพื่อสุขภาพ 22 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 4. ประโยชนข์ องอาหารวา่ งเพ่ือสุขภาพ 2. เครื่องมอื และ เก่ยี วกับเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ 5. การเลอื กบรโิ ภคอาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ 23 อปุ กรณ์ในการ ในการทำอาหารวา่ งเพ่ือสุขภาพ 6. สขุ อนามัยในการประกอบอาหารวา่ ง ทำอาหารวา่ งเพือ่ 2. สามารถเลอื กใช้เครือ่ งมอื เพ่อื สุขภาพ สขุ ภาพ และอุปกรณ์ในการทำอาหาร 1. เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ในการทำ ว่างเพอ่ื สุขภาพ อาหารว่าง 3. วัตถดุ ิบสำหรบั การ 3. สามารถดูแล เกบ็ รกั ษา 2. หลกั การเลือกเครอ่ื งมือเคร่ืองใช้ใน ทำ อาหารวา่ งเพอื่ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ การประกอบอาหารว่างเพ่ือสุขภาพ สขุ ภาพ อาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ 3. ความปลอดภยั ในการใชอ้ ุปกรณ์ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เครื่องมือเครือ่ งใช้ในการประกอบ เก่ยี วกับวัตถดุ บิ สำหรับการทำ อาหารวา่ งเพื่อสุขภาพ อาหารวา่ งเพ่ือสขุ ภาพ 4. หลักการดแู ลรักษาเครื่องมือ 2. สามารถเลอื กใชว้ ัตถุดิบ เครือ่ งใชใ้ นการประกอบอาหารว่าง สำหรบั การทำอาหารว่างเพื่อ 1. สว่ นประกอบของอาหารวา่ ง สุขภาพ เพ่ือสขุ ภาพ 3. สามารถเก็บรกั ษาวัตถดุ บิ 2. การเลือกซื้อและเก็บรักษาวตั ถุดิบ สำหรับใชใ้ นการทำอาหารว่าง สำหรับใชใ้ นการทำอาหารว่าง เพ่ือสขุ ภาพ เพอ่ื สุขภาพ 4. สามารถบอกคุณคา่ 3. คณุ ค่าประโยชนแ์ ละผลข้างเคียง ประโยชน์และผลขา้ งเคียงของ ของวตั ถุดิบสมุนไพรสำหรบั นำมาใช้ วัตถุดิบสมนุ ไพรสำหรับ ในการทำอาหารวา่ งเพอื่ สุขภาพ 48

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-sอื่ kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1 49 ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา จำนวนชว่ั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 4. การทำอาหารวา่ ง นำมาใช้ในการทำอาหารวา่ ง เพื่อสขุ ภาพ 48 เพ่ือสขุ ภาพ 5. การจดั ตกแต่งและ 24 จัดเสริ ฟ์ อาหารวา่ ง 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. การทำอาหารวา่ งเพ่ือสขุ ภาพ 25 เพอ่ื สุขภาพ เก่ียวกับการทำอาหารว่างเพ่ือ ค็อกเทลกุ้งยา่ งมะขามปอ้ ม 6. หลักการจัด จำหน่ายและ สุขภาพ 1.1 สดั สว่ นของวัตถุดบิ หลกั การกำหนด ราคา 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1.2 ขั้นตอนการทำ เก่ียวกบั คุณค่าและประโยชน์ 1.3 เทคนคิ การทำ ของวัตถุดิบในการทำอาหาร 1.4 คุณคา่ และประโยชน์ วา่ งเพอื่ สุขภาพ ของวตั ถุดิบ 3. สามารถทำอาหารว่างเพ่ือ 2. การทำอาหารว่างเพื่อสขุ ภาพ สขุ ภาพ คอ็ กเทลก้งุ ยา่ ง ลูกอมหา้ สหาย มะขามป้อม 2.1 สัดสว่ นของวัตถุดบิ 4. สามารถทำอาหารวา่ งเพื่อ 2.2 ข้ันตอนการทำ สุขภาพ ลกู อมห้าสหาย 2.3 คุณคา่ และประโยชน์ ของวัตถุดบิ 1. ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ 1. หลกั การตกแต่งอาหารว่าง การจัดตกแตง่ และจดั เสริ ฟ์ เพอ่ื สขุ ภาพ อาหารวา่ งเพื่อสขุ ภาพ 2. รูปแบบของการจดั บริการอาหารวา่ ง 2. สามารถตกแต่งและ เพ่ือสขุ ภาพ จดั เสริ ฟ์ อาหารวา่ งเพ่อื สุขภาพ 3. การจดั เสิร์ฟอาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. หลกั และองค์ประกอบของการจดั เกยี่ วกบั หลกั การจัดจำหนา่ ย จำหน่าย และหลักการกำหนดราคา 2. หลักและองคป์ ระกอบของ อาหารว่างเพื่อสขุ ภาพ การกำหนดราคา 2. สามารถกำหนดราคา 3. ตลาดอาหารวา่ งเพ่ือสุขภาพ อาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ 3. สามารถอธิบายการตลาด อาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ 4. สามารถอธบิ ายแนวทาง การจำหนา่ ยอาหารว่าง เพ่ือสขุ ภาพ 49

หreลกั-สsตู kรiเlพl่อื แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 50 การจดั กระบวนการเรยี นรู้ วิธีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ใช้รูปแบบการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย ดังน้ี 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การระดมสมอง (Brainstorming) 3. การอภิปราย (Discussion Method) 4. การชมคลิปวดี ีโอการบรรยายและการสาธติ 5. การฝึกปฏบิ ตั ิ ส่อื การเรยี นรู้ การจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามหลักสูตร มีการใช้สื่อการเรียนรู้ และแหลง่ เรียนรูท้ ่ีหลากหลาย ทนั สมัย และสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบัน ไดแ้ ก่ 1. ใบความรู้ 2. คลปิ วีดีโอการบรรยายและการสาธติ 3. ใบงาน การวดั และประเมินผล การวัดและประเมินผลหลักสูตร เปน็ การตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใชผ้ ลการประเมินเป็นข้อมูล และสารสนเทศที่แสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถต่อการทำอาหารว่างเพื่อสุขภาพ ซงึ่ สามารถประเมินได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การสงั เกต 2. การสอบถาม 3. การตรวจผลงาน/ชิน้ งาน 4. การทดสอบ การจบหลกั สูตร 1. มรี ะยะเวลาเรียนและฝึกปฏบิ ตั ติ ลอดหลกั สตู ร ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผ่านตลอดหลักสูตร ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ดงั น้ี 2.1 ภาคทฤษฎี สัดส่วนรอ้ ยละ 20 2.1 ภาคปฏบิ ตั ิ สัดสว่ นร้อยละ 80 50

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sือ่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1 51 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 1. ใบลงทะเบยี นระยะเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบตั ิ 2. ทะเบยี นคุมวุฒบิ ตั ร 3. วุฒิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา การเทยี บโอน ผู้เรียนที่จบการทำอาหารว่างเพื่อสุขภาพ อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรียนกับหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรืออ่นื ๆ ไดต้ ามหลักเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด 51

rหeลัก-สsตู kรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 52 บรรณานกุ รม การคำนวณต้นทุนการผลติ แบบง่าย. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก. https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วันทีส่ ืบคน้ ข้อมลู 27 กรกฎาคม 2564). การจำแนกชนิดของผัก. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.scimath.org/article-biology/item/500- vegetables25. (วนั ทสี่ ืบค้นขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564). การจดั ตกแตง่ อาหาร. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/silpakartketengxahar/home/5. (วันท่ีสบื ค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564). กลั ยาณี ภูผ่ ่อง. หนงั สอื ถนอมอาหารเบ้อื งตน้ , วิทยาลยั เทคโนโลยีครัววันดี กรงุ เทพ 2563. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารว่าง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://pubhtml5.com/wkww/lbbh/basic. (วันทีส่ ืบค้นขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564). จดั อาหารว่างเพ่ือสขุ ภาพ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th/Content/28813-. (วันทสี่ บื ค้นข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564). ชวนชม สงเคราะห์พันธ์ุ. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาหลักการประกอบอาหาร. วิทยาลัย เทคโนโลยีครัววันดี, กรุงเทพ ฯ. 2564 . ชรัตน์ อาจมังกร. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาอาหารท้องถิ่น วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี, กรุงเทพ 2563. ดร. วิชุดา ณ สงขลา ศรียาภัย. ตำราอาหารตามสั่ง, บทความคิดต้นทุนอาหาร โรงเรียนสอนอาหารครัววันดี กรุงเทพ 2540. ตลาดอาหารว่างของจนี ในปี 2561 มีมูลค่าทะลุลา้ นลา้ นหยวน. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.ditp.go.th/contents_attach/541813/541813.pdf. (วนั ที่สืบค้นขอ้ มูล 25 กรกฎาคม 2564). น้ำขิง ประโยชน์แจ่มจริง ๆ ดื่มทกุ วันย่ิงดีเลย . คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์. [ออนไลน์]. เขา้ ถึง ได้จาก http://fic.ifrpd.ku.ac.th/fic/index.php/en/informaton-service-menu-en/food- news-menu-en/food-news-main-menu/589-food1-10-08-2018 (วันที่สบื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564) ประเภทของแปง้ ประกอบอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก http://toys.dss.go.th/otopinfo/index.php/en/home/26-interesting-articles/180-2018- 05-01-07-28-58. (วันท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564). ประโยชนแ์ ละสรรพคุณของกระชาย. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.thairath.co.th/lifestyle/life/1889689. (วนั ทสี่ บื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). 52

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 53 โปรตีนสารอาหารทร่ี ่างกายขาดไมไ่ ด้. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://amprohealth.com/nutrition/protein/. (วนั ทสี่ บื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). แผนธุรกิจบริการอาหารวา่ งและเคร่ืองดมื่ บรรจุกล่อง. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.smeleader.com/files/business_plan/business_plan_bakery_shop10.pdf . (วันท่สี ืบค้นข้อมลู 25 กรกฎาคม 2564). พเิ ชษฐ์ วิไลลักษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวชิ าผลิตภัณฑเ์ บเกอรี.่ วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี, กรงุ เทพ ฯ. 2564 . พิมชนก รุ่งไหรัญ หนังสือภาษาอังกฤษสำหรับการประกอบอาหารไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันดี, กรุงเทพ, 2564. มะขามป้อม ผลไม้วิตามินซสี งู ปร๊ีด. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://health.kapook.com/view178427.html. (วนั ท่สี บื คน้ ขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564). ลว้ งลกึ 6 สุดยอดสรรพคณุ ในขมิ้นชัน ที่ชว่ ยล้างพิษ. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.sanook.com/health/24691/. (วันท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564). วนั ดี ณ สงขลา. หนงั สือทฤษฎีอาหาร, โรงเรยี นสอนอาหารครัววนั ดี กรงุ เทพ 2530. . ตำราอาหารสามแผ่นดนิ โรงเรียนสอนอาหารครวั วันดี กรุงเทพ 2545. สมุนไพรไทยรกั ษาโรค. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/chayada10381/kar-keb-raksa. (วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มลู 24 กรกฎาคม 2564). สรรพคุณฟ้าทะลายโจร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://med.mahidol.ac.th/altern_med/th/km/19jun2020-1729. (วนั ทีส่ ืบค้นข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564). อาหารว่าง. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. [ออนไลน์], เข้าถงึ ได้จาก https://dictionary.orst.go.th/. (วันท่สี บื คน้ ข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564) อาหารวา่ งเบื้องตน้ . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://anyflip.com/vkprk/bxbu/basic. (วันทส่ี บื ค้นข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564). อาหารวา่ งเลอื กงา่ ย ๆ ได้สขุ ภาพ. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://www.pobpad.com/อาหารว่าง-เลือก งา่ ย-ๆ-ได. (วันทส่ี บื ค้นข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564). อุปกรณ์อาหารว่างไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://krua.co/cooking_post/อุปกรณ์อาหารว่างไทย/. (วันทีส่ ืบคน้ ขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564). อปุ กรณ์ เครือ่ ง เครือ่ งใชใ้ นการประกอบอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/606150616caruwrrn/2-xupkrn-kheruxng-mux-kheruxng- chi-ni-kar-prakxb-xahar. (วันท่สี บื คน้ ข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564). 53

rหeลัก-สsูตkรiเlพlอื่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1 54 คณะผจู้ ดั ทำ ทปี่ รกึ ษา 1. นายวรทั พฤกษาทวกี ุล เลขาธิการ กศน. 2. นายชัยพัฒน์ พันนธวุ์ ัฒนสกุล ผู้เช่ียวชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สูตร 3. นางศุทธินี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั 4. นางรักขณา ตณั ฑวุฑโฒ ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยที างการศึกษา คณะพัฒนาหลักสตู ร 1. นางเออื้ มพร สเุ มธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกล่มุ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา/ พฒั นาหลักสูตร 2. นางสาววิชดุ า ณ สงขลา ศรียาภยั ผ้อู ำนวยการ วิทยาลัยเทคโนโลยคี รัววันดี/ผู้เช่ยี วชาญเนือ้ หา 3. นางสาวกัลยาณี ภผู่ อ่ ง ครู วิทยาลยั เทคโนโลยคี รวั วนั ด/ี ผเู้ ชย่ี วชาญเน้ือหา 4. นางจุไรรัตน์ พืชสิงห์ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววันด/ี ผูเ้ ชี่ยวชาญเน้อื หา 5. นางชวนชม สงเคราะห์พันธ์ ครู วิทยาลยั เทคโนโลยคี รัววนั ด/ี ผู้เช่ียวชาญเน้อื หา 6. นางสาวจฑุ าภรณ์ ชมด ครู วทิ ยาลัยเทคโนโลยคี รวั วนั ดี/ผเู้ ชยี่ วชาญเนอ้ื หา 7. นางสาววลัยลักษณ์ เจมิ ววิ ฒั นก์ ลุ ครู วิทยาลัยเทคโนโลยีครัววนั ด/ี ผ้เู ช่ยี วชาญเน้ือหา 8. นางพรรณทพิ า ชนิ ชชั วาล ข้าราชการบำนาญ/นักวดั ผล 9. นางสาวมณฑา เกรียงทวที รัพย์ ขา้ ราชการบำนาญ/นักวดั ผล 10. นางวรรษวรรณ บันลือฤทธ์ิ ครชู ำนาญการพเิ ศษ/นักวดั ผล 11. นางนสุ รา สกลนุกรกจิ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พฒั นาหลกั สูตร 12. นางสาวฐานิตา คลา้ ยออ่ น นกั วิชาการศกึ ษา/พัฒนาหลักสตู ร คณะบรรณาธกิ าร 1. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั 2. นางเอือ้ มพร สเุ มธาวฒั นะ ผูอ้ ำนวยการกล่มุ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. นางนสุ รา สกลนกุ รกจิ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ 3. นางนสุ รา สกลนุกรกจิ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ 4. นางสาวฐานติ า คล้ายออ่ น นักวชิ าการศกึ ษา ศลิ ปกรรม ออกแบบกราฟิก ปก/รูปเล่ม นางเออ้ื มพร สุเมธาวฒั นะ ผู้อำนวยการกลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา พิสจู นอ์ กั ษร 1. นางนุสรา สกลนุกรกจิ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ 2. นางสาวฐานิตา คล้ายออ่ น นกั วิชาการศกึ ษา 54

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี ีพ1 55 ช่ือหลกั สูตร การทำเครอื่ งดม่ื เพื่อสขุ ภาพ จำนวน 38 ชว่ั โมง กลุ่มอาชพี เกษตรกรรม (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา) ความเปน็ มา ตามทีก่ ระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ด่วน ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย ของผู้เรียน หลักสตู รฐานสมรรถนะ บิ๊กดาตา้ (Big Data) การขบั เคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา ทักษะทางอาชีพ การศกึ ษาตลอดชีวิต และการจดั การศึกษาสำหรับผู้ท่มี ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน. จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคดิ สร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพ่ือพัฒนาประชาชนให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาและต่อยอด ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพ่ือผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล ให้เกดิ การสร้างงาน สร้างอาชพี สร้างรายได้ประชาชนหรือกลุ่มเปา้ หมายทอ่ี ย่ใู นชุมชน ต่อไป เพื่อสนองต่อนโยบายการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ที่สอดคล้องกับความต้องการของ กลุ่มเป้าหมายและสถานศึกษามคี วามพร้อมในการบรกิ ารตามสภาพบริบท เพอ่ื สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาพัฒนา อาชีพ Re - Skill และ Up - Skill สำหรับประชาชนที่ไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำนักงาน กศน. จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เป็น หลักสูตรในกลุ่มเสริมภูมิคุ้มกันไวรัสให้แก่ร่างกาย โดยการบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของสมุนไพรเสริ ม ภูมิคุ้มกันไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้แก่ กระชาย ขิง ฟ้าทะลายโจร มะขามป้อม ขมิ้นชัน เป็นต้น สอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า “รับประทานอาหารเป็นยา” เมนูอาหารได้รับการพัฒนาจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านอาหาร และโภชนาการ เป็นเมนูที่พัฒนาขึ้นใหม่ ที่มีวิธีการประกอบเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพไม่ยุ่งยาก รสชาติอาหาร เหมาะสมกับคนไทย แต่เปี่ยมไปด้วยคุณค่าของสารอาหารที่เสริมภูมิคุ้มกัน จัดทำขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบาย 55

หreลัก-สsตู kรiเlพlือ่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 56 ของสำนักงาน กศน. ที่มุ่งส่งเสริมการจัดการศึกษาพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทำ Re - Skill และ Up - Skill ให้แก่ประชาชนทไี่ ดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) หลกั การของหลกั สูตร หลกั สตู รการทำเครือ่ งดมื่ เพอ่ื สขุ ภาพ มีการกำหนดหลักการของหลักสตู รไว้ดงั นี้ 1. เปน็ หลักสตู รการทำเคร่ืองดืม่ เพ่อื สุขภาพท่เี น้นการใชส้ มุนไพรมาเป็นวัตถดุ ิบเพื่อเสริมภูมิคุ้มกัน โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 2. เป็นหลักสูตรทใี่ หค้ วามสำคัญกับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดิบต่าง ๆ ที่รา่ งกายจะได้รับเพื่อ เสรมิ ภูมิคุม้ กนั โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3. เป็นหลักสูตรท่ีส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าในการประกอบอาชีพการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจาก การเลือกใช้บรรจุภัณฑ์สำหรับตกแตง่ จดั เสิรฟ์ การคิดตน้ ทนุ และชอ่ งทางการจัดจำหนา่ ย 4. เป็นหลกั สตู รท่สี ามารถนำไปประกอบอาชีพ และสร้างรายไดใ้ ห้ทัง้ ตนเองและชุมชน จุดหมาย 1. ผ้เู รียนมีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการทำเคร่ืองดืม่ เพื่อสขุ ภาพ 2. ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการทำ เครื่องดม่ื เพื่อสุขภาพ 3. ผู้เรียนสามารถจดั ทำเคร่อื งดมื่ เพือ่ สขุ ภาพ 4. ผูเ้ รียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การเพมิ่ มลู ค่าในการประกอบอาชีพการทำเครื่องดื่มเพ่ือสุขภาพ จากการเลือกใช้บรรจภุ ัณฑส์ ำหรับตกแต่ง จดั เสิร์ฟ การคดิ ต้นทนุ และช่องทางการจัดจำหนา่ ย 5. ผเู้ รยี นสามารถนำไปประกอบอาชีพ และสร้างรายไดใ้ ห้ทงั้ ตนเองและชุมชน กล่มุ เปา้ หมาย ประชาชนทว่ั ไปที่มีความสนใจในการพฒั นาและต่อยอดอาชีพ ระยะเวลา ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จำนวน 38 ชั่วโมง แบง่ เปน็ 1. ภาคทฤษฎี จำนวน 14 ชัว่ โมง 2. ภาคปฏบิ ัติ จำนวน 24 ช่วั โมง 56

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 57 โครงสร้างหลักสูตร จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา จำนวนชว่ั โมง ที่ เรื่อง ทฤษฎี ปฏิบัติ 1. ความร้เู บอื้ งตน้ เก่ียวกับ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกบั 1. ความหมายของเครื่องด่ืม 22 เครื่องด่ืมเพื่อสุขภาพ ความรู้เบ้ืองตน้ เกยี่ วกบั เพอ่ื สขุ ภาพ 22 2. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ เครอื่ งดื่มเพื่อสุขภาพ 2. ประเภทของเครื่องด่มื เพ่ือสขุ ภาพ ในการทำเคร่ืองด่มื 24 เพอ่ื สขุ ภาพ 3. ความสำคญั ของเคร่ืองดื่ม 3. วตั ถุดิบสำหรับการทำ เพอ่ื สุขภาพ เคร่ืองด่ืมเพื่อสขุ ภาพ 4. ประโยชน์ของเคร่ืองด่ืมเพ่ือสุขภาพ 5. การเตรยี มเคร่ืองด่มื เพ่ือสุขภาพ 6. สุขอนามยั ในการทำเคร่ืองด่มื เพ่อื สขุ ภาพ 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1. เคร่ืองมอื และอปุ กรณใ์ นการทำ เก่ียวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ เครือ่ งดื่มเพื่อสขุ ภาพ ในการทำเคร่อื งดื่มเพอื่ สขุ ภาพ 2. การเตรยี มเครื่องมือและ 2. สามารถเลอื กใชเ้ ครือ่ งมอื อปุ กรณ์ในการทำเครื่องดมื่ และอุปกรณ์ในการทำเคร่ืองดม่ื เพื่อสขุ ภาพ เพือ่ สขุ ภาพ 3. การดแู ลรักษาเคร่อื งมือและ 3. สามารถดูแล เกบ็ รักษา อุปกรณ์ในการทำเครื่องดมื่ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการทำ เพื่อสุขภาพ เคร่อื งดื่มเพ่ือสขุ ภาพ 4. การเตรียมการบริการเคร่ืองดมื่ 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. ส่วนประกอบของเคร่ืองด่ืม เกย่ี วกับวตั ถดุ ิบสำหรับ เพอ่ื สุขภาพ การทำเคร่ืองดื่มเพ่ือสขุ ภาพ 2. การเลือกวตั ถดุ ิบสำหรับ 2. สามารถเลือกใชว้ ัตถุดบิ การทำเคร่ืองด่ืมเพ่ือสขุ ภาพ และวัตถุดิบทดแทนสำหรบั 3. การเลือกวตั ถดุ ิบทดแทน การทำเคร่ืองด่ืมเพ่ือสขุ ภาพ เครอ่ื งดื่มเพื่อสุขภาพ 3. สามารถเก็บรักษาวตั ถุดบิ 4. การเก็บรกั ษาวัตถดุ บิ เคร่ืองดม่ื เคร่อื งด่ืมเพ่ือสุขภาพ เพื่อสุขภาพ 4. สามารถบอกคุณคา่ 5. สมนุ ไพรตา้ นโควดิ -19 ประโยชน์และผลขา้ งเคียง 57

rหeลกั-สsตู kรiเlพlอ่ื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 58 ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏิบัติ ของวตั ถุดิบสำหรับนำมาใช้ 6. คณุ คา่ ประโยชนแ์ ละผลข้างเคยี ง 48 ในการทำเครอ่ื งดมื่ เพ่อื สุขภาพ ของวตั ถุดิบสำหรบั นำมาใชใ้ น 24 การทำเครื่องด่ืมเพื่อสขุ ภาพ 4. การทำเครื่องดื่ม 1. มคี วามรู้ ความเข้าใจ 1. การทำเครื่องดืม่ เพื่อสุขภาพ เพือ่ สุขภาพ เกีย่ วกับการทำเคร่ืองดืม่ น้ำฟา้ ทะลายโจรโซดามะนาว เพื่อสขุ ภาพ 1.1 สัดสว่ นของวัตถุดบิ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจ 1.2 ข้ันตอนการทำ เก่ยี วกบั คุณคา่ และประโยชน์ 1.3 เทคนคิ การทำ ของวัตถุดิบในการทำเครื่องด่ืม 1.4 คณุ ค่าและประโยชน์ เพ่ือสขุ ภาพ ของวัตถุดบิ 3. สามารถทำเครื่องดื่ม 2. การทำเครื่องดื่มเพื่อสขุ ภาพ เพื่อสุขภาพ น้ำฟ้าทะลายโจร สมทู ตป้ี ้อมทะลายฟ้า โซดามะนาว 2.1 สัดสว่ นของวตั ถุดบิ 4. สามารถทำเคร่ืองดื่ม 2.2 ขั้นตอนการทำ เพ่อื สุขภาพ สมูทตปี้ ้อม 2.3 เทคนิคการทำ ทะลายฟ้า 2.4 คุณคา่ และประโยชน์ ของวัตถุดบิ 5. บรรจุภัณฑ์ และการจดั 1. มีความรู้ ความเข้าใจ 1. ความสำคัญของบรรจภุ ัณฑ์ ตกแตง่ และจัดเสริ ฟ์ เก่ียวกบั บรรจุภัณฑ์เคร่ืองดื่ม 2. ประเภทของบรรจภุ ัณฑ์ เครื่องดื่มเพื่อสขุ ภาพ เพอื่ สุขภาพ 3. ประโยชน์ของบรรจภุ ณั ฑ์ 2. ความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ 4. การเลือกใช้และจดั ตกแตง่ การจัดตกแต่งและจดั เสริ ์ฟ บรรจภุ ัณฑ์ เครอ่ื งด่ืมเพื่อสขุ ภาพ 5. แนวโน้มบรรจุภัณฑ์เครอ่ื งดืม่ 3. สามารถเลือกใช้ จดั ตกแต่ง และแนวโนม้ การออกแบบ และการจัดจำหนา่ ยบรรจภุ ัณฑ์ ผลติ ภัณฑ์ปี 2021 4. สามารถตกแต่งและจดั เสริ ์ฟ 6. การจัดตกแตง่ บรรจุภัณฑ์ เคร่อื งด่ืมเพ่ือสุขภาพ และการจดั จำหนา่ ย 7. การจดั ตกแต่งและจดั เสริ ์ฟ เครือ่ งดื่มเพ่ือสุขภาพ 58

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1 59 ท่ี เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา จำนวนช่วั โมง 6. หลักการจัดจำหน่าย 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ 1. หลักและองค์ประกอบของ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 24 และหลกั การกำหนดราคา เกีย่ วกบั หลักการจัดจำหน่าย การจัดจำหนา่ ย และหลกั การกำหนดราคา 2. หลักและองค์ประกอบของ เคร่ืองดื่มเพื่อสุขภาพ การกำหนดราคา 2. สามารถกำหนดราคา 3. ตลาดเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ เครอื่ งด่ืมเพื่อสุขภาพ 3. สามารถอธิบายการตลาด เคร่ืองดื่มเพ่ือสุขภาพ 4. สามารถอธบิ ายแนวทางการ จำหนา่ ยเคร่ืองดื่มเพ่ือสุขภาพ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ วิธีการจัดกระบวนการเรยี นรู้ใช้รูปแบบการเรยี นรู้ที่หลากหลาย ดงั น้ี 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การระดมสมอง (Brainstorming) 3. การอภิปราย (Discussion Method) 4. การชมคลปิ วีดโี อการบรรยายและการสาธติ 5. การฝกึ ปฏิบัติ สือ่ การเรยี นรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามหลักสูตร มกี ารใชส้ อื่ การเรียนรู้ และแหล่งเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย ทนั สมัย และสอดคลอ้ งกับสถานการณป์ จั จบุ นั ได้แก่ 1. ใบความรู้ 2. คลิปวดี โี อการบรรยายและการสาธติ 3. ใบงาน การวัดและประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลหลักสูตร เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูล และสารสนเทศที่แสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถต่อการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ซ่ึงสามารถประเมินได้ด้วยวิธีการตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. การสังเกต 2. การสอบถาม 59

rหeลกั-สsูตkรiเlพl่ือแกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 60 3. การตรวจผลงาน/ชิน้ งาน 4. การทดสอบ การจบหลกั สูตร 1. มีระยะเวลาเรยี นและฝึกปฏิบัติตลอดหลักสูตร ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลกั สูตร ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ท่กี ำหนด ดงั นี้ 2.1 ภาคทฤษฎี สัดสว่ นร้อยละ 20 2.1 ภาคปฏิบัติ สดั สว่ นร้อยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศึกษา 1. ใบลงทะเบียนระยะเวลาเรียนและฝึกปฏบิ ตั ิ 2. ทะเบียนคุมวฒุ บิ ัตร 3. วฒุ ิบัตร ออกโดยสถานศึกษา การเทยี บโอน ผู้เรียนที่จบการทำเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ อาจจะนำผลไปเทียบโอน ผลการเรียนกับหลักสูตร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน หรอื อืน่ ๆ ไดต้ ามหลกั เกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษากำหนด (ทมี่ าของภาพประกอบ : กลุ่มพฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 60

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1 61 บรรณานุกรม การคำนวณต้นทนุ การผลิตแบบงา่ ย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก. การคำนวณตน้ ทุนการผลิตแบบง่าย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก. การผลติ น้ำสมุนไพรพร้อมด่ืม เพื่อเกาะกระแสรกั สุขภาพในปจั จบุ นั Integrating Traditional Herbs With Modern Food. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก. https://www.asiafoodbeverage.com/305/ (วันที่สบื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). การเตรยี มประกอบ จัด ตกแต่งและบริการเคร่ืองดื่ม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sudanaisorn2.blogspot.com/2019/05/blog-post_26.html. (วันที่สืบค้นข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564). ขวัญแก้ว วัชโรทัย.(2536). วิวัฒนาการและศิลปะการจัดโต๊ะอาหาร เครื่องดื่มและเมนูอาหาร. กรงุ เทพมหานคร : อมรนิ ทร์พริ้นติ้งกรุ๊ป จำกดั . ความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกับเครื่องด่ืม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.elfhs.ssru.ac.th/onnapat_mu/pluginfile.php/2 1 / block_html/content/Bar. (วันทสี่ บื คน้ ข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564). เคร่ืองดื่มเพอ่ื สุขภาพ (สมุนไพร). [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก https://sites.google.com/a/kham.ac.th/kheruxng-dum-pheux- sukhphaph/home/chnid-khxng-kheruxng-dum/kheruxng-dum-pheux-sukhphaph- smunphir. (วนั ท่สี บื คน้ ขอ้ มลู 23 กรกฎาคม 2564). เครอ่ื งด่มื และการบรกิ าร. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://bass2540.wordpress.com/2011/08/05/. (วันท่ีสบื ค้นข้อมูล 23 กรกฎาคม 2564). ฉลองศรี พิมลสมพงษ.์ ( 2543).การจัดบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม. กรงุ เทพมหานคร .มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ ชลธชิ า บุนนาค. (2543). การบริการอาหารและเครื่องด่ืม.กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑิตย.์ ชวนชม สงเคราะห์พันธ์ุ. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาหลักการประกอบอาหาร. วิทยาลัย เทคโนโลยีครวั วนั ดี, กรงุ เทพ ฯ. ดร. วิชุดา ณ สงขลา ศรียาภัย. (2540). ตำราอาหารตามสั่ง บทความคิดต้นทุนอาหาร โรงเรียนสอนอาหาร ครัววันดี กรุงเทพฯ. ธรุ กิจขายเคร่ืองดม่ื เพ่ือสขุ ภาพ เรมิ่ ตน้ แค่หลักพัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก. https://www.smeleader.com/ธุรกจิ ขายเคร่ืองด่มื /. (วันทีส่ ืบค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). น้ำขิง ประโยชน์แจม่ จริง ๆ ดื่มทุกวนั ยิ่งดีเลย . คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก http://fic.ifrpd.ku.ac.th/fic/index.php/en/informaton-service-menu-en/food- news-menu-en/food-news-main-menu/589-food1-10-08-2018 (วนั ท่ีสบื ค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). 61

หreลกั-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 62 พิเชษฐ์ วิไลลักษณ์. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาผลิตภัณฑ์เบเกอรี่. วิทยาลัยเทคโนโลยีครัว วนั ดี, กรงุ เทพ ฯ. _______________. ม.ป.ป. เอกสารประกอบการเรียนการสอนวิชาการบริการอาหารและเครื่องดื่ม วิทยาลัย เทคโนโลยคี รัววนั ดี, กรงุ เทพ ฯ. ความรู้เกย่ี วกับเคร่ืองด่ืมเพอื่ การทอ่ งเท่ยี ว. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://docs.google.com/presentation/d/1diLUUOn0glE_gLm9vSTfmYHr3_ReyhfyPB0v4GQ TO_A/htmlpresent. (วันทส่ี ืบคน้ ข้อมลู 23 กรกฎาคม 2564). พมิ ชนก รงุ่ ไหรญั . (2564). หนังสอื ภาษาอังกฤษสำหรับการประกอบอาหารไทย วทิ ยาลยั เทคโนโลยคี รัววนั ดี, กรงุ เทพ. พิสมัย ปโชตกิ าร. (2521). งานบริการอาหารและเครอ่ื งดมื่ .กรงุ เทพมหานคร: ซีเอ็ดยเู คช่ัน จำกดั . มะขามปอ้ ม ผลไมว้ ติ ามินซสี งู ปรด๊ี . [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://health.kapook.com/view178427.html. (วนั ที่สบื คน้ ขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564). มานจิ คุม้ แควน้ . (2552).การบริการอาหารและเครื่องดืม่ . กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2551). เอกสารการสอนชุดวชิ าการจดั การและเทคนิคการบรกิ ารในโรงแรม. ปากเกรด็ นนทบรุ ี. สำนกั พิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. วธิ ีเก็บผักผลไม้ในตู้เย็น ให้สดอร่อยและอยู่นานมากขึน้ . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://www.reviewyourliving.com/life-style/keep-vegetables-fruits-fresh-in-the- refrigerator-012018/ (วันท่ีสบื คน้ ข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). วันดี ณ สงขลา. (2530). หนงั สือทฤษฎอี าหาร โรงเรยี นสอนอาหารครัววนั ดี กรุงเทพฯ. ศักด์นิ รินทร์ หงศร์ ัตนาวรกจิ . (2551). การจดั โต๊ะอาหารและการบริการเครอ่ื งดม่ื . กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. สมทู ต้ี เมนอู ร่อยเพอื่ สขุ ภาพ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ ากhttps://www.pobpad.com/ (วนั ท่สี ืบคน้ ข้อมลู 24 กรกฎาคม 2564). ส่วนประกอบของเครือ่ งดื่ม. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/pink5604041636073/home/swn-prakxb-khxng-kheruxng- dum. (วันที่สืบค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). สมนุ ไพรไทยรักษาโรค. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/site/chayada10381/kar- keb-raksa. (วันท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล 24 กรกฎาคม 2564). สรรพคุณฟา้ ทะลายโจร. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://med.mahidol.ac.th/altern_med/th/km/19jun2020-1729. (วันที่สืบค้นข้อมูล 24 กรกฎาคม 2564). 8 ไอเดียแต่งแก้วเครือ่ งดื่มสุดเก๋ให้ชวนดืม่ . [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://cooking.kapook.com/view70918.html. (วนั ท่ีสบื คน้ ขอ้ มูล 23 กรกฎาคม 2564) 62

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ ีพ1 63 คณะผู้จัดทำ ท่ปี รกึ ษา 1. นายวรทั พฤกษาทวกี ุล เลขาธกิ าร กศน. 2. นายชยั พัฒน์ พันนธ์ุวัฒนสกุล ผูเ้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลักสูตร 3. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. นางรกั ขณา ตัณฑวุฑโฒ ทปี่ รกึ ษาดา้ นเทคโนโลยที างการศึกษา คณะพัฒนาหลักสูตร 1. นางเอ้อื มพร สเุ มธาวฒั นะ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา/ พฒั นาหลกั สูตร 2. นางสาววชิ ดุ า ณ สงขลา ศรียาภยั ผอู้ ำนวยการ วทิ ยาลัยเทคโนโลยคี รัววันดี/ ผูเ้ ชี่ยวชาญเนื้อหา 3. นางสาวกลั ยาณี ภผู่ ่อง ครู วิทยาลัยเทคโนโลยคี รัววันดี/ผเู้ ชี่ยวชาญเนอื้ หา 4. นางจุไรรตั น์ พืชสิงห์ ครู วทิ ยาลยั เทคโนโลยีครวั วนั ดี/ผเู้ ชย่ี วชาญเน้ือหา 5. นางชวนชม สงเคราะหพ์ ันธ์ ครู วิทยาลยั เทคโนโลยคี รวั วนั ดี/ผ้เู ชีย่ วชาญเนอ้ื หา 6. นางสาวจุฑาภรณ์ ชมด ครู วทิ ยาลัยเทคโนโลยีครัววันด/ี ผ้เู ชีย่ วชาญเนอ้ื หา 7. นางสาววลยั ลกั ษณ์ เจมิ วิวัฒนก์ ุล ครู วทิ ยาลัยเทคโนโลยคี รวั วนั ด/ี ผูเ้ ชย่ี วชาญเนื้อหา 8. นางพรรณทพิ า ชนิ ชัชวาล ขา้ ราชการบำนาญ/นกั วัดผล 9. นางสาวมณฑา เกรียงทวที รัพย์ ข้าราชการบำนาญ/นักวัดผล 10. นางวรรษวรรณ บนั ลอื ฤทธิ์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ/นกั วดั ผล 11. นางสาวชนัญชิดา สยานนั ท์ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลกั สูตร 12. นางสาววนั วิสาข์ ฉลองชน นักวชิ าการศกึ ษา/พฒั นาหลกั สูตร คณะบรรณาธิการ 1. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 2. นางเอ้อื มพร สุเมธาวัฒนะ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. นางนุสรา สกลนกุ รกจิ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ 4. นางสาวชนญั ชิดา สยานันท์ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ 5. นางสาววันวสิ าข์ ฉลองชน นักวิชาการศกึ ษา ศลิ ปกรรม ออกแบบกราฟกิ ปก/รปู เล่ม นางเอือ้ มพร สุเมธาวัฒนะ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา พสิ ูจนอ์ กั ษร นางสาววนั วิสาข์ ฉลองชน นักวิชาการศกึ ษา 63

rหeลัก-สsตู kรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 64 ช่อื หลกั สูตร การออกแบบ/พัฒนาบรรจุภณั ฑ์อย่างงา่ ย จำนวน 40 ช่วั โมง กลุ่มอาชีพ อุตสาหกรรม (ทมี่ าของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) ความเป็นมา ตามทก่ี ระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ด่วน ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย ของผูเ้ รียน หลกั สูตรฐานสมรรถนะ บ๊ิกดาตา้ (Big Data) การขบั เคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา ทกั ษะทางอาชีพ การศกึ ษาตลอดชีวิต และการจดั การศึกษาสำหรับผู้ทมี่ ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน. จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชพี เฉพาะทาง เพอ่ื พฒั นาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพฒั นาและต่อยอด ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพ่ือผลติ และพัฒนาผลติ ภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล ใหเ้ กิดการสร้างงาน สรา้ งอาชีพ สรา้ งรายไดป้ ระชาชนหรือกลมุ่ เปา้ หมายท่อี ย่ใู นชมุ ชนตอ่ ไป หลักสูตรการออกแบบบรรจุภัณฑ์เป็นหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการฝึกอาชีพเพื่อการมีงานทำ โดยใช้รูปแบบการส่งเสริมการจัดการศกึ ษา ที่เน้นพัฒนาทักษะอาชีพ พัฒนาคุณภาพชวี ติ การสร้างอาชีพและ รายได้ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพบริบทพื้นที่ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงวัตถุดิบ ระดับพื้นที่ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น ผ้า ไม้ไผ่ เปลือกข้าวโพด ใบตอง กระดาษสา ผักตบชวา เป็นต้น ทั้งนี้หลักสูตรดังกล่าว สถานศึกษาสามารถนำไปตอบโจทย์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ใหก้ บั ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพอย่างย่ังยืน 64

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sื่อkกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี พี1 65 หลักการของหลกั สตู ร 1. เปน็ หลกั สูตรที่เนน้ ความคิดสรา้ งสรรค์ดา้ นการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์เพ่ือเพม่ิ มูลค่าสินค้า 2. เป็นหลกั สตู รท่สี ามารถนำไปประกอบอาชพี และสร้างรายได้ 3. เปน็ หลกั สตู รส่งเสรมิ การเลือกใชบ้ รรจภุ ณั ฑ์ วัสดุ เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ใหก้ บั ผลิตภณั ฑ์ 4. เปน็ การสง่ เสริมการขายผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ ทีเ่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม จดุ หมาย 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ประเภทบรรจุภัณฑ์ การสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์ การสร้างตราสินค้า (Brand Building) เพื่อการรับรู้ การสร้างอัตลักษณ์บรรจุภัณฑ์ การสรา้ งคณุ คา่ ในบรรจภุ ณั ฑ์ และความปลอดภยั ของบรรจุภัณฑ์ 2. เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนสามารถออกแบบบรรจุภณั ฑ์และนำความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในอาชีพของตนได้ 3. เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มและนำความรู้ที่ได้จากการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไปต่อยอดอาชีพใน ระดบั ชมุ ชน กลุม่ เปา้ หมาย ประชาชนท่วั ไปทม่ี คี วามสนใจในการพฒั นาและตอ่ ยอดอาชพี ระยะเวลา ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สูตร จำนวน 40 ช่ัวโมง แบง่ เปน็ 1. ภาคทฤษฎี จำนวน 16 ชวั่ โมง 2. ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 24 ชวั่ โมง (ทม่ี าของภาพประกอบ : กลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 65

rหeลัก-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 66 โครงสรา้ งหลกั สตู ร ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้ือหา จำนวนช่วั โมง 1 การออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ ทฤษฎี ปฏิบัติ ผ้เู รยี นมีความรูแ้ ละความ 1.ความหมายของการ 2 ประเภทบรรจุภณั ฑ์ เข้าใจเกย่ี วกับ ความหมาย ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ 2- ความสำคัญ บทบาทและ 2. ความสำคญั ของการ หนา้ ท่ีของบรรจุภัณฑ์ บรรจภุ ัณฑ์ 2- 3. บทบาทและหนา้ ทีข่ อง ผูเ้ รียนมีความร้แู ละความ บรรจภุ ัณฑ์ เขา้ ใจเกย่ี วกับประเภทของ บรรจภุ ัณฑ์ 1. การแบง่ ประเภท บรรจุภัณฑ์ตามวิธบี รรจุ และวิธกี ารขนถ่าย 2. การแบ่งประเภท บรรจภุ ัณฑ์ตามวสั ดุ 3 หลกั การออกแบบ ผ้เู รยี นมีความรแู้ ละ 1. วัตถปุ ระสงคอ์ อกแบบ 2 6 บรรจภุ ัณฑ์ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั บรรจภุ ัณฑ์ 2 6 หลักการออกแบบ 2. องคป์ ระกอบของการ 4 การสร้างตน้ แบบ บรรจุภัณฑ์ ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ บรรจภุ ณั ฑ์ 3. ขนั้ ตอนการหาข้อมลู ใน 1. ผเู้ รียนมีความรู้ และ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ เขา้ ใจการสรา้ งตน้ แบบ 4. ขน้ั ตอนการวางแผน บรรจภุ ณั ฑ์ การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 5. เทคนคิ การออกแบบ บรรจภุ ณั ฑ์ 6. ข้ันตอนการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ 7. การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ 8. สบี นบรรจุภณั ฑ์ 1. โครงสร้างบรรจภุ ัณฑท์ ่ี ดัดแปลงจากท้องตลาด 2. วธิ ีสร้างรูปทรง 66

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-s่อื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1 67 ท่ี เรอื่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 2. ผูเ้ รียนสามารถสร้าง บรรจภุ ัณฑ์ เช่น มุม สัน ตน้ แบบบรรจุภณั ฑ์ รอยพับ รอยตดั 3. ผเู้ รียนสามารถคำนวณ 3. การคำนวณต้นทุนการ ตน้ ทนุ การผลติ อย่างงา่ ย ผลิตอย่างงา่ ย (คา่ สถานที่ คา่ น้ำคา่ ไฟคา่ แรงงาน คา่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ เป็นต้น) 5 การสร้างตราสินคา้ (Brand 1. ผเู้ รยี นมีความรู้ และ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกบั 2 6 Building) เพื่อการรบั รู้ เข้าใจการสรา้ งตราสนิ ค้า ตราสนิ ค้า (Brand (Brand Building) เพือ่ การ Building) เพ่ือการรับรู้ รับรู้ และกฎหมายที่ เชน่ ตราสนิ คา้ คำคม เกี่ยวข้อง โฆษณาหรือคำขวญั 2. ผู้เรยี นมีทกั ษะในการ (สโลแกน) ออกแบบตราสินคา้ (Brand 2. กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง เช่น Building) กฎหมายลขิ สิทธ์ิ ฉลาก มาตรฐานการบรรจุภัณฑ์ 6 การสรา้ งอัตลักษณ์ 1. ผู้เรยี นมีความรู้ และ 1. อัตลักษณ์ชุมชนหรือ 26 บรรจุภัณฑ์ เข้าใจการสร้าง ท้องถน่ิ ของกลมุ่ อาชพี อัตลกั ษณบ์ รรจภุ ณั ฑ์ให้ 2. วธิ ีการศึกษาอตั ลักษณ์ สอดคลอ้ งกับบรบิ ทพ้นื ที่ ชมุ ชนจาก ภมู ปิ ัญญา 2. ผเู้ รียนสามารถนำความรู้ ชาวบา้ น ไปสรา้ งอัตลักษณ์ 3. วธิ ีคัดเลือก บรรจภุ ัณฑ์ อตั ลกั ษณ์ท่เี หมาะสมในการ สรา้ งบรรจภุ ณั ฑ์ของ กล่มุ อาชีพ 7 การสร้างคณุ ค่าใน ผเู้ รยี นมีความร้แู ละเข้าใจ 4. คณุ คา่ ดา้ นความงามของ 2 - บรรจุภัณฑ์ การสรา้ งคณุ ค่าในบรรจุ บรรจุภณั ฑ์ เช่น ความงาม ภัณฑ์ ดา้ นรูปแบบ องคป์ ระกอบ เปน็ ต้น 5. คุณคา่ ด้านประโยชนใ์ ช้ สอย เชน่ ใชส้ อยไดง้ า่ ย สะดวก พกพาสะดวก เป็นต้น 67

rหeลัก-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 68 ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เน้อื หา จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 8 ความปลอดภยั ของ ผู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจ 1. ความปลอดภัยของ 2 - บรรจุภณั ฑ์ ด้านความปลอดภัยของ บรรจภุ ัณฑ์ด้านการใช้สอย บรรจภุ ณั ฑ์ เช่น การจดั เก็บ การนำพา การขนสง่ 2. ความปลอดภัยของ บรรจภุ ัณฑ์ด้านสขุ ภาพ 3. ความปลอดภยั ของ บรรจุภณั ฑด์ า้ นผลกระทบ ต่อสง่ิ แวดลอ้ ม การจัดกระบวนการเรยี นรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้มีรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การบรรยาย การสาธิต การฝึกปฏิบัติ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนำเสนอ การทำแบบทดสอบ และรูปแบบการจัดการเรียนรูอ้ ื่น ทั้งนี้ผู้จัดการอบรม ต้องจัดระยะเวลาในการเรยี นรูไ้ ม่น้อยกว่า 40 ชัว่ โมง (ทม่ี าของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) ส่อื การเรยี นรู้ 1. ส่ือบุคคล 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. ตัวอย่างบรรจุภณั ฑ์ 5. แหลง่ เรียนรู้ 68

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ ีพ1 69 6. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น รายการโทรทัศน์ YouTube channel VCD DVD สื่อออนไลน์ Power Point เปน็ ตน้ การวดั และการประเมินผล 1. การสงั เกตพฤตกิ รรม 2. การประเมนิ จากสภาพจรงิ (การตรวจชนิ้ งาน/การนำเสนอ) 3. แบบทดสอบ 4. ประเมนิ ช้ินงาน (ท่ีมาของภาพประกอบ : กลมุ่ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) การจบหลักสตู ร 1. มีระยะเวลาเรียนและฝึกปฏิบตั ิตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านตลอดหลกั สูตร ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ตามเกณฑ์ที่กำหนด ดงั นี้ 2.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนร้อยละ 20 69

หreลัก-สsูตkรiเlพlอื่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 70 2.1 ภาคปฏิบตั ิ สดั สว่ นรอ้ ยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 1. ใบลงทะเบยี นระยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏบิ ัติ 2. ทะเบียนคมุ วฒุ ิบตั ร 3. วฒุ ิบตั ร ออกโดยสถานศึกษา การเทยี บโอน ผเู้ รียนท่ีจบหลักสูตรการออกแบบ/พัฒนาบรรจภุ ัณฑ์อย่างง่าย อาจจะนำผลไปเทียบโอนผลการเรียน กบั หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน หรืออืน่ ๆ ได้ตามหลักเกณฑ์ท่สี ถานศกึ ษากำหนด (ท่มี าของภาพประกอบ : กล่มุ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 70

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 71 บรรณานุกรม การคำนวณต้นทนุ การผลิตแบบง่าย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก https://bsc.dip.go.th/th/category/account2/fs-productcost. (วันที่สบื ค้นข้อมลู 17 มถิ นุ ายน 2564). การทำความเข้าใจ การออกแบบการบรรจภุ ณั ฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=732§ion=37&issues= 28 . (วันท่ีสบื ค้นขอ้ มูล 17 มิถุนายน 2564). การรวบรวมความหมายของ\"อตั ลกั ษณ์\". [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก http://chotika51-thesis.blogspot.com/2011/07/blog-post.html. (วนั ที่สบื ค้นขอ้ มลู 13 สิงหาคม 2564). การออกแบบบรรจุภณั ฑ์. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วนั ท่ี สบื ค้นขอ้ มูล 24 มถิ นุ ายน 2564). การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์. สิปราง เจริญผล. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก http://www.intech.crru.ac.th/research_ind/doc/85_dissemin_181024-6603แต่งตั้งผศ.สิ ปราง (1).pdf. (วนั ทีส่ ืบคน้ ข้อมูล 20 สิงหาคม 2564). ความรูพ้ ืน้ ฐานการออกแบบบรรจุภณั ฑ์. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก http://netra.lpru.ac.th/~weta/c1/. (วนั ทส่ี ืบคน้ ข้อมลู 17 มิถนุ ายน 2564) ความหมายของบรรจภุ ณั ฑ์. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก https://tomzabee.wordpress.com/2015/05/26/ความหมายของบรรจุภณั ฑ์/ .(วันท่ีสืบคน้ ขอ้ มูล 17 มถิ ุนายน 2564). โครงสร้างบรรจุภัณฑ์. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/brrcuphanthklxngkradas/2-khorngsrang-brrcu-phanth. (วนั ทีส่ ืบค้นข้อมูล 24 มิถุนายน 2564). จะจดั การบรรจภุ ัณฑโ์ ลจสิ ติกสอ์ ย่างไรให้มปี ระสิทธภิ าพ. ประจวบ เพ่มิ สวุ รรณ และพัฒน์ พิสษิ ฐเกษม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/executive_journal/jan_mar_12/pdf/aw018. pdf. (วันท่สี ืบคน้ ข้อมลู 20 สิงหาคม 2564) . จรูญ โกสัมไกรนิรมล. (2541). หนังสือบรรจุภัณฑ์ (อ้างในปุ่น คงเจริญเกียรติ). กรุงเทพฯ : สมาคมการ บรรจภุ ัณฑไ์ ทย. จรยิ า ปนั ทวังกูร. (2551) การเขยี นบทโฆษณา. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . ฉลาดชาย รมติ านนท.์ (2550). อัตลกั ษณ์วัฒนธรรม และการเปล่ียนแปลง. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ 71

หreลัก-สsตู kรiเlพlือ่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1 72 ชฎาพร บางกรวย. (2008). การสรา้ งความเชอื่ มั่นตอ่ สนิ ค้าไทย ผ่าน Thailand’s Brand สู่ตลาดตา่ งประเทศ. กรมสง่ เสริมการสง่ ออก กระทรวงพาณิชย์ กรงุ เทพมหานคร. หนา้ 20-21. ณธกร อไุ รรตั น์. (2559). การศึกษาเพื่อการพัฒนาการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ จ.สระบุรี (รายงานผลการวิจยั ). กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์. ดารณี พานทอง. (2524). การหีบห่อ. กรุงเทพฯ : วารสารรามคำแหง.ตนิ ปรชั ญพฤทธ์ิ. (2538). ทฤษฎี องคการ. พมิ พครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ทศพร นามโฮง. เทคโนโลยบี รรจภุ ัณฑแ์ นวใหม่. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://fic.nfi.or.th/futurefood/upload/research_article/file17.pdf . (วนั ทสี่ บื ค้นข้อมูล 20 สงิ หาคม 2564). ทวศี กั ด์ิ อนิ ทโชต.ิ (2561). การศึกษาอัตลกั ษณ์และการพัฒนาอัตลักษณน์ สิ ติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน.วิทยานิพนธ์บรหิ ารธุรกจิ มหาบัณฑติ ,มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์. ธีรยุทธ บญุ มี (2546). ความหลากหลายของชีวิต ความหลากหลายทางวัฒนธรรม. ความร้บู ูรณาการ และถอด รอ้ื ความคิดตะวันตกนยิ ม ; เลม่ 1 สายธาร : กรงุ เทพฯ. แนวทางการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/ploym632557/naewthang-kar-xxkbaeb-brrcu-phanth. (วันที่สืบคน้ ข้อมูล 17 มิถุนายน 2564). บรรจภุ ณั ฑ์กระดาษที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก http://www.vkk-packaging.com/บรรจุภัณฑ์กระดาษ/. (วนั ท่สี ืบค้นขอ้ มลู 13 สิงหาคม 2564). บรรจุภณั ฑ์กระดาษท่ีนยิ มใชใ้ นอุตสาหกรรมอาหาร. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก http://www.vkk-packaging.com/บรรจุภณั ฑก์ ระดาษ/. (วันท่ีสืบคน้ ข้อมลู 13 สิงหาคม 2564). บรรจภุ ัณฑ์จากวัสดุสงั เคราะห์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/ploym632557/-brrcu-phanth-cak-wasdu- sangkheraah?tmpl=%2Fsystem%2Fapp%2Ftemplates%2Fprint%2F&. (วันทีส่ บื คน้ ข้อมูล 24 มถิ ุนายน 2564). ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจริญเกยี รติ. (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรงุ เทพมหานคร : แพคเมทส์ เสรี วงษ์มณฑา. (2540). ครบเคร่ืองเร่ืองการสื่อสารการตลาด . กรุงเทพมหานคร : บริษทั วิสทิ ธ์ พฒั นจาํ กัด. ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจรญิ เกียรติ. (2541). บรรจุภัณฑ์อาหาร. กรุงเทพมหานคร : แพคเมทส์. ประชดิ ทณิ บุตร. (2531). การออกแบบบรรจุภัณฑ.์ กรงุ เทพมหานคร : โอ.เอส.พร้ินต้ิง เฮ้าส.์ 72

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-s่ือkกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1 73 ปทั มาพร ทอ่ ชู. การทำความเขา้ ใจ การออกแบบการบรรจุภณั ฑ์. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.thailandindustry.com/onlinemag/view2.php?id=732§ion=37&issues= 28. (วนั ที่สบื คน้ ข้อมูล 17 มิถุนายน 2564). ผ่องพันธ์ุ มณีรัตน์. 2525. มานุษยวทิ ยากบั การศึกษาคติชาวบา้ น.กรงุ เทพ : สำนักพิมพ์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ มาโนช กงกะนนั ทน.์ (2538). ศลิ ปะการออกแบบ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. วภิ าณี แมน้ อินทร์. (2556). หลกั การประชาสัมพนั ธ.์ กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ิต. วมิ ลพรรณ อาภาเวท. (2553). หลกั การโฆษณาและประชาสัมพนั ธ.์ พมิ พ์ครัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพมหานคร:โอ. เอส.พรนิ้ ติ้งเฮา้ ส์. วริ ุณ ตง้ั เจรญิ . (2539). การออกแบบ. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร์. วรชั ญ์ ครจุ ติ . (2553). การแปลภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร.์ กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ . ศิริพงศ์ พยอมแยม้ . (2537). กระบวนการพิมพ์. กรงุ เทพฯ : สำนักพมิ พโ์ อเดียนสโตร์. สถาพร ดบี ุญมี ณ ชมุ แพ. (2540). ออกแบบอุตสาหกรรม. กรงุ เทพฯ : งานตำราและเอกสารการพิมพ์คณะครุ ศาสตร์อตุ สาหกรรม สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ คณุ ทหารลาดกระบัง. สกุ ฤตา หริ ณั ยชวลติ (2554). กวา่ จะเป็นบรรจุภัณฑ์ Background of Package. วารสารนกั บริหาร ปีท่ี 31 ฉบับที่ 2 มหาวิทยาลยั กรุงเทพ. [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://www.kmutt.ac.th. (วนั ท่สี บื ค้น ขอ้ มูล 15 กรกฎาคม 2561). สจุ รรยา โชติชว่ ง. (2554). การศกึ ษาสภาพการพัฒนาอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา. สำนกั งานเขต พน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาพิษณุโลกเขต 1 การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง กศ.ม. สาขาวชิ าการ บรหิ ารการศกึ ษา, มหาวยิ าลัยนเรศวร. สุดาดวง เรอื งรจุ ริ ะ. (2538). นโยบายผลติ ภัณฑแ์ ละราคา. กรุงเทพฯ : สำนกั พิมพ์ประกายพรกึ . สปิ ราง เจรญิ ผล (2556). เอกสารตำราการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์. คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภฏั เชียงราย. เสรี วงษม์ ณฑา. (2540). ครบเคร่อื งเรื่องการส่อื สารการตลาด . กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท วสิ ทิ ธ์ พัฒนา จํากดั . หออัตลักษณ์นครน่าน. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://zh-cn.facebook.com/Nanidentityhallnancc/posts/1195969990560421/. (วนั ที่ สืบคน้ ขอ้ มลู 17 มิถุนายน 2564). 73

rหeลกั-สsตู kรiเlพlือ่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 74 แหล่งเรยี นรูป้ ราชญช์ าวบ้านและภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ในตำบลโคกไทย. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก http://www.kokthai.go.th/select_news.php?news_id=92. (วันทีส่ บื ค้นข้อมูล 17 มถิ นุ ายน 2564). อะไรคือ ภูมิปัญญาชาวบ้าน . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://thebuddh.com/?p=37279. (วนั ท่ีสืบคน้ ข้อมลู 17 มถิ ุนายน 2564). อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ แตกตา่ งกันอยา่ งไร ?. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.wynnsoftstudio.com/อัตลักษณ์_เอกลักษณ์. (วันทสี่ ืบคน้ ข้อมลู 13 สิงหาคม 2564). อัตลกั ษณ์และภาพลกั ษณใ์ นงานประชาสมั พนั ธ์. วภิ าณี แมน้ อนิ ทร์ [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.elfms.ssru.ac.th/wipanee_ma/file.php/1/Media_Principle_PR59/Chapter_ 6_Identity_and_Image_.pdf. (วนั ท่ีสบื คน้ ข้อมลู 13 สงิ หาคม 2564). อตั ลักษณแ์ ละภาพลักษณ์ในงานประชาสมั พนั ธ.์ วภิ าณี แม้นอนิ ทร์. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก http://www.elfms.ssru.ac.th/wipanee_ma/file.php/1/Media_Principle_PR59/Chapter_ 6_Identity_and_Image_.pdf. (วนั ทีส่ บื คน้ ข้อมลู 13 สิงหาคม 2564). อนสุ รา มลู ป้อม และแพรวี เคหะสวุ รรณ. (2557). บรรจภุ ัณฑส์ ำหรับผลติ ผลทางการเกษตร กรณศี ึกษา : บรรจุภัณฑส์ ำหรบั พืชผักในระบบโรงเรือน (ผักกางม้งุ ) ในเขตปฏิรูปท่ดี นิ . เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 136 กลมุ่ วจิ ยั และพฒั นาการปฏริ ูปทีด่ นิ สำนกั วิชาการและแผนงาน สำนักงานการปฏริ ูปท่ดี ินเพ่ือ เกษตรกรรม (ส.ป.ก.). โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด : กรุงเทพฯ Bendapudi, N. and Leone, R. P. (2003). “Psychological implications of customer participation in co-production.” Journal of Marketing, 67, 1 (January): 14–28. Brandable. (2015). Case Study : Lesson from IKEA’s Brand. Accessed August 30. Available from http://www.brandablemagazine.com/case-study-lessons-fromikeas-brand/. Gronroos, C. (1990). Service Management and Marketing. Lexington : Lexington Books, MA. Hornby, A. S. (2001). Oxford advanced learner’s dictionary (6th ed). Oxford : OxfordUniversity Press. Hoyer,W. D., Chandy, R., Dorotic, and others. (2010). “Consumer cocreation in new product development.” Journal of Service Research, 13(3): 283–296. Ind, N., Coates N. (2013). “The meanings of co-creation”. European Business Review, 25(1): 86-95. 74

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-s่อื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 75 Lusch, R. F., Vargo and S. L. (2006). “Service-dominant logic: reactions, reflections and refinements.” Marketing Theory, 6(3), 281–288. Kristensson P., Matthing J., and Johansson N. (2008). “Key strategies for the successful involvement of customers in the co-creation of new technologybased services.” International Journal of Service Industry Management, 19(4) : 474–491. Kotler (1984). Marketing Management, Millenium Edition. Custom Edition for University of Phoenix. Kotler, Philip, et al. (1999). Marketing Management : An Asian Perspective. 2nd Edition. New. Jersey : Prentice Hall, Inc. Aaker, D.A (1991). 5 pages Payne, A., Storbacka, K., Frow, P. & Knox S. (2009). “Co-creating brands: diagnosing and designing the relationship experience.” Journal of Business Research, 62(3): 379–389. Prahalad, C. and Ramaswamy, V. (2004), “Co-creating unique value with customers.” Strategy & Leadership, Vol. 32 No. 3, pp. 4-9. Prahalad, K. C.; Ramaswamy, V (2004). The Future of Competition: Co-creating Unique Value with Customers. Boston, MA : Harvard Business School Press. Porta, M.; House, B.; Buckley L. and Blitz A. Value 2.0 – Eight New Rules for Creating and Capturing Value from Innovative Technologies. Strategy and Leadership, 2008, 36(4): 10–18. Randall, G. (2000). Branding: A practical guide to planning your strategy. London :Kogan Page. Robinson and Barlow. 1959. Image public relations. 4 pages Roggeveen, A., Tsiros, M., & Grewal, D. (2012). “Understanding the cocreation effect: when does collaborating with customers provide a lift to service recovery?” Journal of the Academy of Marketing Science, 40(6): 771–790. Saarijärvi, H., Kannan, P.K. and Kuusela, H. (2013). “Value co‐creation: theoretical approaches and practical implications.” European Business Review, 25(1) :6- 19. Tynan, C., McKechnie, S., & Chhuon, C. (2010). “Co-creating value for luxury brands.” Journal of Business Research, 63(11) : 1156–1163. Vargo, S. L., & Lusch, R. F. (2004). Evolving to a New Dominant Logic for Marketing. Journal of Marketing. 75

rหeลัก-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 76 Vargo, S.L. and Lusch, R.F. (2004b). “The four services marketing myths: remnants from a manufacturing model.” Journal of Service Research, (May) : 324-35. 10 Emojoez. (2558). เรียนรูก้ ารสร้าง Corporate Identity ให้Branding. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://idxw.net/2015/05/27/เรียนร้กู ารสรา้ ง-coporate-indentity-ให้-brandin/ (วันทส่ี ืบคน้ ขอ้ มูล 13 สิงหาคม 2564). 12 กฎหมายทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั บรรจุภณั ฑ์ และความสำคัญท่นี ักธรุ กจิ SMEs ควรรู้ [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://hongthaipackaging.com/blog/packaging-related-laws/ (ท่มี าของภาพประกอบ : กลุ่มพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 76

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่ือkกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 77 คณะผจู้ ดั ทำ ที่ปรกึ ษา เลขาธกิ าร กศน. 1. นายวรทั พฤกษาทวกี ลุ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลักสตู ร 2. นายชยั พัฒน์ พันธุ์วัฒนสกลุ ทป่ี รกึ ษาด้านพฒั นาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ 3. นางศุทธนิ ี งามเขตต์ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ท่ปี รกึ ษาด้านเทคโนโลยีทางการศึกษา 4. นางรักขณา ตัณฑวฑุ โฒ คณะพฒั นาหลกั สูตร 1. นางเอื้อมพร สเุ มธาวฒั นะ ผูอ้ ำนวยการกล่มุ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา/ พัฒนาหลักสูตร 2. ศาสตราจารย์ ดร.ปานฉตั ท์ อินทร์คง อาจารย์ประจำคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี/ผ้เู ช่ียวชาญเนื้อหา 3. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์คมสนั เรืองโกศล อาจารยป์ ระจำคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี/ผูเ้ ช่ยี วชาญเน้ือหา 4. นางพรรณทพิ า ขินชชั วาล ข้าราชการบำนาญ/นกั วดั ผล 5. นางสาวมนทา เกรียงทวีทรพั ย์ ข้าราชการบำนาญ/นกั วดั ผล 6. นางวรรษวรรณ บนั ลอื ฤทธิ์ ครชู ำนาญการพเิ ศษ/นักวัดผล 7. นางเยาวรตั น์ ป่ินมณีวงศ์ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ/พัฒนาหลกั สูตร 8. นายทศพล ราชเดิม นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ/พฒั นาหลกั สูตร 9. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์ นักวชิ าการศกึ ษา/พฒั นาหลักสตู ร คณะบรรณาธิการ 1. นางศุทธินี งามเขตต์ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นางเอือ้ มพร สเุ มธาวฒั นะ ผู้อำนวยการกลมุ่ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา 3. ศาสตราจารย์ ดร.ปานฉตั ท์ อินทรค์ ง อาจารยป์ ระจำคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี/ผ้เู ชีย่ วชาญเน้ือหา 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมสนั เรืองโกศล อาจารย์ประจำคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี/ผูเ้ ช่ยี วชาญเน้ือหา 5. นางนุสรา สกลนกุ รกจิ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ 6. นางเยาวรัตน์ ปิน่ มณวี งศ์ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ 7. นางสาววภิ ารตั น์ วรรณเวช นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร 8. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน์ นกั วิชาการศึกษา 77

หreลัก-สsตู kรiเlพl่อื แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 78 ศิลปกรรม ออกแบบกราฟิก ปก/รูปเล่ม นางเออื้ มพร สุเมธาวัฒนะ ผอู้ ำนวยการกลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พสิ จู นอ์ กั ษร นางสาววภิ ารตั น์ วรรณเวช นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั ิการ (ทีม่ าของภาพประกอบ : กลมุ่ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษา) 78

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่ือkกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ ีพ1 79 ชือ่ หลกั สูตร การขายของออนไลนผ์ า่ นช่องยทู ูบ (YouTube) จำนวน 30 ชว่ั โมง กลุ่มอาชพี พาณิชยกรรมและบรกิ าร ความเป็นมา ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย ของผ้เู รียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิก๊ ดาตา้ (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา ทักษะทางอาชีพ การศึกษาตลอดชวี ิต และการจดั การศึกษาสำหรับผู้ทม่ี ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน. จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และอาชพี เฉพาะทาง เพื่อพฒั นาประชาชนให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพฒั นาและต่อยอด ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพ่ือผลิตและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล ให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สรา้ งรายไดป้ ระชาชนหรอื กล่มุ เป้าหมายท่อี ยใู่ นชุมชน ตอ่ ไป ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประประจำวันของมนุษย์มากขึ้น ส่งผลต่อวิถีชีวิต ของผู้บริโภคมากขึ้น มีการใช้งานผ่านอุปกรณ์เทคโนโลยีต่างๆ เช่น สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต เป็นต้น และยังเป็น การช่วยเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นตัวกลางในการทำธุรกรรม 79

หreลกั-สsตู kรiเlพlอื่ แกาลระพัฒupนา-อsาkชพี ill เล่มท่ี 1 80 ซึ่งอาจเรียกได้ว่า การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce : E - commerce) ซึ่งถือเป็นช่องทาง การสื่อสารทางการตลาดขนาดใหญ่ของโลก ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มผู้บรโิ ภคหรอื เป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว ไร้ขีดจำกัด ในเรื่องเวลา สถานที่ การแข่งขันทางการค้าเสรี ที่อาจต้องมีการช่วงชิงความได้เปรียบกันที่ความรวดเร็ว ทั้งการนำเสนอสินค้า และการให้บริการ จึงทำให้การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กลายเป็นอีกทางเลือกหนึ่งท่ี น่าสนใจของการประกอบธุรกิจ การจำหน่ายสินคา้ และมีแนวโนม้ ที่คนไทยจำเป็นต้องมีความรู้ เพื่อให้เท่าทนั ความเปล่ยี นแปลงในด้านเทคโนโลยี ทั้งในฐานะผู้ใหบ้ รกิ าร หรือผู้รบั บริการหรือผ้บู รโิ ภค จากความสำคัญดังกล่าว จงึ มีการจัดทำหลักสูตร การขายของออนไลน์ผ่านช่องยูทูบ (YouTube) ข้ึน สำหรบั นำไปจัดการเรยี นรใู้ ห้แกป่ ระชาชนหรือกลมุ่ เป้าหมายท่ีมคี วามสนใจตามความเหมาะสม หลกั การของหลกั สูตร หลกั สตู รการขายของออนไลนผ์ ่านช่องยูทบู (YouTube) มกี ารกำหนดหลักการของหลักสูตรไวด้ งั นี้ 1. เปน็ หลักสตู รท่ีจัดทำข้ึน สำหรับนำไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ให้แก่ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมาย ท่ีมคี วามสนใจเรยี นรู้เกีย่ วกับการขายของออนไลนผ์ ่านช่องยทู บู (YouTube) 2. เป็นหลักสูตรที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ พัฒนาตนเอง และสามารถนำความรู้ไปใช้หรือ ประยุกต์ใช้ไดเ้ พ่ือการประกอบอาชีพหรือพฒั นาอาชีพ 3. เป็นหลกั สูตรท่ีสง่ เสรมิ สนับสนุนใหภ้ าคเี ครอื ข่ายเข้ามามสี ่วนรว่ มในการจัดการเรยี นรู้ จุดหมาย 1. เพ่ือให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับการขายของออนไลนผ์ า่ นชอ่ งยูทูบ (YouTube) 2. เพื่อให้ผู้เรียนนำความรู้เกี่ยวกับการขายของออนไลน์ผ่านช่องยูทูบ (YouTube) และเทคนิค การขายของออนไลน์ ไปใช้หรอื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประกอบอาชีพหรือพฒั นาอาชีพ กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนท่ัวไปท่ีมีความสนใจในการพฒั นาและตอ่ ยอดอาชพี ระยะเวลา ระยะเวลาเรียนตลอดหลกั สตู ร จำนวน 30 ชัว่ โมง 1. ภาคทฤษฎี จำนวน 9 ช่วั โมง 2. ภาคปฏบิ ตั ิ จำนวน 21 ชั่วโมง 80

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1 81 โครงสร้างหลักสูตร จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เนื้อหา จำนวนชวั่ โมง ที่ เรอ่ื ง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1. ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั สามารถอธิบายความหมาย 1. ความหมายของ 30 นาที - เบื้องต้นเก่ยี วกบั การขายของ การขายของออนไลน์ การขายของออนไลน์ ออนไลน์ 2. ความหมายการขายสนิ คา้ 30 นาที - ผ่านช่องยูทบู (YouTube) ออนไลน์ผ่านช่องยทู บู 1- สามารถบอกปจั จยั ทผ่ี ้บู รโิ ภค (YouTube) 2. ปจั จยั ทผ่ี ้บู ริโภคเลือกซ้ือ เลือกซื้อสนิ คา้ ปจั จัยทผี่ ้บู รโิ ภคเลือกซ้ือ 5 16 สนิ คา้ สนิ ค้า 1. สามารถบอกเหตผุ ลท่ี ควร 3. การใช้ชอ่ งยทู ูบ ใช้ชอ่ งยูทูบ (YouTube) เพือ่ 1. เหตผุ ลทคี่ วรใช้ชอ่ งยทู บู (YouTube) เพื่อเพ่ิมชอ่ ง เพิม่ ช่องทางการขายและ (YouTube) เพ่อื เพมิ่ ชอ่ ง ทางการขาย การตลาด ทางการขายและการตลาด และการตลาด 2. สามารถยกตวั อย่างการใช้ช่อง 2. ตัวอยา่ งการใช้ชอ่ งยูทูบ ยทู บู (YouTube) เพอื่ การเพิม่ (YouTube) เพอ่ื การเพิม่ 4. การจัดทำคลิปวิดโี อ ชอ่ งทางการขายและการตลาด ชอ่ งทางการขายและการตลาด เก่ียวกับ สินค้าลงช่องยูทูบ 1. สามารถจดั ทำคลิปวิดโี อ (YouTube) เกีย่ วกับสินคา้ ลงช่องยูทูบ 1. อปุ กรณ์เบื้องตน้ การทำ (YouTube) คลิปวิดีโอลงยูทบู (YouTube) 2. สามารถอธบิ ายขน้ั ตอน 2. ขัน้ ตอนถ่ายวดิ ีโอด้วย ถา่ ยวดิ ีโอด้วยมอื ถือ มอื ถือ 3. สามารถอธิบายเทคนิค 3. เทคนิคการจดั ทำคลิป การจดั ทำคลิปวิดีโอใหน้ ่าสนใจ วิดีโอใหน้ ่าสนใจ 4. สามารถอธิบายเทคนคิ 4. เทคนคิ การพูดหนา้ กล้อง การพดู หนา้ กล้อง 5. การตดั ต่อวิดีโอดว้ ย 5. สามารถตัดตอ่ วดิ โี อด้วย แอปพลิเคชัน แอปพลิเคชัน 6. การออกแบบปกคลปิ วดิ ีโอ 6. สามารถออกแบบปกคลปิ ท่ีน่าสนใจ วดิ ีโอท่ีนา่ สนใจ 7. การจัดทำปกคลิปวดิ โี อ 7. สามารถจดั ทำปกคลิปวดิ ีโอ ด้วยแอปพลิเคชัน ดว้ ยแอปพลิเคชนั 81

หreลัก-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 82 ที่ เรือ่ ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้ือหา จำนวนช่ัวโมง ทฤษฎี ปฏิบัติ 5. การเปิดช่องยูทูบ สามารถเปดิ ช่องยูทบู การเปิดช่องยูทูบ (YouTube) (YouTube) และการ และการอปั โหลดคลปิ วิดโี อ และการอปั โหลดคลปิ วดิ ีโอ 25 อปั โหลดคลปิ วิดีโอ หมายเหตุ การจัดการเรียนรู้ตามโครงสร้างของหลักสูตร ผู้จัดการเรียนรู้สามารถเพิ่มเติมหรือ ปรับปรุงสื่อการเรียนรู้ และรายละเอียดของการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ เพื่อให้สอดคล้องกับความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของผู้เรียนเป็นสำคัญ แต่ต้องให้เป็นไปตามกรอบเนื้อหาในแต่ละเรื่องที่ กำหนดไว้ในโครงสรา้ งของหลกั สูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ภายใต้หลักสูตรการขายของออนไลน์ผ่าน (YouTube) มีเนื้อหา ประกอบด้วย ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการขายของออนไลน์ผ่าน (YouTube) ปัจจัยที่ผู้บริโภคเลือกซื้อ สินค้าตัวอย่างของการขายสินค้าออนไลน์ผ่านช่องยูทูบ (YouTube) การจัดทำคลิปวิดีโอลงยูทูบ (YouTube) และ การเปิดช่องยูทูบ (YouTube) และการอัปโหลดคลิปวิดีโอ ซึ่งตามโครงสรา้ งหลักสูตรได้กำหนดระยะเวลาใน การจัดการเรยี นรู้ไว้ จำนวน 30 ช่ัวโมง โดยแบ่งเป็นภาคทฤษฎี และปฏิบัติ ซงึ่ การจดั การเรียนรู้สามารถจัดได้ ในหลายรูปแบบ เช่น การบรรยาย การศึกษาจากเอกสารใบความรู้ การให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง การใช้ใบ งานและการฝกึ ปฏิบตั ิ ทสี่ อดคลอ้ งกบั เน้ือหาในแต่ละเรือ่ ง เป็นตน้ ทง้ั นี้ สำหรับการจดั กระบวนการเรยี นรูโ้ ดยภาพรวมในแตล่ ะเรอื่ ง ให้ผู้จดั การเรยี นรดู้ ำเนนิ การ ดังนี้ 1. ศกึ ษาเอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การจดั การเรยี นเรียนรู้ในแตล่ ะเร่ือง 2. ชี้แจงรายละเอียดจุดมุ่งหมายการจัดการเรียนรู้ กรอบเนื้อหาและระยะเวลาในการจัดการ เรยี นรแู้ ก่ผ้เู รยี น และเปิดโอกาสให้ผ้เู รยี นซกั ถามข้อสงสัย 3. จัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน โดยใช้เนื้อหาและสื่อการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละเรื่อง พร้อมท้ัง มอบหมายใหผ้ ู้เรยี นทำใบงานหรือกิจกรรม หรือทดลองฝึกปฏิบตั ิ ตามทกี่ ำหนดไว้ใน ท้ังนี้ ผู้จัดการเรียนรู้อาจ กำหนดให้ผู้เรียน เรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเอง เพิ่มเติมได้ โดยให้พิจารณาถึงความพร้อม ความเหมาะสมและ ความต้องการของผู้เรยี นเปน็ สำคญั 4. ผู้จัดการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีกำหนด และส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้ตามความเหมาะสม 5. ดำเนินการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากการฝึกปฏิบัติ ช้ินงาน หรือผลงาน ท่ีเกิดขึ้นจากการจดั การเรียนรู้ 82

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1 83 สอ่ื การเรียนรู้ 1. บคุ คล โดยผ้จู ดั การเรยี นรู้ 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. ส่ือเทคโนโลยี เช่น เวบ็ ไซต์คลปิ วดิ โี อท้ังในระบบออฟไลน์ และออนไลน์ เป็นตน้ 5. สื่อ ในลักษณะที่เป็นอุปกรณ์จริง ของจริง (ถ้ามี ตามสภาพความพร้อม) เช่น โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน ไมคโ์ ครโฟน กล้องถ่ายวิดโี อ คอมพวิ เตอรห์ รอื โน้ตบุ๊ก เปน็ ตน้ การวัดและประเมินผล 1. การสงั เกตพฤตกิ รรมการมีสว่ นร่วมของผเู้ รยี นในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ที่กำหนด 2. การประเมินจากการฝกึ ปฏิบัติ ชน้ิ งาน หรอื ผลงาน ท่เี กิดข้นึ จากการจัดการเรียนรู้ การจบหลกั สูตร 1. มีระยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏบิ ตั ติ ลอดหลักสูตร ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมนิ ผ่านตลอดหลักสตู ร ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ดังน้ี 2.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนรอ้ ยละ 20 2.1 ภาคปฏบิ ัติ สัดสว่ นรอ้ ยละ 80 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา 1. ใบลงทะเบียนระยะเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบัติ 2. ทะเบยี นคุมวุฒิบตั ร 3. วุฒบิ ัตร ที่ออกโดยสถานศกึ ษา การเทยี บโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรการขายของออนไลน์ผ่านช่องยูทูบ (YouTube) อาจจะนำผลไปเทียบโอน ผลการเรียนกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรืออื่น ๆ ได้ตามหลักเกณฑ์ที่ สถานศกึ ษากำหนด 83

rหeลัก-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 84 บรรณานุกรม การตลาดออนไลน์ YouTube” . [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://mandalasystem.com/blog/th/95/digital-marketing-26102020. (วันท่ีสืบค้นข้อมลู 26 มถิ ุนายน 2564). กรมพัฒนาธุรกิจการค้า “คู่มือลดั เปิดร้านค้าออนไลน์ได้ด้วยตัวคุณ”. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก https://www.dbd.go.th/download/ecommerce_file/pdf/Easy_Online_Shop_570526.pdf. (วันท่ีสบื คน้ ข้อมูล 26 มิถนุ ายน 2564). ศิริขวัญ กุลบุตร. “องค์ประกอบทางการตลาด”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://1ab.in/HoX. (วันที่สืบคน้ ขอ้ มลู 23 มถิ นุ ายน 2564). วิทยาลัยการอาชีพเถิน “การขายออนไลน์”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://1ab.in/bfpw. (วันท่ีสืบค้น ข้อมูล 23 มิถุนายน 2564). เสกสรร เทดิ สิริภทั ร. (2564). “การปรับแต่งช่อง Youtube” [ถอดคลปิ วิดีโอ]. (เมื่อวนั ที่ 23 มิถุนายน 2564). จาก https://web.facebook.com/groups/468051731119616/posts/468063057785150/. . (2564). “การออกแบบปกคลปิ ยังไง ให้คนอยากคลกิ ดู” [ถอดคลิปวดิ โี อ]. (เม่ือวันท่ี 23 มถิ นุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3541655002546853/. . (2564). “2 ซ้อื เพราะความเชอ่ื มนั่ ในตัวสนิ คา้ หรือบริการ และความเชือ่ มน่ั ในตัวเจ้าของ สนิ คา้ ” [ถอดคลิปวดิ โี อ]. (เมื่อวันท่ี 23 มิถนุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873880832657600/. . (2564). “ซื้อเพราะแสดงความเป็นตวั เอง” [ถอดคลปิ วดิ โี อ]. (เม่ือวนั ท่ี 23 มถิ นุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873886895990327/. . (2564). “ซ้ือเพราะประสบการณ์” [ถอดคลปิ วิดีโอ]. (เมือ่ วันท่ี 23 มถิ ุนายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873882959324054/. . (2564). “ซื้อเพราะราคาถกู ” [ถอดคลปิ วิดโี อ]. (เมือ่ วันที่ 23 มถิ นุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873879799324370/. . (2564). “ตัดตอ่ คลปิ งา่ ยๆใน 5 นาที แอปฟรไี ม่มลี ายนำ้ ” [ถอดคลิปวดิ ีโอ]. (เมื่อวนั ที่ 23 มิถนุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873912279321122/. . (2564). “ถ่ายแบบเซียนเหมือนเรยี นมา 10 ขนั้ ตอนถ่ายวีดีโอด้วยมือถือ” [ถอดคลปิ วิดีโอ]. (เม่อื วันท่ี 23 มิถุนายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3541608049218215/. 84

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่อื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี พี1 85 . (2564). “ทำหนา้ ปกคลิปงา่ ยๆ ด้วย Kinemaster” [ถอดคลปิ วดิ โี อ]. (เมอ่ื วนั ท่ี 23 มิถุนายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3541664515879235/. . (2564). “เทคนคิ 5 ข้อ พูดหน้ากลอ้ งยังไง ให้ดดู ี มแี ตค่ นชอบ” [ถอดคลปิ วิดโี อ]. (เม่อื วนั ที่ 23 มถิ นุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3541615399217480/. . (2564). “เหตผุ ลในการเลือกสนิ ค้า” [ถอดคลิปวิดโี อ]. (เม่ือวนั ที่ 23 มถิ ุนายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873877675991249/. . (2564). “3 อปุ กรณ์ทำวดิ โี อ” [ถอดคลิปวดิ โี อ]. (เมอ่ื วนั ท่ี 23 มถิ นุ ายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3873903245988692/. . (2564). “3 เทคนคิ ทำคลปิ ยังไงใหน้ า่ สนใจ” [ถอดคลิปวิดโี อ]. (เม่ือวนั ท่ี 23 มถิ ุนายน 2564). จาก https://www.facebook.com/100001071638967/videos/3541611465884540/. 85

หreลัก-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 86 คณะผจู้ ดั ทำ เลขาธกิ าร กศน. ทป่ี รกึ ษา ผูเ้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สตู ร 1. นายวรัท พฤกษาทวกี ลุ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ 2. นายชยั พัฒน์ พันนธว์ุ ฒั นสกลุ การศึกษาตามอธั ยาศัย 3. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ทป่ี รกึ ษาด้านเทคโนโลยที างการศกึ ษา 4. นางรักขณา ตณั ฑวฑุ โฒ ผ้อู ำนวยการกลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา/ คณะพัฒนาหลกั สตู ร พัฒนาหลกั สตู ร ผเู้ ชย่ี วชาญเน้ือหา 1. นางเออ้ื มพร สเุ มธาวฒั นะ ขา้ ราชการบำนาญ/นักวดั ผล ครชู ำนาญการพเิ ศษ/นกั วัดผล 2. นายเสกสรร เทดิ สริ ภิ ทั ร นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ/พฒั นาหลักสูตร 3. นางสาวมณฑา เกรยี งทวีศกั ด์ิ นักวชิ าการศึกษาชำนาญการ/พฒั นาหลักสูตร 4. นางวรรษวรรณ บันลอื ฤทธ์ิ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ/พัฒนาหลักสูตร 5. นางสาวเบญ็ จวรรณ อำไพศรี นักวชิ าการศึกษา/พฒั นาหลักสตู ร 6. นางสาวทพิ วรรณ วงค์เรือน นักวชิ าการศกึ ษา/พฒั นาหลกั สตู ร 7. นายจตุรงค์ ทองดารา 8. นางสาวชมพนู ท สังข์พิชยั ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ 9. นางสาวขวัญฤดี ลิวรรโณ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั คณะบรรณาธิการ ผู้อำนวยการกล่มุ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 1. นางศทุ ธินี งามเขตต์ ผ้เู ชี่ยวชาญเนื้อหา นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพิเศษ 2. นางเอือ้ มพร สุเมธาวัฒนะ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการ 3. นายเสกสรร เทดิ สิรภิ ัทร นักวิชาการศึกษาชำนาญการ 4. นางสาวเบจ็ วรรณ อำไพศรี นกั วิชาการศกึ ษา 5. นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รือน นักวิชาการศกึ ษา 6. นายจตรุ งค์ ทองดารา 7. นางสาวชมพูนท สังขพ์ ชิ ยั ผอู้ ำนวยการกลมุ่ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา 8. นางสาวขวญั ฤดี ลิวรรโณ ศิลปกรรม ออกแบบกราฟกิ ปก/รูปเลม่ นกั วิชาการศึกษา นางเอ้อื มพร สุเมธาวัฒนะ นักวชิ าการศึกษา พสิ จู น์อักษร 1. นางสาวขวญั ฤดี ลวิ รรโณ 2. นางสาวชมพูนท สังขพ์ ชิ ัย 86

re-skill แหลลกัะ สuูตpรเพ-sอ่ื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ ีพ1 87 ช่ือหลักสตู ร การทำแอปพลิเคชัน (Application) เพ่ือการค้าออนไลน์ จำนวน 40 ชั่วโมง กลุ่มอาชพี ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความเปน็ มา ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการไดม้ ีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ดว่ น ไดแ้ ก่ ความปลอดภัย ของผู้เรียน หลักสตู รฐานสมรรถนะ บกิ๊ ดาตา้ (Big Data) การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา ทักษะทางอาชีพ การศกึ ษาตลอดชวี ิต และการจัดการศึกษาสำหรับผู้ทีม่ ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนักงาน กศน. จึงได้มีการนำนโยบายที่เกี่ยวข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต มาดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพ่ือพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพฒั นาและต่อยอด ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุ่มเพื่อผลติ และพัฒนาผลติ ภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล ใหเ้ กิดการสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ประชาชนหรือกลมุ่ เป้าหมายทอ่ี ยใู่ นชมุ ชน ต่อไป ในปัจจบุ นั นชี้ ีวิตประจำวนั ของคนไทยใช้เครือขา่ ยสังคมออนไลน์ ในการเชื่อมตอ่ ส่ือสารระหว่างกัน หรือระหว่างบุคคลหรือกลุ่มคนบนโลก เพราะเครือข่ายสังคมออนไลน์เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวนั ของทกุ คน ในด้านการปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม (Social Interaction) เป็นเคร่อื งมือช่วยในการติดต่อส่ือสาร แลกเปล่ียน ความคิดเห็นระหว่างกัน และการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรของหน่วยงานให้มีความใกล้ชิดกัน 87

หreลัก-สsูตkรiเlพl่อื แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1 88 สามารถประสานความรว่ มมือกันในการทำงานได้เป็นอย่างดี โดยการติดต่อผา่ นสือ่ สังคมออนไลน์ เชน่ เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) ทวติ เตอร์ (Twitter) อนิ สตาแกรม (Instagram) นอกจากน้ีเครือข่ายออนไลน์ ยังช่วยให้ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ สารมารถทำได้ง่ายและรวดเร็ว (กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม, 2561) โดยใช้โทรศัพท์สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเข้าถึง (Social Networking,2017) ประกอบกับในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เพมิ่ ความรุนแรงมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ภาคธรุ กจิ ภาคอุตสาหกรรมและการดำเนินชีวิตของ ประชาชนทุกภาคสว่ นของประเทศ การหยุดหรอื ปดิ กิจการของสถานประกอบการ โรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ กลุ่มคนจำนวนมากตอ้ งถูกเลิกจ้าง หยุดงาน รายไดล้ ดน้อยลง และหยดุ ชะงกั ลง และจากการศึกษาข้อมูลความ ต้องการในการเรียนรู้ของประชาชน โดยภาพรวมจากในพื้นที่ 77 จังหวัด พบว่า ด้วยความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีและการสื่อสาร ประกอบกับการประสบปัญหาจากสถานการณ์ที่มีการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ประชาชนโดยเฉพาะคนยุคใหม่จึงมีความสนใจในอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยี เป็นช่องทางในการประกอบอาชีพ จึงมีการจดั ทำหลกั สตู รการพฒั นาแอปพลเิ คชนั (Application) ขายของออนไลน์ข้ึน เพื่อพัฒนาใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถพัฒนาแอปพลเิ คชัน (Application) สำหรับใชข้ ายของ ออนไลน์ในการประกอบอาชพี และพฒั นาตนเอง รวมทงั้ นำความรทู้ ี่ได้ไปต่อยอดอาชีพในระดบั ชมุ ชนต่อไป หลกั การของหลักสตู ร หลักสตู รการทำแอปพลิเคชนั (Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์ กำหนดหลกั การไว้ดงั นี้ 1. เป็นหลักสตู รที่มโี ครงสรา้ งยดื หยุ่นด้านการจัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล รวมทั้งเนน้ การบูรณาการให้สอดคล้องกบั ศักยภาพดา้ นต่าง ๆ ตลอดจนสามารถนำไปพฒั นาต่อยอดในการประกอบอาชีพ ทง้ั ในระดับตนเอง ชุมชน สังคม และประเทศชาติ 2. สง่ เสรมิ การประกอบอาชพี และสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง ชุมชน สงั คม 3. ส่งเสรมิ การนำเทคโนโลยมี าเปน็ เครอ่ื งมอื ในการพัฒนาทกั ษะการฝกึ อาชีพเพ่อื การมงี านทำ จดุ หมาย 1. เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั การทำแอปพลิเคชัน (Application) 2. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถจดั ทำแอปพลเิ คชนั (Application) เพ่อื การคา้ ออนไลน์ 3. เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้แอปพลิเคชนั (Application) เพอื่ การคา้ ออนไลน์ ในการประกอบอาชีพและพฒั นาตนเองได้ 4. เพอ่ื สง่ เสรมิ การรวมกลุ่มและนำความรู้ท่ีไดจ้ ากจดั ทำแอปพลิเคชัน (Application) เพื่อการค้า ออนไลน์ไปตอ่ ยอดอาชพี ในระดับชุมชน กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนทัว่ ไปท่ีมีความสนใจในการพฒั นาและตอ่ ยอดอาชพี 88

re-skill แหลลกัะ สuตู pรเพ-s่อื kกาiรllพฒัเลน่มาอทาช่ี ีพ1 89 ระยะเวลา ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จำนวน 40 ชั่วโมง 1. ภาคทฤษฎี จำนวน 14 ชั่วโมง 2. ภาคปฏิบตั ิ จำนวน 26 ชว่ั โมง โครงสรา้ งหลักสตู ร จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนื้อหา จำนวนช่วั โมง ท่ี เร่อื ง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 1. แอปพลิเคชัน มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั 1. ความหมายของแอปพลเิ คชัน ความหมาย ประเภท และ (Application) 22 (Application) ประโยชนข์ องแอปพลเิ คชัน 2. ประเภทของแอปพลิเคชัน (Application) พื้นฐาน (Application) 34 2. เครอ่ื งมือที่ใช้ใน 3. ประโยชนข์ องแอปพลเิ คชนั การจดั ทำแอปพลิเคชนั มีความรู้ ความเขา้ ใจ และ (Application) 4 15 (Application) สามารถเลือกใช้เคร่ืองมือ 1. เครอื่ งมือที่ใช้ในการทำ เพื่อการคา้ ออนไลน์ ในการทำแอปพลเิ คชัน แอปพลเิ คชัน (Application) (Application) เพ่ือการค้า เพื่อการค้าออนไลน์ 3. กระบวนการจดั ทำ ออนไลน์ 2. หลกั การเลือกใชเ้ ครอื่ งมอื แอปพลิเคชัน ในการทำแอปพลิเคชัน (Application) 1. มีความรู้ ความเขา้ ใจ (Application) เพื่อการค้า เพ่ือการคา้ ออนไลน์ องคป์ ระกอบ ของการทำ ออนไลน์ แอปพลเิ คชนั (Application) 1. องค์ประกอบของการทำ เพื่อการค้าออนไลน์ แอปพลิเคชัน (Application) 2. สามารถจัดทำแอปพลเิ คชนั เพอ่ื การคา้ ออนไลน์ (Application) เพื่อการคา้ 2. ขัน้ ตอนของการทำ ออนไลน์ ตามข้ันตอนได้ แอปพลเิ คชัน (Application) อย่างถูกต้อง เพ่อื การคา้ ออนไลน์ 3. ตวั อยา่ งขั้นตอนของการทำ แอปพลเิ คชัน (Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์จาก เคร่ืองมือท่ีใช้ในการจดั ทำ แอปพลเิ คชัน (Application) 89

หreลัก-สsตู kรiเlพl่ือแกาลระพฒั upนา-อsาkชพี ill เล่มที่ 1 90 ท่ี เรื่อง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เน้อื หา จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 4. กฎหมายและระเบียบ มีความรู้ ความเข้าใจกฎหมาย 1. กฎหมายทางคอมพิวเตอร์ 2 2 ท่เี ก่ียวข้อง และระเบยี บทเ่ี กีย่ วข้องกบั 2. กฎหมายการคุ้มครอง การทำแอปพลิเคชัน ผู้บริโภค (Application) เพ่ือการค้า 3. กฎหมายการคุ้มครอง ออนไลน์ และสามารถปฏบิ ตั ิตน ขอ้ มูลส่วนบคุ คล ให้ถูกต้องตามกฎหมาย 5. การเลอื กรูปแบบและ 1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั 1. รปู แบบช่องทางการค้า 3 3 การตดั สนิ ใจใช้ชอ่ งทาง ช่องทางการค้าออนไลน์ ท่จี ัดทำ ออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชนั เพอ่ื การคา้ ออนไลน์ ขึ้นเองและแบบสำเรจ็ รปู (Application) ที่จัดทำขน้ึ ผา่ นทางแอปพลเิ คชนั 2. สามารถตัดสนิ ใจเลือกใช้ 2. รูปแบบช่องทางการคา้ (Application) ชอ่ งทางการคา้ ออนไลน์ของ ออนไลน์ผา่ นแอปพลิเคชนั แตล่ ะแอปพลเิ คชนั (Application) แบบสำเร็จรปู (Application) เพ่ือการค้า 3. วธิ ีการเลือกรูปแบบและ ออนไลนส์ ำหรับตนเอง ตดั สนิ ใจ ใชช้ ่องทางการคา้ และชมุ ชนได้ ออนไลนผ์ ่านแอปพลเิ คชนั (Application) ที่จดั ทำขึ้นและ แบบสำเร็จรูป สำหรับตนเอง และชมุ ชน การจดั กระบวนการเรยี นรู้ วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ใช้รปู แบบการเรียนรู้ทหี่ ลากหลาย ดงั น้ี 1. การบรรยาย (Lecture) 2. การระดมสมอง (Brainstorming) 3. การอภิปราย (Discussion Method) 4. การชมคลิปวดี ีโอการบรรยายและการสาธติ 5. การฝกึ ปฏบิ ตั ิ 90

re-skill แหลลักะ สuตู pรเพ-sอื่ kกาiรllพัฒเลน่มาอทาช่ี พี1 91 สอื่ การเรยี นรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักสูตร มกี ารใช้สือ่ การเรยี นรู้ และแหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลาย ทันสมัย และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ นั ไดแ้ ก่ 1. ใบความรู้ 2. คลิปวีดีโอการบรรยายและการสาธติ 3. ใบงาน การวัดและประเมนิ ผล การวัดและประเมินผลหลักสตู ร เปน็ การตรวจสอบความก้าวหน้า โดยใชผ้ ลการประเมินเป็นข้อมูล และสารสนเทศที่แสดงการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และความสามารถต่อการทำแอปพลิเคชัน (Application) เพอ่ื การคา้ ออนไลน์ตลอดหลักสตู ร ซ่ึงสามารถประเมนิ ได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การสงั เกต 2. การสอบถาม 3. การตรวจผลงาน/ช้ินงาน 4. การทดสอบ การจบหลักสตู ร 1. มีระยะเวลาเรยี นและฝกึ ปฏิบตั ติ ลอดหลักสูตร ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ผา่ นตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ตามเกณฑ์ที่กำหนด ดงั น้ี 2.1 ภาคทฤษฎี สดั ส่วนร้อยละ 20 2.1 ภาคปฏิบัติ สัดส่วนร้อยละ 80 เอกสารหลักฐานการศึกษา 1. หลกั ฐานการเขา้ เรียนตลอดหลักสตู ร 2. ทะเบียนคมุ วฒุ บิ ตั ร 3. วุฒิบัตรการศึกษาออกโดยสถานศึกษาที่มีการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการทำแอปพลิเคชัน (Application) เพ่ือการคา้ ออนไลน์ การเทียบโอน ผู้เรียนที่จบหลักสูตรการทำแอปพลิเคชัน (Application) เพื่อการค้าออนไลน์ อาจจะนำผลไป เทียบโอนผลการเรียนกับหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรืออื่น ๆ ได้ตามหลักเกณฑ์ ท่ีสถานศึกษากำหนด 91

rหeลกั-สsูตkรiเlพlื่อแกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มท่ี 1 92 บรรณานกุ รม กติ ติ เสือแพร และสริ ิชัย จนั ทร์น่มิ . (2563). หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์บริษทั สำนักพิมพ์เอมพนั ธ์ จำกดั . โกสนั ต์ เทพสิทธทิ ราภรณ์. (2563). หนังสือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษัทแม็คเอ็ดดเู คชนั่ จำกดั . กรกมล ซนุ้ สวุ รรณ, ธชั ตะวัน ชนะกลู , จิตรลดา พนั ธุ์พณาสกุล และวทิ วัส สุรยิ นั ยง. การพัฒนาระบบพาณิชย์ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์สำหรับการจัดการผลิตภัณฑว์ สิ าหกจิ ชุมชน กลมุ่ ผลติ ขา้ วบ้านหนองถว้ ย ตำบลตะเครยี ะ อำเภอระโนด จงั หวัดสงขลา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. คฑาวุธ ถวัลย์วลิ าสวงศ์ ,เทพกร ณ สงขลา ,ธีระเดช เพชรแก้ว และสรุ ีรัตน์ แกว้ คีรี. (2560). การพฒั นาแอปพลิเคช่ันในการให้บรกิ ารประชาชนของเทศบาลตำบลเกาะแตว้ (รายงานวจิ ัยฉบับนี้ ไดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ การวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา). สงขลา : มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลเิ คชั่นออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2558). มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์. จรัส พงเจริญ. (2560). ผลการเรียนด้วยเว็บแอปพลิเคชันการศึกษาโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริม ความสามารถใน การเขยี นโปรแกรมบนเว็บของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 (การค้นคว้าอิสระน้ีเป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา แผน ข ระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2560). ภาควิชาเทคโนโลยกี ารศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชนิ วจั น์ งามวรรณากร. (2562). การพัฒนาแอปพลเิ คช่ันสือ่ การเรยี นรู้บนอปุ กรณ์เคล่ือนท่เี รือ่ ง ภาษาอังกฤษ สำหรับนักสารสนเทศ (รายงานวจิ ัยฉบับนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากงบประมาณบำรุงการศึกษาประจำปี 2562 จากคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา). ยะลา : มหาวิทยาลยั ราชภฏั ยะลา ชนินทร เฉลิมสุข และอภิชาต คำปลิว. (2563). หนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกดั . ชชู าติ พนิ ธกุ นก. (2556). Copfinder : แอพพลเิ คช่นั สำหรบั การคน้ หาสถานีตำรวจและหมายเลขฉุกเฉนิ (สาร นพิ นธ์นี้เป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมเวบ็ คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ธรุ กิจบัณฑิตย์ พ.ศ. 2556). มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บัณฑติ ย.์ 92

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่อื kกาiรllพัฒเลน่มาอทาชี่ พี1 93 ณัฐกานต์ กองแกม้ . (2559). พฤตกิ รรมการซ้ือสนิ ค้าและบริการของผู้ใช้ Application Shopee ในประเทศไทย (วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 2 วิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2559). บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร. ถติ ยโ์ ชค โพธส์ิ อาด. (2558). การพัฒนาระบบพาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนิกส์ความจริงเสมือนเพือ่ เพ่ิมประสบการณ์ การซื้อเสมือนจริง (ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555). สาขาวิชาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส านักวิชาเทคโนโลยีสงั คม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี. เปรมกมล หงษ์ยนต์. (2562). ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการตัดสนิ ใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชนั่ ออนไลน์ (ลาซาดา้ ) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร (การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม พุทธศักราช 2562). บัณฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยสยาม. พรทิพย์ วงศ์สินอุดม. (2558). การพัฒนาแอปพลิเคช่ันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพาร่วมกับ การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จงั หวดั เพชรบรุ ี (วิทยานพิ นธป์ รญิ ญาศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. พชรพรรณ สมบัต.ิ (2558). แนวทางการพฒั นา โมบาย แอพพลเิ คช่ัน THAI MOBILE สำหรบั ผูใ้ ชบ้ ริการสาย การบิน บริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) (วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการบิน สถาบันการบินพลเรือน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา 2558). สถาบันการบินพลเรือน สถาบันสมทบ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยสี ุรนาร.ี พระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการกระทำความผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560. (2560,24 มกราคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เล่ม 134 (ตอนท่ี 10 ก), หนา้ 24 - 35 พระราชบัญญตั คิ มุ้ ครองผูบ้ รโิ ภค พ.ศ. 2522. (2522,4 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 96 (ตอนท่ี 72 ฉบับพิเศษ). พระราชบัญญตั ิคณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2541. (2541,24 มีนาคม). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ 115 (ตอนท่ี 15 ก). พระราชบญั ญัตคิ ณะกรรมการคุ้มครองผู้บรโิ ภค (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2556. (2556,18 มนี าคม). ราชกิจจานเุ บกษา. เล่ม 130 (ตอนที่ 25 ก) พระราชบญั ญัติคุ้มครองขอ้ มลู ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. (2562,27 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลม่ 136 (ตอนที่ 69 ก), หน้า 52 – 95 93

rหeลัก-สsตู kรiเlพlือ่ แกาลระพฒั upนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1 94 ภควัฒน์ อยูว่ ัฒนา. (2554). การจดั การร้านค้าออนไลน์ดว้ ยเทคโนโลยีเวบ็ (สารนพิ นธฉ์ บบั นเี้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของ การศึกษา ตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ปีการศึกษา 2554). บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ภวดล ศรีสารสกลุ . (2558). พฤติกรรมของผู้บริโภคท่ีมตี อ่ โมบายแอปพลเิ คชนั ประเภทโมบายคอมเมิร์ซใน การซ้อื ขายแบบผู้บรโิ ภคกบั ผู้บริโภค. วารสาร มฉก.วิชาการ. วรวิทย์ อศิ รางกรู ณ อยุธยา. (2563). หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สำนักพิมพ์ บรษิ ัทพฒั นา คณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จำกดั . วโรดม คำแผ่นชยั . (2561, 8 สงิ หาคม). สร้าง Mobile App งา่ ยๆ ทัง้ iOS และ Android แค่ลากวางดว้ ย Thunkable Part 1. สบื ค้นเมอื่ 9 กรกฎาคม 2564, จาก https://medium.com/altotech/ สร้าง-mobile-app-งา่ ยๆ-ท้ัง-ios-และ-android-แค่ลากวางด้วย-thunkable-part-1- 9285d221752eNatasha Lomas. หทยั รัตน์ เกตมุ ณีชัยรัตน์, สุจินันท์ แดดภู่, ชอ่ ทิพย์ สง่ แสง และ ปิยฉัตร จันทิวา. (2561). แอปพลิเคชนั การตลาดออนไลนบ์ นระบบปฏิบตั กิ ารแอนดรอยด์ กรณศี ึกษา บริษัท สวรา อนิ ทเิ กรชัน จาํ กัด. ภาค วชิ าการจัดการเทคโนโลยีการผลติ และสารสนเทศ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี พระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . สธุ าทิพย์ ทั่วจบ. (2562). พฤตกิ รรมการซอื้ สินค้าผ่านแอปพลิเคชันออนไลน์ของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี อำเภอพุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม. สาขาวิชาบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย กรุงเทพธนบรุ ี. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2563). หนังสอื เรียนรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์สกสค. MIT spin-out Thunkable hopes its drag-and-drop app builder can be a money-spinner too. สืบค้น เม่ือ 9 กรกฎาคม 2564, จาก https://techcrunch.com/2016/03/05/mit-spin-out-thunkable- hopes-its-drag-and-drop-app-builder-can-be-a-money-spinner-too/ 94

re-skill แหลลักะ สuูตpรเพ-s่ือkกาiรllพฒัเลน่มาอทาชี่ พี1 95 คณะผ้จู ัดทำ เลขาธิการ กศน. ทีป่ รึกษา ผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะด้านพฒั นาหลักสูตร 1. นายวรัท พฤกษาทวีกุล ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ 2. นายชัยพัฒน์ พนั นธว์ุ ัฒนสกลุ การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. นางศุทธินี งามเขตต์ ท่ปี รึกษาดา้ นเทคโนโลยีทางการศึกษา 4. นางรกั ขณา ตณั ฑวุฑโฒ คณะพัฒนาหลกั สูตร ผ้อู ำนวยการกล่มุ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 1. นางเอื้อมพร สเุ มธาวฒั นะ กรรมการบรษิ ัท ลิตเต้ิล บีน ซอฟต์ จำกดั / 2. นายไวยฤทธิ์ วทิ ยานรากลุ ผู้เชี่ยวชาญเนอ้ื หา ขา้ ราชการบำนาญ 3. นางสาวมณฑา เกรยี งทวศี กั ด์ิ ครูชำนาญการพิเศษ 4. นางวรรษวรรณ บนั ลือฤทธ์ิ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ 5. นางนสุ รา สกลนุกรกิจ นักวิชาการศึกษาปฏิบตั กิ าร 6. นางสาววิภารัตน์ วรรณเวช นักจดั การงานท่วั ไป 7. นายวสันต์ อินทะ คณะบรรณาธิการ ที่ปรึกษาด้านพัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ 1. นางศทุ ธินี งามเขตต์ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ผ้อู ำนวยการกลุ่มพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา 2. นางเอื้อมพร สเุ มธาวัฒนะ กรรมการบรษิ ัท ลิตเตลิ้ บนี ซอฟต์ จำกัด 3. นายไวยฤทธ์ิ วิทยานรากุล นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ 4. นางนุสรา สกลนุกรกจิ นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัตกิ าร 5. นางสาววิภารัตน์ วรรณเวช นกั จัดการงานทัว่ ไป 6. นายวสนั ต์ อินทะ ศลิ ปกรรม ออกแบบกราฟิก ปก/รปู เล่ม นางเอ้ือมพร สเุ มธาวฒั นะ ผ้อู ำนวยการกล่มุ พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา พสิ ูจนอ์ กั ษร นางสาววภิ ารัตน์ วรรณเวช นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ นายวสันต์ อนิ ทะ นกั จัดการงานทวั่ ไป 95

หreลัก-สsตู kรiเlพlอ่ื แกาลระพัฒupนา-อsาkชีพill เล่มที่ 1 96 ชอื่ หลกั สูตร เส้นทางสู่การเปน็ “ยูทูบเบอร์ (YouTuber)” จำนวน 42 ชวั่ โมง กลมุ่ อาชีพ กลมุ่ อาชพี เฉพาะทาง (ที่มาของภาพประกอบ : กลุ่มพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา) ความเปน็ มา ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการได้มีการกำหนดนโยบาย “Quick Win” 7 วาระเรง่ ด่วน ได้แก่ ความปลอดภัย ของผู้เรียน หลักสูตรฐานสมรรถนะ บิก๊ ดาต้า (Big Data) การขับเคล่ือนศูนย์ความเป็นเลิศอาชีวศึกษา การพัฒนา ทักษะทางอาชีพ การศกึ ษาตลอดชีวิต และการจัดการศึกษาสำหรับผู้ทมี่ ีความต้องการเป็นพิเศษ สำนกั งาน กศน. จึงได้มีการนำนโยบายที่เกีย่ วข้อง 2 วาระ สำคัญ คือ การพัฒนาทักษะทางอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิตมา ดำเนินการขับเคลื่อน โดยการจัดทำโครงการจัดทำหลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re - Skill และ Up - Skill จำนวนหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ คือ หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมและบริการ ความคิดสร้างสรรค์ และอาชีพเฉพาะทาง เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและต่อยอด ประกอบอาชีพของตนเอง รวมถึงการส่งเสริมการรวมกลุม่ เพ่ือผลิตและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ในชุมชน อันจะส่งผล ให้เกิดการสร้างงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ประชาชนหรอื กล่มุ เปา้ หมายท่อี ยใู่ นชมุ ชน ต่อไป 96