พ ท กษ คณะบร หารธ รก จ ม.นอร ทกร งเทพ

ควำมเป็นมำ : เม่อื วนั ที่ 4 ธันวาคม 2557 ไดม้ กี ารลงนามใน Minute of Meeting (MOM) ระหว่างกรมชลประทาน กระทรวงเกษตร

และสหกรณแ์ ห่งราชอาณาจักรไทย และ Council of Agriculture, Executive Yuan (COA) แหง่ ไตห้ วัน

กรอบระยะเวลำ : 2558-2559

สถำนภำพปัจจบุ นั : ผู้แทนกรมเขา้ รว่ มประชมุ คณะทางานทางวิชาการ คร้งั ที่ 6 เมอ่ื วนั ที่ 16 มนี าคม 2560 ณ ประเทศไทย เน่ืองจากกรอบ

ระยะเวลาในการดาเนินงานของคณะกรรมการอานวยการด้านวิชาการและคณะทางานร่วมด้านวิชาการ ได้ส้ินสุด

ในเดอื นธนั วาคม 2559 และยังไมม่ ีการแต่งตัง้ คณะทางานชดุ ใหม่ จงึ ยังไมม่ กี ารกาหนดแผนงานในอนาคต

แผนงำนในอนำคต : -

หน่วยงำนท่ีเก่ยี วขอ้ ง : สานักวิจัยและพัฒนา ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา

สานักบริหารจัดการน้าและอุทกวิทยา โครงการส่งน้าและบารุงรักษากระเสียว จ.สุพรรณบุรี สานักงานชลประทานที่ 10

และสานักงานชลประทานที่ 12

หน่วยงำนรับผิดชอบฝ่ำยคภู่ ำคี : ส่วนโครงการเงนิ ก้แู ละกจิ การต่างประเทศ สานักบรหิ ารโครงการ

โครงกำร/ กำรดำเนินงำนทผี่ ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผ้เู ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ คณะทำงำน 11 ธ.ค. 62 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนินงำน) 1.1 การประชุมหารือแนวทาง เพื่อจัดทาข้อสรปุ และ 1. ความร่วมมอื ขอ้ เสนอโครงการภายใต้ความ กรมชลประทาน ผส.วพ. เป็นประธานคณะทางาน แผนดาเนินงานของ ทางวิชาการ รว่ มมอื ไทย-ไตห้ วนั คร้ังที่ 4 และ ผส.บก., ผส.บอ., ผอ.ทส., โครงการภายใต้ความ ไทย-ไตห้ วัน ผส.สธ., ผส.ชป.12, คณะทางาน, ร่วมมอื ไทย-ไต้หวัน 1.2 รายงานความก้าวหน้าของ และผทู้ ี่เกย่ี วข้อง ในอนาคต การประชมุ หารือแนวทาง เพอ่ื แจง้ สถานะ ขอ้ เสนอโครงการภายใต้ 29 ม.ค. 63 กรมชลประทาน ไทย ผส.วพ. เป็นประธานคณะทางาน, ความก้าวหน้าของ ความรว่ มมอื ไทย-ไต้หวัน และ ผงต.บก เปน็ ฝา่ ยเลขานุการ ขอ้ เสนอโครงการภายใต้ ความรว่ มมือไทย-

44

โครงกำร/ กำรดำเนนิ งำนที่ผำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผูเ้ ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ คณะทำงำน (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) 1 ต.ค. 62- กรมชลประทาน ไทย ไตห้ วัน ของ ศทส. 2. โครงการบริหาร มกี ารจดั ทา list เมนู พร้อมทั้ง 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน สานักงานชลประทานท่ี 12, และ สวพ. ตาม จัดการน้าและจดั การ รายละเอียดต่าง ๆ ของเวบ็ ไซต์ ไทย ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ รายงานการประชุมฯ ฐานข้อมลู ทางดา้ น GIS Portal รวมไปถึงการ 1 ต.ค. 62- กรมชลประทาน การสื่อสาร, สานกั บริหารจดั การน้า ครง้ั ที่ 4 การเพาะปลกู ด้วย เปรียบเทียบข้อมูลของเวบ็ ไซต์ 30 ก.ย. 63 และอุทกวิทยา และสานักสารวจ เนื่องจากยังไดร้ บั ข้อมลู ระบบ Application GIS Portal ของ ศทส. กบั เวบ็ ไซต์ ด้านวศิ วกรรมและธรณวี ิทยา ทไี่ มช่ ัดเจนจาก on Mobile GIS On-farm ของ สชป.12 7 ม.ค. 63 คณะทางาน จงึ ไม่ สานกั วจิ ยั และพฒั นา, สามารถกาหนดประเด็น 3. โครงการ มีการดาเนนิ งานในการลงสารวจ สานักสารวจดา้ นวศิ วกรรมและ ความร่วมมอื ทจี่ ะ ธรณีวิทยา, ศนู ยเ์ ทคโนโลยี หารือกบั ฝ่ายไต้หวัน แลกเปลยี่ นความรู้ พ้ืนท่ี ร่วมกับ สชป.10 และ สารสนเทศและการสอ่ื สาร, ในขณะนี้ สานักบริหารจดั การน้าและอุทก ไดก้ าหนดนาเสนอ เรือ่ งการบรหิ ารจัดการ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เพอ่ื วิทยา, และสานักชลประทานที่ 10 ข้อเสนอโครงการใหม่น้ี ในการประชมุ นา้ ในพืน้ ท่ลี ุ่มต่าเพื่อ จดั ทาแผนทที่ างภูมศิ าสตร์ขน้ึ โดย สานักวจิ ยั และพฒั นา และ คณะทางานทาง ผู้เกย่ี วข้อง วิชาการว่าด้วยความ เตรยี มความพร้อม ได้เลือก 2 พน้ื ท่ลี ุ่มต่า คือ ทุ่งท่าวงุ้ รว่ มมอื ด้านการเกษตร ไทย-ไตห้ วนั ครงั้ ท่ี 7 รบั มอื จากสภาวะการ และท่งุ บางกุ่ม โดยได้เปรยี บเทยี บ ดาเนินการโดย เปล่ยี นแปลงสภาพ ขอ้ มลู กบั Shape file DEM ท่ี สานกั วจิ ยั และพัฒนา

ภูมิอากาศ ได้รบั จาก สสธ. และรวมถงึ การ

คานวณโค้งความจุของแตล่ ะพ้ืนที่

ลุ่มตา่ ซง่ึ ดาเนนิ การแลว้ เสรจ็ ไป

2 พนื้ ทลี่ มุ่ ต่า

4. โครงการแลกเปล่ียน 4.1 ประชมุ ติดตามการดาเนินการ

ความรู้เรอ่ื ง การบริหาร ของนักศึกษาภาควิชาภมู ิศาสตร์

จดั การนา้ ในพน้ื ทีล่ ุ่ม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์

45

โครงกำร/ กำรดำเนนิ งำนท่ผี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผ้เู ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ คณะทำงำน 2 ต.ค. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชุม/ดำเนินงำน) ดาเนนิ การโดย ต่า กรณีศึกษา ทุ่งทา่ (การศึกษาใชส้ มมติฐานจาก กรมชลประทาน สานักวิจัยและพัฒนา และ สานกั วิจยั และพัฒนา ผู้เก่ยี วขอ้ ง วุ้งและทุ่งบางก่มุ ขอ้ มลู ปรมิ าณน้าทีป่ ล่อยเข้าทุ่ง

ความเปน็ มา ในปี พ.ศ. 2556)

จากความรว่ มมอื ได้มี 4.2 ประชมุ เตรยี มการจัดทา การฝกึ อบรมการใช้ ขอ้ เสนอ

ระบบสารสนเทศทาง

ภูมิศาสตร์ (GIS) ซง่ึ

คณะทางานของกรม

ชลประทานมแี นวคิด

ที่จะต่อยอดนามา

ประยกุ ตใ์ ช้กบั การ

บริหารจัดการนา้ ใน

พนื้ ท่ลี ุ่มต่า โดยจะเร่ิม

จากพื้นที่ทีม่ ีความพรอ้ ม

อาทิ ในเขตพื้นท่ีสานัก

ชลประทานท่ี 10-12

เป็นต้น

46

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกจิ กรรมท่ีผ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.17 ควำมร่วมมอื ด้ำนกำรบรหิ ำรจดั กำรอุทกภัยไทย-สหรำชอำณำจักรเนเธอรแ์ ลนด์

ควำมเป็นมำ : กรมชลประทาน และ Stichting Deltares ได้ร่วมลงนาม MOU เม่ือวันที่ 26 เมษายน 2555 เรื่องการบริหารจัดการน้า แบบบูรณาการ (Integrated Flood Risk Management) เพ่ือดาเนินการสร้างยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนปฏิบัติการ ที่มีประสทิ ธิภาพและยัง่ ยืน เปน็ การจดั การความเส่ียงภัยอันเกดิ จากน้าในพื้นทีล่ มุ่ น้าเจา้ พระยา โดยมีเงื่อนไขว่า บริษัทเดลต้าเรส

จะดาเนินการฝึกอบรมโปรแกรม SOBEK ภายใต้ความร่วมมือ กรมชลประทานมีความเห็นท่ีจะส่งเสริมความร่วมมือ เพ่ิมเติม โดยพิจารณากรอบความร่วมมือ 4 ด้านหลัก คือ (1) Flood Plain Management (2) Database Correction (3) Capacity Building และ (4) Modeling of Mitigation

กรอบระยะเวลำ : -

สถำนภำพปจั จุบนั : กจิ กรรมภายใต้ความร่วมมือ ไดแ้ ก่ การฝกึ อบรม

แผนงำนในอนำคต : ความต้องการภายใต้บันทึกความร่วมมือระหว่างกรมชลประทาน และ Deltares 1. การต่อยอดการพัฒนานักวิจัยของ กรมชลประทานที่เคยเข้าร่วมฝึกอบรมกับ Deltares โดยขยายผลการประยุกต์ใช้งานซอฟแวร์ SOBEK และ Delft-FEWS

ตลอดจนการพัฒนาระบบ Real time Flood Warning and Monitoring Systems ในประเทศไทย 2. Deltares มอบ ทุนการศึกษาเพื่อพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมชลประทานของกรมชลประทานหรือสาขาที่เก่ียวข้องในระดับปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัย TU-Delft จานวน 2 ทุน ซึ่งผู้รับทุนจะต้องทางานวิจัยปริญญาเอก ณ Deltares หรือในประเทศไทย

ที่ Deltares ใหค้ วามเห็นชอบ

หนว่ ยงำนท่เี กีย่ วขอ้ ง : กรมชลประทาน สถาบนั พัฒนาการชลประทาน

ผูป้ ระสำนงำน : สถาบันพฒั นาการชลประทาน

47

โครงกำร/ กำรดำเนินงำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผูเ้ ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ คณะทำงำน ที่ผ่ำนมำ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน)

กจิ กรรมภายใต้ 1. การฝกึ อบรม 15-19 กรมชลประทาน ไทย บคุ ลากรเข้าร่วม 35 คน เปน็ การให้ความรู้เก่ียวกบั แบบจาลอง ความร่วมมือ SOBEK หลกั สูตร ก.พ. 59 กรมชลประทาน การพยากรณน์ ้า เพื่อนาไปประยกุ ต์ใช้ กรมชลประทาน- เทคโนโลยเี พ่อื การ เนเธอร์แลนด์ 1. นายชวกร ร้วิ ตระกลู ไพบลู ย์ ในการบริหารจัดการน้า เดลต้าเรส บรหิ ารจดั การนา้ 18 ก.พ.- วศิ วกรชลประทานชานาญการ 26 ม.ี ค. 60 พิเศษ ความร่วมมือที่จะเป็นประโยชน์ในอนาคต โดยสถาบนั พัฒนาการ 2. นายกรตสุวรรณ โพธ์ิสวุ รรณ 1. เดลตา้ เรสมีแบบจาลองและระบบ ชลประทาน วิศวกรชลประทานชานาญการ ควบคุมติดตามภัยทางธรรมชาติ 3. นายจรี ภทั ร์ เตชะกลุ ชัยนนั ต์ ซ่งึ นา่ จะเป็นประโยชน์ใชก้ ับศูนย์ 2. การเดินทางไป วศิ วกรชลประทานชานาญการ ปฏบิ ตั กิ ารน้าอจั ฉรยิ ะ ฝึกอบรมโครงการ 4. น.ส.ภารดี สนุ ทรโรจน์ 2. เดลต้าเรสมีแบบจาลองทางกายภาพ แบบจาลอง SOBEK วิศวกรโยธาปฏิบตั ิการ ด้านการบรหิ ารจัดการนา้ ทีม่ กี ารพฒั นา ณ Deltares อย่างต่อเนอ่ื ง จะเปน็ ประโยชนต์ ่อกรม ราชอาณาจกั ร ชลประทานเมื่อมกี ารศกึ ษาวจิ ยั ร่วมกัน เนเธอร์แลนด์ 3. เดลต้าเรสกาหนดจัดการประชุม ทางวชิ าการเกี่ยวกบั เทคโนโลยีบรหิ าร จดั การน้า (Delt Software Days) ช่วงเดอื นต.ค.-พ.ย. เป็นประจาทุกปี ซงึ่ การจดั ประชุมนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ กับบุคลากรท่ปี ฏิบตั ิงานด้านบริหาร จดั การนา้ ซ่งึ จะมกี ารแลกเปล่ียน เรียนรเู้ ทคโนโลยีสมัยใหม่

48

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกิจกรรมท่ีผ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.18 ควำมร่วมมือดำ้ นกำรเกษตรไทย - ฟลิ ปิ ปินส์

ควำมเป็นมำ : การดาเนินโครงการต่อเน่ืองภายใต้กรอบความรว่ มมอื ดา้ นการเกษตรไทย-ฟิลิปปินส์ ซ่ึงมีการประชุมแลกเปล่ียนความรู้ด้าน การบริหารจัดการน้าแบบมีส่วนร่วมมาตั้งแต่ พ.ศ. 2560 และการหารือเร่ืองการพา Smart Farmer ด้านการบริหารจัดการน้า ดเี ดน่ (SF RID) ศึกษาดูงาน ณ สาธารณรฐั ฟิลปิ ปินส์

กรอบระยะเวลำ : ขยายอายุอัตโนมตั คิ รัง้ ละ 2 ปี

สถำนภำพปัจจุบนั : คณะทางาน Smart Farmer ด้านการบริหารจัดการน้าดีเด่น (SF RID) ของกรมมีมติยกเลิกการพา Smart Farmer ไปศึกษาดงู าน ณ สาธารณรัฐฟิลปิ ปินส์ เน่ืองจากปญั หาทางด้านงบประมาณ และสถานการณไ์ วรสั COVID-19 ระบาด

แผนงำนในอนำคต : เนอ่ื งจากสถานการณร์ ะบาดของไวรัส COVID-19 และมตคิ ณะทางาน Smart Farmer ทาใหย้ งั ไมม่ ีแผนการดาเนินงานใหม่

หน่วยงำนทเี่ ก่ยี วข้อง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผูป้ ระสำนงำน : สานกั บริหารโครงการ และกองส่งเสรมิ การมสี ่วนรว่ มของประชาชน

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนทีผ่ ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผู้เขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ฟลิ ปิ ปนิ ส์ กำรประชุม/ดำเนินงำน) 1 ม.ี ค. 63- การพา Smart ยกเลกิ การพา Smart 31 ม.ี ค. 63 - 1. นายสรายุทธ อิม่ ใจ **ยกเลิกการนา Smart

Farmer ด้านการ Farmer ด้านการบริหาร ผอ.สช. กสช. หวั หนา้ คณะฯ Farmer ไปศึกษาดงู านท่ี

บริหารจัดการน้าดเี ด่น จัดการนา้ ดเี ดน่ ไปศกึ ษา 2. นายดลวฒั น์ คังคายะ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ เน่ืองจากปัญหา

(SF RID) ศึกษา ดงู าน ดูงาน ณ สาธารณรัฐ นักวิเทศสมั พนั ธ์ปฏบิ ตั ิการ ขอ้ จากัดดา้ นงบประมาณ

ณ สาธารณรัฐ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ สบก. ผปู้ ระสานงาน และมติคณะทางาน Smart

ฟลิ ิปปนิ ส์ ซึง่ เป็นการ Farmer ของกรมใหศ้ ึกษา

ดาเนนิ งานภายใต้ ดงู านในประเทศแทน**

กรอบความรว่ มมือดา้ น

การเกษตรไทย-

ฟลิ ปิ ปินส์

49

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมอื และกจิ กรรมท่ีผำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.19 ควำมรว่ มมอื ทำงวชิ ำกำรไทย - ภูฏำน

ควำมเปน็ มำ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย และกระทรวงเกษตรและป่าไม้ภูฏาน ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือ ด้าน การเกษตร เม่ือวันท่ี 4 กันยายน 2553 ซึ่งได้กาหนดกรอบความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือ ทาง วิทยาศาสตร์และวชิ าการในดา้ นการเกษตรระหวา่ งคูภ่ าคี และมขี อบเขตความร่วมมอื เกี่ยวกบั การพัฒนาด้านการเกษตร ซ่ึงรวมถึง การชลประทานและการจดั การนา้

กรอบระยะเวลำ : ดาเนนิ การต่อเน่อื ง หากไม่มีฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ บอกเลกิ

สถำนภำพปจั จุบนั : มีการแลกเปล่ียนดูงานด้านวิชาการในสาขาที่เก่ียวข้องภายใต้กรอบความร่วมมือ เพื่อพัฒนาความร่วมมือในด้านการเกษตร ระหว่างคู่ภาคี

แผนงำนในอนำคต : การประชุมคณะทางานร่วมด้านการเกษตรไทย-ภูฏาน คร้ังที่ 6 ณ ราชอาณาจักรภูฏาน การจัดฝึกอบรมและดูงานด้านชลประทาน การใหค้ วามชว่ ยเหลือทางวิชาการแก่ภูฏาน

หนว่ ยงำนทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผู้ประสำนงำน : สานักบริหารโครงการ ส่วนโครงการเงนิ กู้และกจิ การตา่ งประเทศ

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผเู้ ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ ที่ผ่ำนมำ 10 ม.ค. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชุม/ดำเนินงำน) 1. การประชมุ เตรยี มการ คณะทางานรว่ ม กรมชลประทานส่งผแู้ ทน - น.ส.วนดิ า กาเนดิ เพ็ชร์ กระทรวงเกษตรและป่าไม้ ด้านการเกษตร เขา้ ร่วมประชุม ณ ห้อง ไทย-ภูฏาน คร้งั ที่ 6 ประชุมกระทรวง 135 ผูอ้ านวยการสานกั การเกษตร ภูฏานจะเป็นเจา้ ภาพจดั การ - รายงานสรปุ ขอ้ มูล โครงการยอ้ นหลงั 5 ปี ตา่ งประเทศ ประธานการประชุม ประชุมรว่ มด้านการเกษตร ทก่ี รมดาเนินการรว่ มกับ ภูฏาน ผู้แทนกรมชลประทาน ไทย-ภูฏาน ครั้งท่ี 6 ในวนั ท่ี - ผแู้ ทนกรมเสนอให้เป็น วาระหน่งึ ในการประชมุ 1. นายกาญจดินทร์ สระประทุม 13-14 ก.พ. 63 ณ กรงุ ทิมพู

ท่ีปรึกษาด้านตา่ งประเทศ สบก. ราชอาณาจกั รภูฏาน

2. น.ส.สกุนตลา สุขพานิช ประธานจึงขอใหห้ น่วยงาน

มต.บก. แจง้ ช่ือผแู้ ทนเป็นองค์ประกอบ

คณะผูแ้ ทนไทย

50

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผู้เขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ ท่ีผำ่ นมำ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) 17 ม.ค. 63 ไทย ท่ีประชุมเสนอช่ือผู้แทน ครง้ั ที่ 6 คือ ให้ภูฏาน 27 ม.ค. 63 - ภูฏาน 1. นายเฉลมิ เกียรติ คงวิเชียรวฒั น์ เดนิ ทางไปเข้ารว่ มประชมุ 30 ม.ค. 63 ไทย รองอธิบดฝี า่ ยวชิ าการ คณะทางานร่วมด้านเกษตร ประเมนิ องค์ความรู้และ 21 ก.พ. 63 กรมชลประทาน ไทย ประธานการประชุม ไทย-ภูฏาน ครั้งที่ 6 135,000 บาท 2. คณะทางานความรว่ มมอื จานวน 2 ราย ประโยชนท์ ่ไี ด้รับจาก ไทย-ภฏู าน ของกรม บันทกึ สบก.583/2563 - 1. นายชยันต์ เมืองสง ลงวนั ท่ี 27 มกราคม 2563 การฝึกอบรม/ดูงานท่ี ผู้ทรงคณุ วุฒดิ า้ นวศิ วกรรมโยธา - (ดา้ นควบคุมการกอ่ สร้าง) หนงั สอื ท่ี กษ 0327/816 ผ่านมา และผลการ 2. นายชชั ชัย เพชรอักษร ลงวนั ท่ี 30 มกราคม 2563 วศิ วกรชลประทานชานาญการ ดาเนนิ งานในประเดน็ ท่ี พิเศษ สชป.1 สานกั การเกษตรต่างประเทศ

ภูฏานเคยร้องขอมา -

2. การประชมุ คณะทางาน การประชมุ คณะทางาน -

ความรว่ มมอื ไทย-ภฏู าน ความร่วมมือไทย-ภูฏาน

ของกรมชลประทาน ครัง้ ที่ 1/2563

3. การดาเนินการเก่ียวกับ 1. การขออนมุ ตั ิตวั การเข้าร่วมประชมุ บุคคลและคา่ ใชจ้ ่ายใน คณะทางานร่วมด้าน การเดนิ ทางไปภฏู าน การเกษตรไทย-ภูฏาน ระหว่างวันที่ 12-15 คร้งั ท่ี 6 ณ ราชอาณาจักร ก.พ. 63 ภฏู าน

2. การจดั ทาหนงั สอื เรียน ปลดั กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์แจง้ ชอื่ ผู้เขา้ รว่ ม ประชุมคณะทางานร่วม ดา้ นการเกษตร ไทย-ภูฏาน ครงั้ ที่ 6

3. การจัดทาบันทึกเสนอ

51

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผู้เขำ้ ร่วม หมำยเหตุ ท่ผี ำ่ นมำ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) แจ้งวา่ กระทรวงเกษตรและ กรมและผเู้ ก่ยี วข้อง ป่าไมภ้ ูฏานขอเลื่อนการประชมุ ขอแจง้ เลื่อนกาหนดการ ออกไปโดยไม่มีกาหนด ประชุมและยกเลิกการใช้ เนือ่ งจากสถานการณ์โรค งบประมาณเดินทาง ระบาดเชือ้ ไวรัสโคโรนา วนั ท่ี 12-15 ก.พ.63 (coronavirus)

52

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกิจกรรมที่ผำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.20 ควำมรว่ มมอื ทำงวชิ ำกำรไทย - มำเลเซยี

ควำมเปน็ มำ : เมื่อวันท่ี 8 มีนาคม 2540 ได้มีการลงนามในบันทึกข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือโครงการปรับปรุงปากแม่น้าโก-ลก ระหว่าง

รัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยและรัฐบาลแห่งประเทศมาเลเซีย มีวัตถุประสงค์ เพ่ือรักษาสภาพปากแม่น้าโก -ลก รักษา

ช่องทางการเดินเรอื เข้าออกบรเิ วณปากแม่นา้ โก-ลกทงั้ สองฝ่งั ประเทศและบรรเทาอุทกภยั ในพนื้ ท่ีลมุ่ น้าโก-ลก

กรอบระยะเวลำ : ต้ังแต่ปี 2540-ปัจจุบนั

สถำนภำพปจั จบุ นั : คู่ภาคีได้ดาเนินกิจกรรมภายใต้ข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือโครงการปรับปรุงปากแม่น้าโก-ลก ได้แก่ การติดตามและ

ประเมินผลการสารวจบริเวณปากแม่น้าโก-ลก ก่อนและหลังฤดูมรสุมในทุกปี การศึกษาร่วมแบบจาลองชลศาสตร์และ

แบบจาลองทางกายภาพเพื่อดาเนินงานป้องกันอาคารหลักเล็งจุด B และงานปรับปรุงและป้องกันสภาพปากแม่น้า โก-ลก

การดาเนินงานสถานีสารวจอุทกวิทยาแม่น้าโก-ลก การดาเนินงานระบบติดตามในลุ่มน้าโก-ลก การจัดทาเว็บไซต์ร่วม และ

การดาเนินงานการบริหารจัดการลุ่มน้าโก-ลก แบบบูรณาการ (IRBM)

แผนงำนในอนำคต : 1) การประชมุ คณะกรรมการดาเนินงานร่วมไทย-มาเลเซียโครงการพัฒนาล่มุ น้าโก-ลก (JSC) คร้งั ที่ 17 ณ ประเทศไทย (2564)

  1. การประชุมคณะทางานทางวิชาการร่วมไทย-มาเลเซยี ในการปรับปรงุ ปากแม่น้าโก-ลก (JTWG) ครง้ั ท่ี 38 ณ ประเทศมาเลเซยี

(2564)

  1. การประชมุ คณะทางานประเมินผลการสารวจร่วมโครงการปรับปรุงปากแม่นา้ โก-ลก (JET) ครัง้ ท่ี 36 ณ ประเทศไทย (2564)
  1. การประชุมคณะทางานประเมินผลการสารวจรว่ มโครงการปรบั ปรงุ ปากแม่น้าโก-ลก (JET) ครั้งที่ 37 ณ ประเทศมาเลเซยี

(2564)

หน่วยงำนที่เก่ยี วขอ้ ง : กรมอุทกศาสตร์กองทัพเรอื กองทัพภาคท่ี 4 กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงมหาดไทย กรมเจา้ ทา่

ผ้ปู ระสำนงำน : สานักบริหารโครงการ ส่วนโครงการเงนิ ก้แู ละกิจการตา่ งประเทศ ฝ่ายแผนงานตา่ งประเทศ

53

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผ้เู ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ 21-25 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชุม/ดำเนนิ งำน) กรมเจ้าทา่ 1. คณะทางานประเมนิ ผล 1.1 การสารวจร่วมปากแม่น้า ต.ค. 62 กรมชลประทาน 1. นายอบั ดลุ ตอเล็บ เหมเหาะ ดาเนนิ การ ไทย หวั หนา้ ฝ่ายสง่ นา้ และบารงุ รักษาที่ 3 การสารวจร่วม โก-ลก ก่อนฤดมู รสุม 26-27 กรมชลประทาน ไทย โครงการสง่ นา้ และบารุง รกั ษาล่มุ น้า - ก.พ. 63 กรมชลประทาน ไทย โก-ลก สานักชลประทานท่ี 17 - โครงการปรบั ปรุง ไทย 2. นายธวชั สนี วล - 4-5 สทนช. วิศวกรสารวจปฏบิ ตั ิการ กรมเจ้าท่า ปากแมน่ า้ โก-ลก (JET) ม.ี ค. 63 ผอช. ภาคใต้, ผคบ.โก-ลก, - 27 ธ.ค. สทนช. ผู้แทนกรมเจ้าท่า และฝ่ายเลขานุการ 1.2 การประชมุ คณะทางานเฉพาะ คณะทางาน JET กจิ (Task Force) ครง้ั ที่ 2 62 ผทว.กส. แทน รธว. เปน็ ประธาน คณะทางานฯ 2. คณะทางาน การประชมุ คณะทางานทางวิชาการ 5 ส.ค. 63 1. นายกาญจดนิ ทร์ สระประทุม ที่ ทางวชิ าการรว่ ม ร่วมไทย-มาเลเซยี (JTWG) ครง้ั ท่ี 37 ปรึกษาดา้ นต่างประเทศ สบก. 2. นายคณศิ มหิทธมิ หาวงศ์ ไทย-มาเลเซีย (JTWG) นักวเิ ทศสมั พนั ธป์ ฏิบัติการ สบก. 1. นายอัตตพนั ธ์ ดลิ กโศภณ 3. โครงการพฒั นา 3.1 การประชมุ พจิ ารณาร่าง วศิ วกรโยธาชานาญการ วค. 2/4 บก. 2. น.ส.ศริ ิพร ทวเี ดช แมน่ า้ ขา้ มพรมแดนใน ข้อเสนอโครงการ (Project วิศวกรชลประทานชานาญการ สบก. 3. น.ส.นูรยี ะห์ เข็มกลดั ล่มุ นา้ โก-ลก Enhancing Identification Form : PIF) วศิ วกรชลประทานชานาญการ สบก. 4. นายคณศิ มหิทธิมหาวงศ์ Environmental รว่ มกับหน่วยงานฝ่ายไทย นักวิเทศสมั พนั ธป์ ฏบิ ัตกิ าร สบก.

Security and 3.2 การประชมุ หารือข้อเสนอ

Transboundary (PIF) โครงการพฒั นาแม่น้าข้าม Cooperation in the พรมแดนในลุ่มน้าโก-ลก Enhancing

Golok/Kolok River Environmental Security and Basin Transboundary Cooperation

in the Golok/Kolok River

Basin

54

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกจิ กรรมท่ผี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.21 ควำมร่วมมือด้ำนกำรเกษตรไทย - รัสเซีย

ควำมเป็นมำ : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย และกระทรวงเกษตรแห่งสหพันธรัฐรัสเซีย เห็นชอบร่วมกันให้มีการประชุม คณะอนุกรรมาธิการว่าด้วยความร่วมมือทางการเกษตร ครั้งท่ี 1 ภายใต้คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคี ไทย-รสั เซยี ภายหลงั มกี ารลงนามบันทึกความเขา้ ใจวา่ ด้วยความรว่ มมอื ดา้ นการเกษตร ไทย-รัสเซยี เมอ่ื วนั ที่ 18 พฤษภาคม

2559 ณ สหพันธรัฐรสั เซยี

กรอบระยะเวลำ : เริ่มดาเนินการในปี 2555-ปัจจบุ นั

สถำนภำพปจั จบุ ัน : มีการประชุมคณะอนุกรรมาธกิ ารวา่ ด้วยความรว่ มมือทางการเกษตรแล้ว 3 ครั้ง/การประชุมคณะทางานร่วมด้านการเกษตร ไทย-รัสเซีย 1 ครั้ง

แผนงำนในอนำคต : การพจิ ารณาจัดทาบนั ทึกความเขา้ ใจด้านการเกษตร

หน่วยงำนท่ีเกี่ยวขอ้ ง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน

ผู้ประสำนงำน : สานักบริหารโครงการ ส่วนโครงการเงนิ กแู้ ละกจิ การต่างประเทศ

โครงกำร/ กำรดำเนินงำนทผ่ี ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ คณะทำงำน (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชุม/ดำเนินงำน) - 1 ต.ค. 62- บันทกึ ความเข้าใจว่า ไม่สามารถดาเนินงานตามแผนได้ 30 ก.ย. 63 - -

ดว้ ยความรว่ มมือด้าน เนื่องจากสถานการณ์ COVID-19

การเกษตรไทย-รสั เซีย

55

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมอื และกจิ กรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.22 ควำมร่วมมอื ด้ำนกำรเกษตรไทย - ลำว

ควำมเป็นมำ : ภายใตบ้ ันทึกความเข้าใจระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับกระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ ปี พ.ศ. 2556 มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและแลกเปล่ียนเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร การค้าและการฝึกอบรมทางเทคนิคและวิทยาศาสตร์ ดา้ นการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จงึ ได้จัดตงั้ คณะทางานเพอ่ื ดาเนินงานโครงการภายใต้บนั ทกึ ดงั กลา่ ว

กรอบระยะเวลำ : 5 ปี และตอ่ เนอื่ งอัตโนมตั ิทกุ 5 ปี หากไม่มีฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่งบอกยกเลิก

สถำนภำพปจั จบุ นั : มกี ารแลกเปล่ียนคณะดงู านของท้ังสองประเทศทกุ ปี

แผนงำนในอนำคต : การจัดประชุมคณะทางานรว่ มและการแลกเปล่ียนการศึกษาดงู านด้านชลประทาน

หนว่ ยงำนท่เี ก่ยี วขอ้ ง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผ้ปู ระสำนงำน : สานักบรหิ ารโครงการ ส่วนโครงการเงินกแู้ ละกจิ การต่างประเทศ

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผู้เขำ้ ร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ลาว กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) เป็นการติดตามความก้าวหน้า การประชมุ คณะทางาน การจดั ทาร่างหลักสตู ร 3-6 ก.ย. 62 กรมชลประทาน หวั หน้าคณะฝา่ ยไทย ตามผลการประชุม JAWG นายระพีภทั ร์ จันทรศรวี งศ์ ครั้งที่ 3 ร่วมด้านการเกษตร การฝึกอบรมแก่ 49,597 บาท ผู้ชว่ ยปลดั กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ ไทย-ลาว คร้งั ที่ 4 เจา้ หน้าทช่ี ลประทาน ผแู้ ทนกรมชลประทาน 1. นายรสุ สืบสหการ สปป.ลาว จานวน 2 วศิ วกรชลประทานชานาญการ 2. นายวนาณฏั ฐ์ ลีนิน หลักสูตร นักวเิ ทศสมั พันธ์ปฏิบัตกิ าร

นาส่งคมู่ ือการดาเนินงาน 1-30 ม.ิ ย. กรมชลประทาน ไทย - - ด้านการชลประทาน เช่น 63 การศกึ ษาวางโครงการ

56

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผู้เข้ำรว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) การสารวจ การออกแบบ การควบคมุ งานก่อสรา้ ง และการบริหารจัดการ น้าเพ่อื ใชแ้ ลกเปลยี่ น ความรูแ้ ละประสบการณ์ ตามผลการประชุม JAWG คร้งั ที่ 4 ผา่ นช่องทาง social media (wechat)

57

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกจิ กรรมท่ีผำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.23 ควำมรว่ มมือทำงวชิ ำกำรไทย - เวียดนำม

ควำมเปน็ มำ : ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กับกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทของเวียดนาม ลงนาม

เม่ือวันที่ 21 กรกฎาคม 2546 ณ กรุงเทพฯ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการถ่ายทอดเทคโนโลยี การค้า การฝึกอบรม และ

ความรว่ มมอื ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละวิชาการในด้านการเกษตรระหวา่ งคู่สญั ญา

กรอบระยะเวลำ : มีอายุ 5 ปี และจะตอ่ เน่อื งโดยอตั โนมตั ิคราวละ 5 ปี หากไม่มีฝา่ ยใดบอกยกเลกิ

สถำนภำพปัจจุบนั : กรมชลประทานส่งข้อเสนอโครงการ Water Forecasting and Dam Safety Management Workshop ให้ฝ่ายเวียดนาม

พิจารณา

แผนงำนในอนำคต : รอการตดิ ต่อกลับจากฝา่ ยเวยี ดนาม

หนว่ ยงำนท่ีเกยี่ วข้อง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน

ผูป้ ระสำนงำน : สานักบรหิ ารโครงการ สว่ นโครงการเงินกู้และกจิ การตา่ งประเทศ สานักบริหารจัดการน้าและอุทกวทิ ยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทผ่ี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) เวียดนาม กำรประชมุ /ดำเนินงำน) กรมชลประทาน เวยี ดนาม โครงการความรว่ มมอื 1. การประชุม JWG 9-11 1. นายธนา สุวัฑฒน - ก.ค. 61 46,049 บาท เวียดนาม ด้านการเกษตรระหว่าง คร้ังท่ี 7 ณ กรุงฮานอย ผู้อานวยการสานกั วิจยั และพฒั นา 9-11 กรมชลประทาน สาธารณรัฐสังคมนยิ ม สาธารณรัฐสงั คมนยิ ม ก.ค. 61 46,049 บาท 2. นายธเนศร์ สมบูรณ์

เวียดนาม-ไทย เวยี ดนาม กรมชลประทาน รักษาการนกั อุทกวิทยาเชี่ยวชาญ

2. กรมเสนอโครงการ 1. นายธนา สวุ ัฑฒน ไม่มีการติดต่อกลับจาก

Water Forecasting and ผ้อู านวยการสานกั วจิ ัยและพัฒนา ฝ่ายเวยี ดนาม เพื่อพิจารณา

Dam Safety Management 2. นายธเนศร์ สมบรู ณ์ รายละเอยี ดการดาเนนิ

Workshop เข้าสทู่ ่ปี ระชุม รกั ษาการนักอุทกวิทยาเชยี่ วชาญ โครงการความรว่ มมอื

JWG คร้งั ที่ 7 (แต่เสนอให้จดั ประชมุ เชิง

ปฏิบัตกิ ารในหวั ข้อ 1.3 แทน)

3. เวยี ดนามเสนอให้จดั 1 ต.ค. 62- - ไม่สามารถดาเนนิ โครงการ ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร 30 ก.ย. 63 ทเี่ สนอรว่ มกัน เนื่องจาก

58

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทผ่ี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผู้เข้ำรว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชมุ /ดำเนินงำน) เรือ่ ง Water Forecasting ทั้งสองฝ่ายมีข้อขดั ข้อง for Water Use Planning ดา้ นงบประมาณ และเกดิ and Drought Response การแพรร่ ะบาดของ in the Central and COVID-19 Central Highland of Vietnam ณ สาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม

59

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกจิ กรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.24 ควำมร่วมมือดำ้ นกำรเกษตรไทย - อนิ โดนีเซยี

ควำมเปน็ มำ : ภายใต้บันทึกความเข้าใจระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กับกระทรวงเกษตรแห่งอินโดนีเซีย เม่ือปี 2548 มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือและแลกเปล่ียนเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสาร การค้าและการฝึกอบรมทางเทคนิค และวิทยาศาสตร์ด้านการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้จัดต้ังคณะทางานเพื่อดาเนินงานโครงการภายใต้ บนั ทกึ ดังกลา่ ว

กรอบระยะเวลำ : 5 ปี และต่อเน่ืองอตั โนมัตทิ กุ 5 ปี หากไมม่ ฝี ่ายใดฝ่ายหนึ่งบอกยกเลิก

สถำนภำพปัจจบุ ัน : มีการแลกเปลีย่ นคณะดงู านของทงั้ สองประเทศทุกปี

แผนงำนในอนำคต : การจัดประชุมคณะทางานร่วมดา้ นการเกษตร และการแลกเปล่ียนการศึกษาดูงานดา้ นชลประทาน

หน่วยงำนท่ีเกย่ี วข้อง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กรมชลประทาน

ผู้ประสำนงำน : สานักบริหารโครงการ สว่ นโครงการเงินกู้และกจิ การต่างประเทศ

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผ้เู ขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ / - 1. บันทึกความเข้าใจ ไม่สามารถดาเนินงาน 1 ต.ค. 62- ดำเนนิ งำน) ระหว่างกระทรวง ตามแผนไดเ้ นื่องจาก 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน เกษตรและสหกรณก์ ับ สถานการณ์ Covid-19 - กระทรวงเกษตรแหง่ อนิ โดนีเซีย

60

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทผ่ี ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผ้เู ขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ / 2. โครงการแลกเปลยี่ น 1. ส่งขอ้ เสนอโครงการ 1 ต.ค. 62- ดำเนนิ งำน) ความเป็นมา ผกั ตบชวาทาให้เกดิ 30 ก.ย. 63 - การสูญเสียนา้ และขัดขวางการ สานักวิจยั และพฒั นา เดินทางของนา้ สง่ ผลให้เกิดความ ความรเู้ รอื่ งการบริหาร แลกเปลีย่ นความรเู้ รื่อง และผเู้ กย่ี วข้อง เสยี หายในการจดั การน้าในระบบ ชลประทาน ซงึ่ ผักตบชวามีตน้ กาเนดิ จดั การควบคุมวัชพืชใน การบรหิ ารจัดการ ทป่ี ระเทศอนิ โดนเี ซยี โดยประเทศ อนิ โดนเี ซียเป็นประเทศทมี่ คี วาม เขตชลประทาน ควบคุมวัชพืชในเขต เช่ียวชาญในการควบคุมปญั หา ดังกลา่ ว ทั้งเชงิ วทิ ยาศาสตร์และ กรณีศึกษาผกั ตบชวา ชลประทาน กรณีศึกษา วิศวกรรมศาสตร์ จึงเป็นโอกาสทด่ี ี สาหรับการเรมิ่ ต้นในการศึกษา วิจยั วตั ถปุ ระสงค์ ผกั ตบชวา การบริหาร แนวทางการจดั การผักตบชวาอยา่ ง ยง่ั ยนื 1. เพอื่ ศึกษา วิจยั จัดการควบคมุ วชั พชื ใน แผนงานในอนาคต รว่ มศกึ ษา วิจัย การบริหารจัดการควบคุมวชั พชื ใน แนวทางการควบคุม เขตชลประทาน เขตชลประทาน กรณีศึกษา ผักตบชวา ผกั ตบชวาในเขต กรณศี ึกษาผักตบชวา

ชลประทานของ

อินโดนีเซยี

2. เพ่อื พฒั นารูปแบบ

การควบคุมผักตบชวา

ทเ่ี หมาะสมกับพื้นท่ี

ชลประทานของ

ประเทศไทย

3. เพื่อพฒั นาคู่มือ

สาหรบั แนวทางการ

บรหิ ารจดั การ

ผักตบชวาอย่างมีสว่ น

รว่ มของประชาชน

หนว่ ยงานหลกั

สานักบรหิ ารโครงการ

สานกั วจิ ยั และพฒั นา

61

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกิจกรรมที่ผ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.25 ควำมรว่ มมอื ดำ้ นกำรเกษตรไทย - อสิ รำเอล

ควำมเป็นมำ : 1. สืบเนือ่ งจากการเดนิ ทางไปลงนามความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย และรัฐบาลแห่งรัฐอิสราเอล ว่าด้วย

ความรว่ มมอื ดา้ นการเกษตร (ลงนามเมื่อวนั ที่ 18 กรกฎาคม 2560) และแลกเปลี่ยนองคค์ วามรู้ด้านเทคโนโลยีการเกษตร

ระบบชลประทานและการบริหารจัดการน้าของ พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ (รมว.กษ. ในขณะน้ัน) ระหว่างวันท่ี 17-21

กรกฎาคม 2560 โดยความตกลงดังกล่าวมีสาขาความร่วมมือด้านการชลประทาน คือ การพัฒนาด้านชลประทาน ที่ดิน และการบริหารจัดการน้า ท้ังน้ี ฝ่ายอิสราเอลขอให้ฝ่ายไทยจัดส่งข้อเสนอโครงการ (proposal) ที่สนใจจะมีความร่วมมือ

ซึ่งกรมชลประทานได้ส่งข้อเสนอโครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการเกษตรและการใช้น้าในพ้ืนที่ชลประทาน อ่างเก็บน้า

หว้ ยประดู่ โครงการชลประทานมหาสารคาม จงั หวัดมหาสารคาม

2. นายถิระศักดิ์ ทองศิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านสารวจและหรือออกแบบ) เป็นผู้แทนกรมชลประทานเข้าร่วม งาน Agritech Israel 2018-the 20th International Agricultural Technology Exhibition and Conference ณ กรุงเทลอาวีฟ รัฐอิสราเอล พร้อมทั้งประชุมหารือเร่ืองการแลกเปลี่ยนการฝึกอบรมให้แก่เกษตรกร และการจัดทา

ความร่วมมือด้านเทคนิคแก่ประเทศกาลังพัฒนากับกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทแห่งอิสราเอล ณ กรุงเทลอาวีฟ

รัฐอสิ ราเอล ระหว่างวันท่ี 6-12 พฤษภาคม 2561 3. การประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 19 มิถุนายน 2561 นายกรัฐมนตรีมีข้อส่ังการให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็น

หน่วยงานหลัก ศึกษาและพัฒนาความร่วมมือด้านนวัตกรรมและวิจัยกับประเทศท่ีมีศักยภาพในด้านการบริหารจัดการ

ทรัพยากรน้าและการทาเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น รัฐอิสราเอล ซ่ึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มอบหมายกรม

ชลประทานดาเนินการ 4. กรมชลประทานได้แต่งตั้งคณะทางานดาเนินโครงการความร่วมมือกับต่างประเทศความร่วมมือไทย-อิสราเอล (ด้าน

เทคโนโลยีประหยัดน้า/การชลประทาน) โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิด้านวิศวกรรมโยธา (ด้านสารวจหรือออกแบบ) เป็นประธาน

คณะทางาน ตามคาสั่งกรมชลประทาน ท่ี ข. 1530/2561 ลงวันท่ี 12 ตุลาคม 2561 เร่ือง แต่งต้ังคณะทางานดาเนินงาน

โครงการความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ 5. กรมชลประทานได้อนุมัติโครงการแปลงนวัตกรรมโดยการนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการบริหารจัดการน้าเพื่อเพ่ิม

ประสิทธภิ าพการเกษตรและการใช้น้าในพน้ื ทชี่ ลประทาน ภายใต้โครงการความรว่ มมอื ด้นวชิ าการไทย-อสิ ราเอล

กรอบระยะเวลำ : ปี พ.ศ.2563-2565

62

สถำนภำพปัจจบุ ัน : คณะทางานได้ลงพื้นที่ทาการเก็บข้อมูล ศึกษาปัญหา อุปสรรค ความต้องการเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพของระบบชลประทาน ของพื้นที่สถานีทดลองการใชน้ ้าชลประทานท้งั 2 แห่ง (สถานีทดลองการใช้นา้ ชลประทานท่ี 2 (พษิ ณุโลก) และสถานีทดลอง แผนงำนในอนำคต : การใชน้ ้าชลประทานท่ี 5 (แม่กลองใหญ่) กรมได้อนุมัติให้ดาเนินการสารวจจัดทาแผนที่โครงการและก่อสร้างบ่อพักน้าและ จัดทารายงานวางโครงการเบื้องต้นของสถานีการใช้น้าชลประทานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการออกแบบปรับปรุงระบบสูบน้า หนว่ ยงำนทเี่ กีย่ วข้อง : ระบบสง่ นา้ และระบบกระจายน้าเพอื่ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มรองรบั แปลงนวัตกรรมท่ีใชใ้ นการดาเนินโครงการ ผปู้ ระสำนงำน : การประชุมแลกเปล่ียนศึกษาดูงาน เพ่ือนาองค์ความรู้เทคโนโลยี และนวัตกรรมมาปรับใช้ในการพัฒนาแนวทางการบริหาร โครงกำร/คณะทำงำน จัดการทรัพยากรน้า เช่น การลดความต้องการน้าโดยการใช้น้าอย่างประหยัดและลดการสูญเสียน้า และเพ่ือถ่ายทอด คณะทางานความรว่ มมือ องค์ความรแู้ ละเทคโนโลยกี ารผลติ สินค้าเกษตรแกเ่ กษตรกร ไทย-อสิ ราเอล กรมชลประทาน สานกั การเกษตรต่างประเทศ

สานกั บรหิ ารโครงการ ส่วนโครงการเงินกแู้ ละกจิ การตา่ งประเทศ ฝา่ ยบรหิ ารโครงการตา่ งประเทศ

กำรดำเนนิ งำนทผ่ี ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผูเ้ ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ 9 ม.ค. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) - 1. การเก็บข้อมลู ศึกษาปัญหา กรมชลประทาน และอปุ สรรคของระบบ 19-21 ไทย นายถิระศักดิ์ ทองศิริ - ชลประทานของพ้ืนทส่ี ถานี ส.ค. 63 กรมชลประทาน ผทู้ รงคณุ วฒุ ดิ ้านวศิ วกรรมโยธา ทดลองการใชน้ า้ ชลประทาน (ด้านสารวจและหรือออกแบบ) ท่ี 2 (แมก่ ลองใหญ่) และเจา้ หนา้ ทีฝ่ า่ ยบริหาร จ.นครปฐม โครงการตา่ งประเทศ สว่ นโครงการเงนิ กู้และกจิ การ 2. การเกบ็ ข้อมลู ศึกษาปัญหา ต่างประเทศ สานกั บรหิ าร และอปุ สรรคของระบบ โครงการ ชลประทานของพน้ื ที่สถานี ทดลองการใชน้ ้าชลประทาน นายถริ ะศักดิ์ ทองศริ ิ ที่ 5 จ.พษิ ณโุ ลก ผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านวิศวกรรมโยธา (ดา้ นสารวจและหรือออกแบบ) และเจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยบริหาร โครงการตา่ งประเทศ สว่ นโครงการเงนิ ก้แู ละกิจการ

63

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนท่ีผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผ้เู ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ 2. กิจกรรมภายใต้โครงการ 15 ก.ย. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนินงำน) 3. การประชมุ คณะทางาน กรมชลประทาน รว่ มด้านการเกษตรไทย- 30 ก.ย. 63 ไทย ต่างประเทศ สานักบริหาร อสิ ราเอล ครัง้ ท่ี 1/2563 กรมชลประทาน 9 ม.ค.- ไทย โครงการ 4. การประชุมคณะทางาน 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน ความร่วมมือไทย-อสิ ราเอล 1. นายถริ ะศักด์ิ ทองศิริ พจิ ารณาวางแนวทาง คร้งั ท่ี 2/2563 ผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านวิศวกรรมโยธา ดาเนินงานทา 1. การประชมุ สารวจพน้ื ท่ี ภายในสถานแี ละจัดทาแผนที่ (ด้านสารวจและหรือออกแบบ) ความรว่ มมือไทย- สถานีใหม่ 2. ประชุมเพื่อพิจารณาหารอื 2. นายอัคราวฒุ ิ อินทรพาณิชย์ อิสราเอล ทบทวน และวางแผนดาเนนิ การ ในโครงการประจาปี 2564 บตบก.

3. น.ส.ศริ ิพร ทวเี ดช

วิศวกรชลประทานชานาญการ

1. นายถริ ะศักด์ิ ทองศริ ิ -

ผทู้ รงคุณวฒุ ดิ า้ นวิศวกรรมโยธา

(ด้านสารวจและหรือออกแบบ)

2. นายอัคราวฒุ ิ อนิ ทรพาณิชย์

บตบก.

3. น.ส.ศิริพร ทวีเดช

วิศวกรชลประทานชานาญการ

สานักบริหารโครงการและ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื

ผู้เกย่ี วขอ้ ง ศึกษาและพัฒนา

ความร่วมมือดา้ น

นวัตกรรมและวิจัย

กับอิสราเอลในดา้ น

การบรหิ ารจัดการ

ทรพั ยากรน้าและ

ทาการเกษตรอย่าง

มีประสิทธิภาพ

64

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนทผ่ี ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผเู้ ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ 3. ด้านเทคโนโลยีประหยัดน้า (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนินงำน) - 1. ประชุมสารวจพนื้ ทภี่ ายใน 19 ส.ค.- สถานีทดลองการใชน้ า้ 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน สานกั บรหิ ารโครงการและ ชลประทานที่ 2 จ.พษิ ณโุ ลก ผ้เู กีย่ วขอ้ ง 2. สารวจทาแผนท่โี ครงการ ภายในสถานีฯ โดยสานกั สารวจ ด้านวิศวกรรมและธรณวี ิทยา 3. ประชุมเพ่ือพจิ ารณาหารือ ทบทวนและวางแผนดาเนินการ ในโครงการประจาปี 2564

65

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมอื และกจิ กรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.26 ควำมรว่ มมอื ทำงวิชำกำรไทย - ออสเตรเลีย

ควำมเป็นมำ : เป็นเวทีการประชุมที่มีการหารือเก่ียวกับนโยบาย เศรษฐกิจและการค้าด้านการเกษตร รวมท้ังท่าทีในเวทีนานาชาติ

ความร่วมมือด้านวิชาการและประเด็นอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก ประเด็นในการประชุมคณะผู้เช่ียวชาญด้านสุขอนามัยและ

สุขอนามัยพืชและมาตรฐานอาหาร ท้ังน้ี ในความตกลงการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย ได้กาหนดให้การประชุมคณะทางาน

ความร่วมมือด้านการเกษตรไทย-ออสเตรเลีย ประชุมต่อเนื่องกับการประชุมคณะผู้เช่ียวชาญด้านสุขอนามัยฯ โดยให้

คณะผู้เชีย่ วชาญด้านสุขอนามยั ฯ นาผลการประชมุ รายงานตอ่ คณะทางานรว่ มในการประชมุ JWG

กรอบระยะเวลำ : เรมิ่ ดาเนนิ การในปี 2553-ปัจจบุ ัน

สถำนภำพปจั จุบนั : ได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมคณะทางานร่วมด้านการเกษตรไทย-ออสเตรเลีย ครั้งท่ี 20 ณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เมอ่ื วนั ท่ี 17 กันยายน 2563

แผนงำนในอนำคต : Department of Agriculture and Water Resources เครือรัฐออสเตรเลีย จะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม JWG

on Agriculture คร้งั ท่ี 21 ช่วงเดือนกันยายน 2564 ณ ประเทศไทย

หน่วยงำนทเี่ กีย่ วขอ้ ง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผปู้ ระสำนงำน : สานักบริหารโครงการ ส่วนโครงการเงินกู้และกิจการต่างประเทศ

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนทผ่ี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหน้ำคณะผ้เู ข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชมุ /ดำเนินงำน) โครงการความรว่ มมอื ประชมุ หารือเกี่ยวกับการ ทางวิชาการ 1. การประชุมเตรียมการ 29 เม.ย. 63 - ไทย คณะทางานร่วมดา้ นการเกษตร ประยกุ ต์ใช้ Water ไทย-ออสเตรเลยี Requesting and Sharing คณะทางานย่อย ไทย-ออสเตรเลีย, และการเตรยี มการการ จดั ทา Workshop ไทย-ออสเตรเลยี Mr.Geogre Warne, หารอื แนวทางการดาเนนิ การ ผ่านระบบออนไลน์ Senior Consultant, AWP, ความร่วมมอื ระหวา่ ง ไทย-ออสเตรเลียและ Mr. Rob Rendell,

Senior Fellow, AWP

2. การประชุมเตรยี มการ 15 ก.ย. 63 - ไทย 1. นายสัญญา แสงพุ่มพงษ์

คณะทางานรว่ ม ผทว.บร.

ด้านการเกษตร 2. ดร.ธเนศร์ สมบูรณ์

66

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนท่ผี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผ้เู ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ ออสเตรเลยี -ไทย 17 ก.ย. 63 (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) ครัง้ ท่ี 20 ผชช.อท.1 เตรียมข้อมลู สาหรับ 3. การประชมุ คณะทางาน ร่วมดา้ นการเกษตร 3. นายอัคราวุฒิ อนิ ทรพาณิชย์ การนาเสนอในการประชุม ออสเตรเลยี -ไทย ครั้งท่ี 20 ณ กระทรวงเกษตรและ ผงต.บก. และคณะทางาน JWG ครงั้ ท่ี 20 สหกรณ์ กรงุ เทพฯ ผ่าน ระบบออนไลน์ โครงการประยุกต์ใชแ้ นวทาง

Water Requesting and

Sharing เจา้ หน้าท่สี ถานทตู

ออสเตรเลยี ประจาประเทศไทย

และผ้เู ช่ยี วชาญด้านนา้ จาก AWP

ออสเตรเลยี (ระบบออนไลน์)

- ไทย หวั หน้าคณะผแู้ ทนไทย ผแู้ ทนกรม นาเสนอ

นายพศิ าล พงศาพิชณ์ ความก้าวหนา้ โครงการ

รองปลดั กษ. Applying Water Ordering

หัวหน้าทมี ฝา่ ยออสเตรเลยี System on Irrigation

Mr. Chris Tinning, Water Management in

First Assistant Secretary, Chao Phraya River Basin,

Trade and Market Access Thailand พื้นท่นี าร่อง

Division, DAWR . (คลอง9 ซ้าย-1ขวา) ของ

ผแู้ ทนกรมชลประทาน โครงการส่งนา้ ฯ ชัณสูตร

1. นายสญั ญา แสงพุ่มพงษ์ จ.สิงห์บุรี สชป.12 และ

ผทว.บร. กาหนดการจดั ประชุม

2. ดร.ธเนศร์ สมบูรณ์ และดูงาน ระหวา่ งวันที่

ผชช.อท.1 29-30 ต.ค. 63 ณ สชป.12

3. นายอคั ราวฒุ ิ อนิ ทรพาณชิ ย์

ผงต.บก.

67

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกจิ กรรมทผี่ ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.27 ควำมร่วมมือทำงวชิ ำกำรไทย - ฮงั กำรี

ควำมเป็นมำ : เป็นโครงการความร่วมมือภายใต้ความตกลง (Agreement) ว่าด้วยความร่วมมือด้านการเกษตรระหว่างกระทรวงเกษตร และสหกรณ์แห่งราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงเกษตรและพัฒนาชนบทแห่งฮังการี ลงนามเม่ือปี พ.ศ.2543 ณ ราอาณาจักรไทย โดยกรอบความร่วมมอื มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อส่งเสริมวิชาการ วิทยาศาสตร์ และความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ระหวา่ งสองประเทศในด้านการเกษตร

กรอบระยะเวลำ : 3 ปี ตอ่ เนอื่ งทกุ ๆ 2 ปี หากไมม่ ฝี ่ายใดฝ่ายหนง่ึ บอกยกเลกิ

สถำนภำพปจั จบุ ัน : กรมชลประทานได้จัดการประชุมคณะทางานความร่วมมือไทย-ฮังการี เม่ือวันที่ 9 มีนาคม 2563 เพ่ือรายงานสถานการณ์ ดาเนินการ และแผนการดาเนินงานให้คณะทางานฯ รับทราบ รวมถึงเพื่อพิจารณาประเด็นอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ท้ังน้ี เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมสาหรับการประชุมคณะทางานร่วมด้านการเกษตร (Joint Agricultural Working Group: JAWG) ไทย-ฮงั การี ครัง้ ที่ 8 ซึง่ ประเทศไทยโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มกี าหนดเปน็ เจ้าภาพในปี 2564

แผนงำนในอนำคต : 1. ติดตามและประสานงานเพ่ือดาเนินการตามขอ้ เสนอโครงการ 2. ในปี 2564 ฝ่ายไทยโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มกี าหนดเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะทางานร่วมด้านการเกษตร

ไทย-ฮงั การี ครั้งท่ี 8 ณ ประเทศไทย

หน่วยงำนท่ีเกย่ี วขอ้ ง : กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผู้ประสำนงำน : สานกั บรหิ ารโครงการ สว่ นโครงการเงนิ กู้และกจิ การตา่ งประเทศ

โครงกำร/ กำรดำเนินงำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเ (หวั หนำ้ คณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ คณะทำงำน ที่ผ่ำนมำ (กรม/กระทรวง) ทศ กำรประชุม/ดำเนินงำน)

1. กำรประชุม การประชมุ คณะทางานความรว่ มมอื 9 ม.ี ค. 63 กรมชลประทาน ไทย 1. นายทวศี ักด์ิ ธนเดโชพล สรุปผลการประชุมฯ

คณะทำงำนรว่ ม ไทย-ฮงั การี รธบ. ในฐานะประธานคณะทางาน รายละเอียดตาม

ว่ำด้วยควำมรว่ มมอื สรปุ มตทิ ีป่ ระชุมฯ ดังนี้ ความรว่ มมือไทย-ฮงั การี QR CODE ที่ปรากฏ

ด้ำนกำรเกษตร 1. เปล่ียนประเด็นหลักของความร่วมมือ 2. นายสุรชาติ มาลาศรี ผส.บก. ด้านล่าง

เปน็ เร่อื งคุณภาพนา้ 3. นายธรี ะพล ตั๊งสมบุญ ผส.บอ.

วัตถปุ ระสงค์ 2. มอบหมาย สวพ. และ สบอ. เป็น 4. นายธนา สวุ ฑั ฒน ผส.วพ.

เพ่ือติดตามผลและ ผจู้ ัดทาข้อมลู และนาส่งให้ สบก. ภายใน 5. นายชมุ ลาภ เตชะเสน

68

โครงกำร/ กำรดำเนินงำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเ (หวั หนำ้ คณะผู้เขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ คณะทำงำน ท่ผี ่ำนมำ (กรม/กระทรวง) ทศ กำรประชุม/ดำเนนิ งำน) 69

ความก้าวหน้าการ เดือนเม.ย. 63 ผชช.ผค.4

ดาเนินโครงการตาม 3. มอบหมายฝ่ายเลขานุการประสานฝ่าย 6. นายสันติ เตม็ เอ่ยี ม ผจน.บอ.

ขอ้ เสนอทผ่ี ่านมา ฮังการี ดังน้ี 7. นายพรมงคล ชิดชอบ

และเพ่ือพิจารณาข้อ 3.1 เล่ือนการเดินทางไปหารือในรายละเอียด ผวค.1 บก.

ใหม่โครงการใหม่ ๆ อันเน่ืองมาจากสถานการณ์การแพร่ 8. น.ส.สกุนตลา สขุ พานิช

ระบาดของเชื้อไวรสั COVID-19 มต.บก.

3.2 ฝ่ายไทยจะส่งข้อมูลโครงการให้ 9. นายชวกร ร้ิวตระกูลไพบลู ย์

ฝ่ายฮังการี ภายในเดือนเม.ย. 63 วป.วพ.

3.3 ฝ่ายไทยยินดีให้การรับรองคณะฮังการี 10. นายกาญจดินทร์ สระประทุม

ในช่วงครึง่ หลงั ของ ปี 2563 ทปี่ รกึ ษาด้านตา่ งประเทศ สบก.

4. มอบหมาย สวพ. สบอ. สบก. และ 11. นายนพดล โคว้ สวุ รรณ์

ฝ่ายเลขานุการเป็นองค์ประกอบคณะ วิศวกรชลประทานชานาญการ

เดินทางไปหารือในรายละเอยี ด สพช.

5. มอบหมาย สพช. ส่งข้อมูลโครงการ 12. น.ส.วรณนั โนราช

Thai Rice NAMA ให้กับ สวพ. เพื่อจัดทา วศิ วกรชลประทานปฏิบตั ิการ

ประเด็นสาหรบั หยิบยกขน้ึ หารือ สบอ.

6. สาหรับบทบาทและท่าทีของผู้แทน 13. นายพรี วัส พ่งึ พาพัฒน์

กรมฯ ภายใต้การดาเนินงานความร่วมมือ วศิ วกรโยธาปฏบิ ตั ิการ สวพ.

กับฮังการีของ สทนช. น้ัน ให้พิจารณาว่า 14. น.ส.กรปวีณ์ แพทยด์ ี

หากมีประเด็นที่เก่ียวข้องด้านชลประทาน นกั วิเทศสมั พนั ธ์ปฏบิ ัติการ

ให้ผู้แทนกรมฯ รับประเด็นมาเพ่ือเสนอ สบก.

กรมฯ พิจารณามอบหมายสานัก/กองที่ 15. น.ส.ชุตินนั ท์ อยู่พิทักษ์

เก่ยี วข้องดาเนนิ การต่อไป นกั วิเทศสัมพันธ์ปฏบิ ัตกิ าร

ทงั้ น้ี ได้ดาเนนิ แล้วเสร็จตามมติทป่ี ระชุมฯ สบก.

เรยี บรอ้ ยแล้ว

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกจิ กรรมทีผ่ ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.28 ควำมร่วมมอื ด้ำนกำรบรหิ ำรจดั กำรทรัพยำกรน้ำไทย - ฮังกำรี (สทนช.)

ควำมเปน็ มำ : สานักงานทรัพยากรน้าแห่งชาติ (สทนช.) ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจ (Memorandum of Understanding: MOU) ว่าด้วยความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าระหว่าง สทนช. แห่งราชอาณาจักรไทยและกระทรวงมหาดไทย ฮังการี เม่ือวันอังคารที่ 15 ตุลาคม 2562 ณ กรุงบูดาเปส ประเทศฮังการี และภายหลังการลงนามได้มีการจัด คณะกรรมการดาเนินงานร่วมว่าด้วยความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าฝ่ายไทยและฝ่ายฮังการี โดยมีผู้แทน กรมชลประทาน (นายสรุ ชาติ มาลาศรี ผส.บก.) เป็นองค์ประกอบคณะกรรมการ ทั้งน้ี ช่องทางความร่วมมือดังกล่าวจะเป็น อกี ช่องทางหน่ึงในการเสนอโครงการความรว่ มมอื ท่ีสนใจจะมคี วามร่วมมือกับฮังการี ผา่ นกลไกคณะกรรมการดาเนินงานร่วม (Joint Steering Committee: JSC) ว่าด้วยความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าไทย-ฮังการีของท้ังสองฝ่าย ซ่งึ จะมกี ารประชมุ รว่ มกันทุกปโี ดยสลบั กนั เปน็ เจา้ ภาพ

กรอบระยะเวลำ : จัดการประชุม JSC ว่าด้วยความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าไทย-ฮังการีรว่ มกันทุกปี โดยสลบั กันเปน็ เจา้ ภาพ

สถำนภำพปัจจุบนั : นายสุรชาติ มาลาศรี ผส.บก. ในฐานะกรรมการ JSC ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าไทย-ฮังการี (ฝ่ายไทย) ผู้แทนหลัก กรมชลประทาน พร้อมด้วยเจ้าหน้าท่ีกรมชลประทาน เข้าร่วมการประชุมเตรียมการด้านสารัตถะสาหรับการประชุม JSC ว่าด้วยความร่วมมือด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้าไทย-ฮังการี เม่ือวันท่ี 19 ตุลาคม 2563 และการประชุม JSC คร้ังที่ 1 (ผ่านระบบ Video Conference) เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2563 ณ สทนช. โดยกรมชลประทาน โดยฝ่ายตะกอนและคุณภาพน้า สบอ. ไดเ้ สนอหัวข้อที่สนใจมีความร่วมมือหัวข้อ “Sediment management for prevention and mitigation of water pollution in reservoirs and irrigation ways from flood and drought due to climate change” ภายใต้หัวข้อหลัก (theme) Protection and preservation of the quality of water resources ซึ่งมีแผนดาเนินงานในปี 2565 (ค.ศ. 2020) ณ ประเทศฮังการี ทั้งนี้ ฝ่ายฮังการีได้ตอบรับข้อเสนอดังกล่าวแล้ว และจะดาเนินการจัดหาหน่วยงานคู่ภาคีและเสนอชื่อ ผปู้ ระสานงานระหวา่ งกนั เพอื่ ดาเนนิ การโครงการรว่ มกันต่อไป

แผนงำนในอนำคต : เข้าร่วมการประชุม JSC คร้ังท่ี 2 ในปี 2564 ท้ังนี้ กิจกรรมและรูปแบบการประชุมฯ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) และมาตรการการควบคุมการแพร่ระบาดของท้งั สองประเทศ

หนว่ ยงำนทเ่ี ก่ียวขอ้ ง : สานกั งานทรพั ยากรนา้ แห่งชาติ กรมยุโรป กรมชลประทาน กรมควบคุมมลพษิ กรมทรัพยากรน้าบาดาล และองคก์ ารจดั การนา้ เสีย

ผูป้ ระสำนงำน : สานกั งานทรัพยากรน้าแห่งชาติ

70

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำน ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผู้เขำ้ ร่วม หมำยเหตุ ทผ่ี ำ่ นมำ (กรม/กระทรวง) สทนช./ กำรประชมุ /ดำเนินงำน) กรม ควำมร่วมมือด้ำนกำร 1. การประชุม 19 มี.ค. 63 ไทย ชลประทาน ประธานการประชุมฯ ประธานการประชุมฯ ขอข้อมูล

บริหำรจัดกำรทรัพยำกร คณะกรรมการ สทนช./ นายสมเกยี รต์ิ ประจาวงษ์ เพิ่มเติมจากรมเกีย่ วกับเทคโนโลยี กรม นำ้ ไทย-ฮงั กำรี (สทนช.) ดาเนนิ งานรว่ ม ชลประทาน เลขาธิการ สทนช. เก่ียวกับเรือ/รถดูดเลนเพื่อขุด

ว่าดว้ ยความรว่ มมอื ลอกคลองหรืออ่างเก็บน้า รวมถึง

ด้านการบริหาร ผูแ้ ทนกรมชลประทาน ความต้องการท่ีจะมีความร่วมมือ

จัดการทรัพยากรนา้ 1. นายกาญจดนิ ทร์ สระประทุม กับกระทรวงมหาดไทยฮังการี

ไทย-ฮังการี ทปี่ รึกษาดา้ นต่างประเทศ สบก. โดยได้นาส่งข้อมูลเรือดูดเลย

2. น.ส.กรปวณี ์ แพทยด์ ี (จดั ทาโดยสคก.)ให้ สทนช. แล้ว

นกั วเิ ทศสัมพนั ธ์ปฏบิ ัติการ สบก.

2. การประชุมเตรยี มการ 19 ต.ค. 63 ไทย ประธานการประชุมฯ กรมชลประทานโดยฝ่ายตะกอน ดา้ นสารตั ถะสาหรบั การประชุม นายสมเกียรต์ิ ประจาวงษ์ และคุณภาพน้า สบอ. ได้เสนอ คณะกรรมการ ดาเนนิ งานรว่ มวา่ ดว้ ย เลขาธกิ าร สทนช. หั ว ข้ อ ที่ ส น ใ จ มี ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ความร่วมมอื ด้านการ บริหารจัดการทรัพยากร หัวข้อ “Sediment management น้าไทย-ฮงั การี ผู้แทนกรมชลประทาน for prevention and mitigation

1. นายสรุ ชาติ มาลาศรี ผส.บก. of water pollution in reservoirs

2. นายอคั ราวฒุ ิ อินทรพาณิชย์ and irrigation ways from

ผงต.บก. flood and drought due to

3. นายกาญจดนิ ทร์ สระประทุม climate change” ภายใต้

ที่ปรกึ ษาด้านตา่ งประเทศ สบก. หั ว ข้ อ ห ลั ก ( theme)

4. นายวทิ ยา เทียมสขุ Protection and preservation

นักอทุ กวิทยาปฏบิ ัตกิ าร สบอ. of the quality of water

5. น.ส.กรปวีณ์ แพทยด์ ี resources ซงึ่ มแี ผนดาเนินงาน

นกั วเิ ทศสัมพันธป์ ฏบิ ัตกิ าร สบก. ใ น ปี 2 5 6 5 ( ค . ศ . 2 0 2 0 )

ณ ประเทศฮงั การี

71

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผ้เู ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ ผำ่ นมำ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) สทนช./ 3. การประชมุ 27 ต.ค. 63 ไทย กรม ประธานรว่ มการประชมุ ฯ ฝ่ายฮังการีได้ตอบรับข้อเสนอ ชลประทาน คณะกรรมการ (Online) 1. นายสมเกยี รต์ิ ประจาวงษ์ หัวข้อความร่วมมือที่กรมเสนอ

ดาเนินงานรว่ มว่าดว้ ย เลขาธิการ สทนช. (ฝ่ายไทย) แล้ว และจะดาเนินการจัดหา

ความรว่ มมอื ด้านการ 2. Mr.Peter Kovacs หน่วยงานคู่ภาคี และเสนอช่ือผู้

บรหิ ารจดั การ Head of Department, ประสานงานระหว่างกันเพ่ือ

ทรัพยากรน้า Ministry of Interior (ฝ่าย ดาเนินการโครงการร่วมกัน

ไทย-ฮังการี ครง้ั ท่ี 1 ฮังการี) ต่อไป ทง้ั นี้ สว่ นโครงการเงินกู้ฯ

(ผา่ นระบบ Video สบก. ได้มีบันทึกแจ้งไปยัง

Conference) ผแู้ ทนกรมชลประทาน สบอ. เพ่ือพิจารณาจัดทาข้อมูล

1. นายสรุ ชาติ มาลาศรี ผส.บก. ตอ่ ไปดว้ ยแลว้

2. นายอคั ราวุฒิ อนิ ทรพาณิชย์

ผงต.บก.

3. นายกาญจดินทร์ สระประทุม

ทปี่ รึกษาด้านต่างประเทศ สบก.

4. นางสาวอารรี ัตน์ อนชุ น

ตค.บอ.

5. นายวทิ ยา เทียมสขุ

นักอุทกวิทยาปฏิบัตกิ าร สบอ.

6. นางสาวกรปวณี ์ แพทย์ดี

นักวเิ ทศสมั พนั ธป์ ฏิบัตกิ าร สบก.

72

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกิจกรรมทผ่ี ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.29 กำรประชุมกลมุ่ ผเู้ ชี่ยวชำญของสหประชำชำติด้ำนชอ่ื ภมู ิศำสตร์ (United Nations Group of Experts on Geographical

Names : UNGEGN)

ควำมเป็นมำ : การประชุมกลุ่มผู้เช่ียวชาญของสหประชาชาติด้านช่ือภูมิศาสตร์ (United Nations Group of Experts on geographical Names : UNGEGN) เป็นคณะทางานกลุ่มย่อยของการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการวางมาตรฐานช่ือภูมิศาสตร์เน้น ความสาคัญต่องานสนับสนุนกิจกรรมของสหประชาชาติในเร่ืองการจัดทามาตรฐานช่ือภูมิศาสตร์ และให้สนับสนุนสมาชิก ในด้านภูมิสารสนเทศ และด้านการทาแผนท่ี การดาเนินการในประเทศไทย ได้ขออนุมัติจัดต้ังประกอบด้วยหน่วยงานที่เก่ียวข้อง 20 หน่วยงาน มีกรมแผนท่ีทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ในฐานะสมาชิกสมาคม UNGEGN ในนาม ประเทศไทย เป็นหน่วยงานหลักในการประชุม และแจ้งข่าวสารการประชุมให้หน่วยงานที่เก่ียวข้องด้านการทาแผนที่ และ กรมชลประทานได้ร่วมเป็นคณะกรรมการ มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการด้านช่ือภูมิศาสตร์ของประเทศให้มีมาตรฐาน และ เป็นไปตามหลกั เกณฑข์ องสหประชาชาติ โดยมีอานาจในการพิจารณา และกาหนดมาตรฐานชื่อภูมิศาสตร์ให้เป็นมาตรฐาน เดยี วกันทัง้ ภายในประเทศ และระหวา่ งประเทศ

กรอบระยะเวลำ : การประชมุ กาหนดจดั ข้ึนทกุ ปี สถำนภำพปัจจุบนั : การประชุม 1st Session of the United Nations Group of Experts on Geographical Names 29 เมษายน-3 พฤษภาคม 2562 ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรฐั อเมรกิ า แผนงำนในอนำคต : การประชุม 2nd Session of the United Nations Group of Experts on Geographical Names จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 3-7 พฤษภาคม 2564 ณ นครนิวยอรก์ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า

หน่วยงำนทีเ่ ก่ียวข้อง : กรมแผนท่ที หาร กองบญั ชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม

ผปู้ ระสำนงำน : -

73

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนท่ี ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหน้ำคณะผเู้ ข้ำรว่ ม หมำยเหตุ ผ่ำนมำ (กรม/กระทรวง) อเมริกา กำรประชมุ /ดำเนินงำน) โครงการการประชมุ กล่มุ การประชมุ 1st 29 เม.ย. 62- 3 พ.ค. 63 กรมชลประทาน ผู้อานวยการสานักสารวจ เปน็ การประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วย

ผเู้ ชี่ยวชาญของสหประชาชาติ Session of the ดา้ นวศิ วกรรมและธรณวี ิทยา การวางมาตรฐานชื่อภูมิศาสตร์

ด้านช่ือภูมิศาสตร์ (United United Nations และผ้เู ชี่ยวชาญดา้ นสารวจ จัดขนึ้ โดยคณะกรรมการมาตรฐาน

Nations Group of Experts Group of Experts และทาแผนทภี่ าพถ่าย ชอ่ื ภูมศิ าสตร์แหง่ สหประชาชาติ

on geographical Names: on Geographical เปน็ การประชมุ เพ่ือวางมาตรฐาน

UNGEGN) Names ชื่อภูมศิ าสตร์ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน

วตั ถุประสงค์ สากล และเปน็ มาตรฐานเดยี วกัน

เพื่อรับทราบนโยบายของ ท่ัวโลก สง่ เสริมใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื

สหประชาชาตดิ ้านช่ือภมู ิศาสตร์ ทางวิชาการ ในด้านภูมสิ ารสนเทศ

เพ่ือชีแ้ จงกิจกรรมต่าง ๆ ของ และดา้ นการทาแผนที่ และรว่ ม

คณะทางาน เน้นความสาคญั แลกเปลี่ยนประสบการณร์ ะหว่าง

ตอ่ งานสนับสนุนกจิ กรรมของ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญดา้ นการทาแผนท่ี

สหประชาชาติในเรอื่ งการจดั ทา แผนที่ และร่วมแลกเปล่ียน

มาตรฐานช่อื ภมู ิศาสตร์ และ ประสบการณร์ ะหว่างกลุ่ม

การสนบั สนุนอย่างเต็มที่ต่อ ผเู้ ชยี่ วชาญด้านการทาแผนที่

สมาชิกในด้านภูมสิ ารสนเทศ

และด้านการทาแผนท่ี รวมทั้ง

รบั ทราบผลการดาเนินงาน

ของสมาชิกเกย่ี วกับการกาหนด

ชอื่ ภูมิศาสตร์ ตลอดจนรายงาน

ความก้าวหน้าการดาเนินงาน

ด้านช่อื ภูมิศาสตร์ของ

ประเทศไทย

74

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกิจกรรมทผ่ี ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.30 กำรประชมุ วชิ ำกำรนำนำชำติ International Geoscience and Remote Sensing Society (IGARSS)

ควำมเป็นมำ : การประชุมวิชาการนานาชาติ IGARSS มีการจัดข้ึนมาตั้งแต่ปี ค.ศ.1981 ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ประเทศสหรัฐอเมริกา การประชุม ท่ีเน้นเทคโนโลยีการสารวจระยะไกล (Remote Sensing) และการสารวจพื้นโลก ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม IGARSS มีสมาชิกประมาณ 375,000 คน ใน 160 ประเทศทั่วโลก การประชุมวิชาการนานาชาติ โดยความร่วมมือกัน ระหว่าง IEEE Geoscience and Remote Sensing Society (GRSS) และ Canadian Remote Sensing Society (CSRS) ภายใต้แนวคิดเรื่อง Energy and our Changing Planet มีหัวข้อนาเสนอผลงานทางวิชาการงานวิจัย ท่ีหลากหลายซึ่งเน้นเทคโนโลยีการสารวจระยะไกล (Remote Sensing) และการสารวจพื้นโลก ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม การประยุกต์ข้อมูลดาวเทียม รวมท้ังการสารวจ ระยะไกลในประเทศทกี่ าลังพฒั นา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือตดิ ตามความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยกี ารสารวจระยะไกล และระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตร์ GIS) ใหผ้ ้เู ข้าร่วมประชุมได้เรียนรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ด้านการประยุกต์ใช้ข้อมูลดาวเทียม ส่งเสริม และให้โอกาส ในการสร้างความรว่ มมอื ระหว่างประเทศทใ่ี ชเ้ ทคโนโลยกี ารสารวจระยะไกล กรมชลประทานได้สง่ ผ้แู ทนเขา้ ร่วมประชุมอยา่ งต่อเน่อื ง

กรอบระยะเวลำ : การประชุมกาหนดจดั ขนึ้ ทกุ ปี

สถำนภำพปัจจบุ นั : การประชุม IGARSS 2020 จัดขึ้นระหว่างวันท่ี 26 กันยายน-2 ตุลาคม 2563 เป็นการประชุมเสมือนจริง (Virtual Symposium) เนือ่ งจากเกิดสถานการณโ์ ควิด-19 ระบาดทวั่ โลก

แผนงำนในอนำคต : การประชมุ IGARSS 2021 จะจดั ขนึ้ ระหวา่ งวันท่ี 11-16 กรกฎาคม 2564 ณ กรงุ บรัสเซลส์ ราชอาณาจักรเบลเยียม

หน่วยงำนทีเ่ กี่ยวข้อง : -

ผู้ประสำนงำน : สานักสารวจด้านวศิ วกรรมและธรณวี ิทยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทผี่ ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผ้เู ข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน)

โครงการการประชุมวิชาการ การประชมุ IGARSS 2019 28 ก.ค.- กรมชลประทาน ญ่ปี นุ่ นกั วิชาการแผนท่ี -

นานาชาติ International ณ เมอื งโยโกฮามา 2 ส.ค. 62 ภาพถ่ายปฏบิ ัติการ

Geoscience and Remote การประชุม IGARSS 26 ก.ย.- กรมชลประทาน ไทย สานักสารวจด้าน เป็นการประชมุ สมั มนาเสมือนจริง Sensing Society (IGARSS) 2020 2 ต.ค. 63 วิศวกรรมและธรณีวทิ ยา (Virtual Symposium) เน่อื งจากเกดิ

สถานการณโ์ ควดิ -19 ระบาดทั่วโลก

75

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกจิ กรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.31 กำรประชุมวชิ ำกำรนำนำชำตดิ ้ำนกำรใช้เทคโนโลยีกำรทำแผนที่แบบ Mobile Mapping (International Symposium on Mobile Mapping Technology: MMT)

ควำมเปน็ มำ : การประชุมวิชาการนานาชาติดา้ นการใช้เทคโนโลยกี ารทาแผนทแี่ บบ Mobile Mapping และการสารวจด้วยระบบ Airborne

กรอบระยะเวลำ : การประชมุ กาหนดจัดทกุ 2 ปี

สถำนภำพปจั จบุ ัน : การประชุม MMT 2019 ครง้ั ที่ 11 ระหวา่ งวันท่ี 6-8 พฤษภาคม 2562 ณ มณฑลกวางตงุ้ เมืองเซินเจ้ิน สาธารณรฐั ประชาชนจีน

แผนงำนในอนำคต : การประชมุ MMT 2021 ครง้ั ท่ี 12 ปี 2564

หนว่ ยงำนท่ีเก่ยี วข้อง : กรมชลประทาน

ผูป้ ระสำนงำน : สานักสารวจดา้ นวศิ วกรรมและธรณวี ทิ ยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทีผ่ ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผู้เข้ำรว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) จนี กำรประชมุ /ดำเนินงำน) - การประชมุ วิชาการนานาชาติด้าน การประชุม MMT 2019 6-8 การใชเ้ ทคโนโลยกี ารทาแผนท่แี บบ คร้งั ที่ 11 ณ มณฑลกวางตุง้ พ.ค. 62 - - Mobile Mapping (International เมืองเซนิ เจิน้ Symposium on Mobile Mapping Technology: MMT) ดาเนินการ ภายใต้ความรว่ มมือของ ISPRS, FIG,IAG และ International Symposium on Mobile Mapping Technology (MMT)

76

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกิจกรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.32 คณะกรรมกำรกำกับกำรดำเนินงำนอทุ กวทิ ยำของภูมภิ ำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-แปซิฟิก (The Regional Steering Committee

Meeting for Southeast Asia and the Pacific, UNESCO-IHP in Conjunction with International Conference on

Ecohydrology)

ควำมเป็นมำ : คณะกรรมการกากับการดาเนินงานอุทกวิทยาโลก องค์การยูเนสโก (IHP) มีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นผู้แทนด้านอุทกวิทยาของ ประเทศไทยเข้ารว่ มประชมุ แลกเปล่ียนข้อคิดเห็นด้านอุทกวิทยาภายใต้กรอบคณะกรรมการกากับการดาเนินงานอุทกวิทยา ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้-แปซิฟิก รวมถึงแลกเปล่ียนประสบการณ์จากประเทศสมาชิก เพ่ือเตรียมความพร้อม สาหรับการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากภัยทางน้า ตลอดจนประสานความร่วมมือด้านอุทกวิทยาอันจะเป็นประโยชน์กับ ประเทศไทยในอนาคต

กรอบระยะเวลำ : ประชุมตอ่ เนือ่ งทกุ ปี

สถำนภำพปัจจบุ ัน : ผูส้ ังเกตการณ์

แผนงำนในอนำคต : รว่ มศึกษาและแลกเปลย่ี นความรแู้ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ กบั ประเทศสมาชกิ

หน่วยงำนที่เก่ยี วขอ้ ง : กรมทรัพยากรน้า เป็นผู้แทนหลักของประเทศไทย กรมชลประทาน โดยส่วนอทุ กวิทยา สานักบริหารจัดการนา้ และอทุ กวทิ ยา

ผู้ประสำนงำน : ส่วนอทุ กวทิ ยา สานักบริหารจดั การน้าและอทุ กวิทยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนท่ีผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) เมียนมา กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) การประชุมคณะกรรมการ การประชมุ คณะกรรมการกากบั 1 ต.ค. 62- ประชมุ แผน 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน 1. นางสาวกุลยา เจริญกิจเกษตร ดาเนินการประจาปี 2. นายอัฏฐศีล แผว้ สกุล (ระยะเวลาประชุม กากบั การดาเนนิ งาน การดาเนินงานอุทกวทิ ยาของภมู ิภาค 9 วนั )

อุทกวทิ ยาของภมู ภิ าค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้-แปซิฟิก (The 27th Regional Steering เอเชยี ตะวนั ออก

เฉียงใต้-แปซิฟิก Committee Meeting for

Southeast Asia and the Pacific)

77

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมอื และกจิ กรรมท่ีผ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.33 คณะกรรมกำรไซโคลน (ESCAP/WMO Panel on Tropical Cyclones)

ควำมเปน็ มำ : คณะกรรมการด้านภมู ิอากาศภาคพ้นื มหาสมุทรอินเดีย ซึง่ มสี มาชิกท้ังส้นิ 13 ประเทศ (บังกลาเทศ อินเดีย อิหร่าน มัลดีฟส์ เมียนมา รัฐสุลต่านโอมาน ปากีสถาน กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย ศรีลังกา ไทย อาหรับเอมิเรตส์ และเยเมน) มีวัตถุประสงค์ เพื่อลดความสูญเสียอันเน่ืองมาจากไต้ฝุ่น ท้ังชีวิตและทรัพย์สินเป็นความร่วมมือในภูมิภาค ระหว่าง 13 ประเทศสมาชิก บริเวณแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ใน 5 องค์ประกอบ คือ อุตุนิยมวิทยา อุทกวิทยา การเตรียมพร้อมป้องกันภัย การวิจัย และการฝึกอบรม มีวัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ลดความสูญเสียอันเนื่องมาจากไตฝ้ ุ่น ทงั้ ชีวิตและทรพั ย์สินเป็นความร่วมมือในภูมิภาค ระหว่าง 8 ประเทศสมาชกิ บริเวณแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ใน 5 องคป์ ระกอบ คือ อตุ ุนยิ มวิทยา, อุทกวิทยา, การเตรียมพร้อม ป้องกนั ภยั , การวิจยั และการฝึกอบรม

กรอบระยะเวลำ : ประชุมต่อเน่ืองทุกปี

สถำนภำพปัจจบุ ัน : กรมชลประทานเขา้ เปน็ คณะทางานดา้ นอุทกวิทยาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 จนกระท่ังปัจจุบัน

แผนงำนในอนำคต : ร่วมศกึ ษาและแลกเปลีย่ นความรแู้ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ กบั ประเทศสมาชิก

หนว่ ยงำนท่ีเก่ยี วข้อง : กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา เปน็ ผ้แู ทนหลักของประเทศไทย และกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย

ผปู้ ระสำนงำน : ส่วนอทุ กวทิ ยา สานกั บรหิ ารจดั การนา้ และอุทกวิทยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผเู้ ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชุม/ดำเนินงำน) ประชุมใหญ่ประจาปี คณะกรรมการไซโคลน 1. ประชุม PTC 47th Panel 1 ต.ค. 62- สหรัฐอาหรบั เอ 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน มเิ รตส์ เล่ือนการประชมุ

(ESCAP/WMO of Tropical Cyclone

Panel on Tropical

Cyclones)

78

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกิจกรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.34 คณะกรรมกำรไตฝ้ ุ่น (ESCAP/WMO Typhoon Committee)

ควำมเป็นมำ : คณะกรรมการด้านภูมิอากาศภาคพ้ืนมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งมีสมาชิกท้ังสิ้น 14 ประเทศ (กัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) ฮ่องกง ญ่ีปุ่น สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเก๊า มาเลเซีย ฟลิ ิปปินส์ สาธารณรฐั เกาหลี (เกาหลใี ต้) สิงคโปร์ เวียดนาม สหรฐั อเมรกิ า และไทย) มีวัตถุประสงค์ เพ่ือลดความสูญเสีย อนั เนอ่ื งมาจากไต้ฝ่นุ ทัง้ ชีวิตและทรัพยส์ ินเป็นความรว่ มมอื ในภมู ิภาค ระหวา่ ง 14 ประเทศสมาชิก บริเวณแปซิฟิกตะวันตก เฉยี งเหนอื ใน 5 องคป์ ระกอบ คอื อุตุนิยมวิทยา อุทกวทิ ยา การเตรยี มพรอ้ มปอ้ งกนั ภัย การวจิ ัย และการฝึกอบรม มวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือลดความสูญเสียอันเนื่องมาจากไต้ฝุ่น ทั้งชีวิตและทรัพย์สินเป็นความร่วมมือในภูมิภาค ระหว่าง 14 ประเทศสมาชิก บริเวณแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ใน 5 องค์ประกอบ คือ อุตุนิยมวิทยา, อุทกวิทยา, การเตรียมพร้อมป้องกันภัย, การวิจัยและ การฝกึ อบรม

กรอบระยะเวลำ : ประชมุ ตอ่ เน่ืองทกุ ปี

สถำนภำพปจั จุบนั : กรมชลประทานเข้าเปน็ คณะทางานดา้ นอุทกวิทยาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2521 จนกระทง่ั ปัจจบุ นั

แผนงำนในอนำคต : ร่วมศึกษาและแลกเปล่ียนความรแู้ ละเทคโนโลยใี หม่ ๆ กบั ประเทศสมาชิก

หนว่ ยงำนทเี่ ก่ยี วข้อง : กรมอุตนุ ยิ มวิทยา เป็นผู้แทนหลักของประเทศไทย และกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

ผปู้ ระสำนงำน : สว่ นอุทกวทิ ยา สานักบรหิ ารจดั การน้าและอทุ กวิทยา

โครงกำร/ กำรดำเนินงำนทีผ่ ำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหน้ำคณะผ้เู ขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ คณะทำงำน 1 ต.ค. 62- (กรม/กระทรวง) อเมรกิ า กำรประชุม/ดำเนนิ งำน) 1. ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ าร 30 ก.ย. 63 กรมชลประทาน ประชมุ แผนดาเนนิ การ คณะกรรมการไต้ฝุน่ คณะทางานร่วม ไทย 1. นายธีระพล ต๊ังสมบุญ ประจาปี (ระยะเวลา (ESCAP/WMO คณะกรรมการไตฝ้ ุ่น 1 ต.ค. 62- กรมชลประทาน 2. นางสพุ ิญดา วัฒนาการ ประชมุ 6 วัน) Typhoon (The 14th Integrated 30 ก.ย. 63 3. นางสาวฤทัยทิพย์ มะมา Committee) Workshop) 2. ประชมุ TC 52nd Session 1. นายอดศิ ร จาปาทอง ประชมุ ใหญ่ประจาปี 2. นางสุพิญดา วฒั นาการ (Video Conferrence

79

โครงกำร/ กำรดำเนนิ งำนท่ผี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหน้ำคณะผู้เข้ำรว่ ม หมำยเหตุ คณะทำงำน (กรม/กระทรวง) เกาหลี กำรประชุม/ดำเนนิ งำน)

เนื่องจาก COVID-19)

เป็นการประชมุ ออนไลน์

1 วนั เขตบรหิ ารพิเศษ

ฮอ่ งกง เปน็ เจ้าภาพ

3. ประชุมคณะทางานดา้ นอทุ ก 1 ต.ค. 62- กรมชลประทาน 1. นายอดิศร จาปาทอง ประชมุ แผนปฏิบัติการ วทิ ยา ภายใตค้ ณะกรรมการ 30 ก.ย. 63 ไต้ฝนุ่ (8th WGH) 2. นางสุพิญดา วฒั นาการ ดา้ นอทุ กวิทยา

3. นายอานวยชยั คงดี คณะกรรมการไตฝ้ ุ่น

4. นางสาวอาทิตยา พิพิธกุล (ระยะเวลาประชุม 4 วัน)

80

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกจิ กรรมทผ่ี ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.35 คณะกรรมำธิกำรระหวำ่ งประเทศว่ำด้วยกำรชลประทำนและกำรระบำยนำ้ International Commission on Irrigation and Drainage

(ICID)

ควำมเปน็ มำ : ก่อตั้งปี 2493 มีการประชุมมนตรีฝ่ายบริหารระหว่างประเทศ (IEC) การประชุมระดับภูมิภาค (ARC) การประชุมใหญ่ ทางวิชาการ (IC) และการประชุมคณะทางานด้านต่างๆ (Technical Working Group) ประเทศไทยเป็นประเทศสมาชิก ก่อตั้งในจานวน 11 ประเทศ ซ่ึงดาเนินงานภายใต้คณะกรรมการด้านการชลประทานและ การระบายน้าแห่งประเทศไทย (Thai National Committee on Irrigation and Drainage: THAICID)

กรอบระยะเวลำ : ไม่มีกรอบระยะเวลา

สถำนภำพปจั จุบนั : มีประเทศสมาชิก 76 ประเทศ แผนงำนในอนำคต : 1. การประชุม 71st IEC Meeting and the 5th Africa Regional Conference วันท่ี 7-8 ธันวาคม 2563 ในรูปแบบ

เสมือนจรงิ (Virtual Platform) 2. การประชุม 24th ICID International Congress and 72nd IEC Meeting วนั ท่ี 6-12 กรกฎาคม 2564 ณ ประเทศออสเตรเลยี

หน่วยงำนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง : สานกั บรหิ ารโครงการ ในฐานะคณะทางานสานกั งานเลขาธิการ THAICID

ผปู้ ระสำนงำน : สานักงานเลขาธิการ THAICID

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หนำ้ คณะผู้เขำ้ รว่ ม หมำยเหตุ 31 ก.ค. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชุม/ดำเนนิ งำน) 1. การประชมุ วชิ าการ 1.1 การประชุมวิชาการ 13th ประชมุ รูปแบบออนไลน์ กรมชลประทาน ผู้เขา้ ร่วมประกอบดว้ ย ผ่านทาง คณะกรรมการ คณะทางาน http://thaicid.rid.go.th ของ THAICID THAICID National THAICID คณาจารย์ ข้าราชการ รวมทัง้ เวบ็ ไซต์ของกรม พนักงานรฐั วิสาหกจิ ชลประทาน สถาบันพัฒนาการ วตั ถุประสงค์ e-Symposium โดยมหี ัวข้อ นกั วชิ าการและนักวิจยั ชลประทาน และ Facebook ที่เกี่ยวข้องกับการชลประทาน เรารักชลประทาน โดย เพือ่ เปน็ เวทเี ผยแพรแ่ ละ หลกั คอื “The ICID & THAICID และการระบายน้าและ ถ่ายทอดจากสถาบัน แลกเปลีย่ นความรทู้ าง 70th Anniversary Celebration ผ้นู าเสนอบทความวิชาการ

วิชาการและถ่ายทอด our ongoing support to

เทคโนโลยีใหม่ ๆ ด้าน Secure The Future We

การชลประทานและ Want under Sustainable

81

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนทผ่ี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนินงำน) การระบายน้า การบรรเทา Development GOAL 6 พฒั นาการชลประทาน กรมชลประทาน มีผู้เขา้ ร่วมรับชมผา่ น กรมชลประทาน ปากเกร็ด อุทกภัย การบรหิ าร Focusing on Innovated Platform ท้ังส้นิ 6,823 ราย จงั หวดั นนทบรุ ี

จัดการน้าและอ่นื ๆ Irrigation Water and Drainage

ท่ีเก่ยี วข้อง Management” (70 ปแี หง่

ความมุ่งมนั่ คณะกรรมาธิการ

ระหวา่ งประเทศว่าด้วยการ

ชลประทานและการระบายน้า

(ICID) และคณะกรรมการด้าน

การชลประทานและการระบายน้า

แหง่ ประเทศไทย (THAICID)

ในการเป็นองค์กรเครือขา่ ย

สนบั สนนุ ภารกิจ เพ่ือมงุ่ สู่อนาคต

ทเี่ ราตอ้ งการภายใต้เปา้ หมาย

การพัฒนาที่ย่งั ยนื มิติที่ 6 เน้น

การจดั การน้าชลประทานและ

การระบายนา้ ท่ียงั่ ยนื )

1.2 การประชมุ THAICID 11 ก.ย. 63 - นายเฉลิมเกยี รติ คงวเิ ชียรวัฒน์ ประชุม ณ ห้องประชมุ 500 (รธว.) เปน็ ประธาน คณะกรรมการ อาคารศูนย์วิศวกรรม วชิ าการนัดพเิ ศษ เรื่อง “การสรุป - ผ้ทู รงคุณวุฒิ 3 ท่าน ไดแ้ ก่ ชลประทาน นายชัยวฒั น์ ปรีชาวิทย,์ กรมชลประทาน สามเสน บทเรียนเพ่ือตอ่ ยอดองค์ รศ.ดร.วราวธุ วฒุ วิ ณชิ ย์ และ นายวิรตั น์ ขาวอปุ ถัมภ์ ความรจู้ ากงานประชมุ วชิ าการ - นายสาธติ มณผี าย (ประธานวชิ าการ) ทป่ี รึกษา THAICID National กรมชลประทาน

e-Symposium ครง้ั ท่ี 13”

82

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนท่ีผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหน้ำคณะผเู้ ข้ำร่วม หมำยเหตุ 5 ส.ค. 63 (กรม/กระทรวง) ไทย กำรประชมุ /ดำเนินงำน) 2. การประชุมสามัญ การประชมุ สามัญประจาปี ประชุม ณ ห้องประชมุ ดงตาล กรมชลประทาน - นายวัชระ เสือดี ช้นั 4 อาคาร 99 ปี (รองประธานวิชาการและ ม.ล. ชชู าติ กาภู ของคณะกรรมการ คณะกรรมการ THAICID เลขาฯ INWEPF) กรมชลประทาน สามเสน - ผู้อานวยการศูนยเ์ ทคโนโลยี THAICID ครั้งท่ี 1/2563 สารสนเทศและการส่อื สาร - ผ้อู านวยการสานัก/กอง วัตถุประสงค์ เจ้าหน้าทีก่ รมชลประทาน นกั วชิ าการ และผทู้ ีส่ นใจเขา้ รว่ ม เพื่อรายงานและพจิ ารณา - คณะกรรมการ THAICID ผลการดาเนนิ การท่ี - คณะทางานด้านวิชาการ THAICID ผ่านมาและการขอ - คณะทางานสานกั งาน เลขาธกิ าร THAICID ความเหน็ ชอบแผนการ - คณะอนุกรรมการด้านนา้ และระบบนิเวศนใ์ นนาข้าว INWEPF และผทู้ เ่ี ก่ียวข้อง

ดาเนินงานในปี 2564

รวมถงึ การรบั รอง

รายงานงานการประชุม

สามญั ประจาปี คร้ังที่

1/2562

83

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกจิ กรรมทผ่ี ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.36 ควำมรว่ มมือดำเนนิ งำนทำงวิชำกำร ภำยใตก้ ำรเปน็ สมำชกิ สมำคมทำแผนท่รี ะหวำ่ งประเทศ (International Cartographic

Association : ICA)

ควำมเปน็ มำ : ICA กอ่ ตง้ั ข้ึนเม่ือ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1959 ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ การประชุมคร้ังแรกจัดขึ้นที่กรุงปารีส สาธารณรัฐฝรั่งเศส ใน ค.ศ.1961 โดยความรว่ มมือของนักวิจัยหลากหลายสาขา มภี ารกจิ ส่งเสริมการประชมุ เผยแพรค่ วามรทู้ างด้านการทาแผนท่ี

ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ แลกเปล่ียนความรู้ประสบการณ์ระหว่างนักแผนที่ในระดับสากล ปั จจุบันมี สมาชิก 84 ประเทศ การดาเนินการภายใต้การเป็นสมาชกิ สมาคมทาแผนท่ีระหว่างประเทศ International Cartographic Association : ICA ของกรมแผนทท่ี หาร กองบญั ชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ในนามประเทศไทย การดาเนินการประชุมแบ่งเป็น

  1. การประชุมสมัชชาใหญ่ (General Assembly) ของสมาคม ICA กาหนดจัดประชุมทุก 4 ปี และ 2) การประชุม International Cartographic Conference เป็นการประชุมระดับเทคนิค กาหนดการจัดประชุมทุก 2 ปี กรมแผนท่ีทหารในฐานะสมาชิก สมาคม ICA ในนามประเทศไทย จะเปน็ หน่วยงานหลักในการประชุม และจะแจ้งข่าวสารการประชุมให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง

ด้านการทาแผนท่ี ซึ่งกรมชลประทานเป็นหน่วยงานหน่ึงท่ีได้เข้าร่วมประชุมมาอย่างต่อเน่ือง วัตถุประสงค์ 1) เป็นเวทีระดับโลก สาหรับการอภิปราย บทบาท สถานะของวิชาการทาแผนท่ีและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างนักแผนที่ 2) เป็นเวที ระดับโลกสาหรับการอภิปราย บทบาท สถานะของวิชาการทาแผนท่ีและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ระหว่างนักแผนท่ี

  1. เผยแพร่องค์ความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการ งานวิจัยต่าง ๆ และเทคโนโลยีใหม่ด้านวิชาการทาแผนที่ของประเทศสมาชิก และ 4) สง่ เสรมิ การใช้มาตรฐานวชิ าชพี และเทคนคิ ในวิชาการทาแผนท่ี

กรอบระยะเวลำ : ประชมุ สมชั ชาใหญ่ (General Assembly) ของสมาคม ICA จดั ข้นึ ทุก 4 ปี และประชมุ ระดับเทคนิค International Cartographic Conference จดั ข้นึ ทกุ 2 ปี

สถำนภำพปจั จบุ ัน : การประชุมครงั้ ที่ 29 ต้ังแต่ 15-20 กรกฎาคม 2562 ณ กรุงโตเกียว ประเทศญป่ี ่นุ

แผนงำนในอนำคต : การประชุมคร้ังที่ 30 จะจดั ข้ึนระหวา่ งวันท่ี 19-23 กรกฎาคม 2564 ณ เมืองฟลอเรนซ์ สาธารณรฐั อิตาลี

หน่วยงำนทีเ่ กีย่ วขอ้ ง : กรมแผนทีท่ หาร กองบัญชาการกองทพั ไทย กระทรวงกลาโหม

ผู้ประสำนงำน : สานักสารวจด้านวิศวกรรมและธรณวี ทิ ยา

84

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนนิ งำนที่ผ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผู้เข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) ญ่ปี ุ่น กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) - โครงการการดาเนนิ งานทาง การประชุม ICC ครงั้ ท่ี 29 15-20 วชิ าการภายใต้การเป็นสมาชิก ณ กรุงโตเกยี ว ก.ค. 62 กรมชลประทาน ผู้อานวยการส่วนวศิ วกรรม สมาคมทาแผนท่ีระหว่าง สานักสารวจดา้ นวศิ วกรรมและ ประเทศ International ธรณีวทิ ยา Cartographic Association (ICA)

85

รำยงำนกรอบควำมร่วมมอื และกจิ กรรมทีผ่ ำ่ นมำ ปี พ.ศ. 2563

3.37 ควำมรว่ มมอื ทำงวชิ ำกำรภำยใต้ควำมร่วมมือของสำนกั งำนพฒั นำเทคโนโลยอี วกำศและภูมสิ ำรสนเทศ (องค์กำรมหำชน) : สทอภ.

และ Asian Association on Remote Sensing : AARS ประเทศญี่ปุ่น

ควำมเป็นมำ : Asian Conference on Remote Sensing (ACRS) เป็นการประชุมประจาปี จัดข้ึนภายใต้การอุปถัมภ์ของ AARS ซึ่งก่อต้ัง

อย่างเป็นทางการ ใน ค.ศ.1981 การประชุมคร้ังแรกจัดขึ้นท่ีกรุงเทพมหานคร เม่ือ ค.ศ.1980 โดยได้รับการสนับสนุนจาก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และ AARS กิจกรรมหลัก คือ การประชุมแลกเปล่ียนความรู้ ประสบการณ์ นาเสนอ ผลงานวิจัย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีใหม่ทางด้านเทคโนโลยีจากระยะไกล ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 23 ประเทศ

ในภูมิภาคเอเชีย สทอภ. เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินงาน ซ่ึงจะเป็นหน่วยงานกลางในการติดต่อประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในประเทศในการเข้าร่วมประชุมระหว่างประเทศสมาชิก กรมชลประทานได้ส่งผู้แท นเข้าร่วม ประชุมอย่างต่อเนื่อง วัตถุประสงค์ 1) เป็นเวทีระดับภูมิภาคเอเชียสาหรับการเผยแพร่ความรู้ทางด้านวิชาการ งานวิจัยต่าง ๆ

ทางด้านเทคโนโลยีจากระยะไกล 2) นาเสนอเทคโนโลยีใหม่ และการประยุกต์ในงานสาขาต่าง ๆ และ 3) เข้าร่วมกิจกรรม แลกเปลีย่ นความรู้ ประสบการณ์ระหว่างประเทศสมาชกิ

กรอบระยะเวลำ : ประชุม Asian Conference on Remote Sensing (ACRS) ทกุ 1 ปี

สถำนภำพปัจจบุ ัน : การประชุม ACRS-40 ระหว่างวันท่ี 14-18 ตลุ าคม 2562 สาธารณรัฐเกาหลี

แผนงำนในอนำคต : การประชุม ACRS-41 ปี 2563

หน่วยงำนทเ่ี กี่ยวขอ้ ง : สานกั งานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภมู สิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน): สทอภ.

ผูป้ ระสำนงำน : สานกั สารวจดา้ นวศิ วกรรมและธรณีวทิ ยา

86

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนท่ีผำ่ นมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หัวหนำ้ คณะผเู้ ขำ้ ร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) เกาหลี กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) -

ความร่วมมือทางวชิ าการ การประชมุ ACRS-40 14-18 - สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศ และ ภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน): สทอภ. แลกเปลยี่ นความรู้และ ณ สาธารณรัฐเกาหลี ต.ค. 62 เป็นหน่วยงานกลางในการตดิ ต่อประสานงาน กับหน่วยงานที่เกยี่ วข้องภายในประเทศใน ประสบการณร์ ะหว่าง การเขา้ รว่ มประชมุ ระหว่างประเทศสมาชกิ

ประเทศในทวปี เอเชีย

ในดา้ นเทคโนโลยจี าก

ระยะไกล

87

รำยงำนกรอบควำมร่วมมือและกิจกรรมทผี่ ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.38 ควำมร่วมมอื ทำงวิชำกำร แลกเปลี่ยนควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำนโฟโตแกรมเมตรแี ละรโี มทเซนซงิ ระหวำ่ งประเทศ (International Association for Photogrammetry Remote Sensing : ISPRS)

ควำมเป็นมำ : สมาคม International Society for Photogrammetry (ISP) ก่อต้ังขึ้นเม่ือ ค.ศ.1910 ในประเทศออสเตรเลียและได้เปลี่ยนชื่อ เป็น International Society for Photogrammetry and Remote Sensing เม่ือ ค.ศ.1980 มีภารกิจส่งเสริมการประชุม เผยแพร่ความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่แลกเปล่ียนความรู้ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยด้านภูมิสารสนเทศ เช่น Photogrammetry Geographic Information System (GIS) Remote Sensing (RS) และการประชุมในด้านวิศวกรรม การสารวจ การทาแผนที่ สถาปัตยกรรม สิ่งแวดล้อมและอ่ืน ๆ ระหว่างประเทศสมาชิก การประชุมนี้เป็นการดาเนินการภายใต้ การเป็นสมาชิกโฟโตแกรมเมตตรี และรีโมทเซนซิงระหว่างประเทศ (International Association for Photogrammetry and Remote Sensing : ISPRS) ของกรมแผนท่ีทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม ในนามประเทศไทยเป็น สมาชกิ ISPRS และเปน็ หน่วยงานหลักในการประชุม และจะแจง้ ข่าวสารการประชุมให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องด้านโฟโตแกรม เมตรีและรีโมทเซนซิง ซึ่งกรมชลประทานเป็นหน่วยงานหน่ึงที่ได้เข้าร่วมประชุมมาอย่างต่อเน่ือง วัตถุประสงค์ 1) ส่งเสริม เผยแพร่ความก้าวหน้าทางวิชาการ งานวิจัย และเทคโนโลยีใหม่ด้านสารสนเทศสารสนเทศ 2) ส่งเสริมความร่วมมือและ ประสานงานกบั องค์กรตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง และ 3) แลกเปล่ยี น ความรู้ ประสบการณ์ ระหวา่ งนกั วิจัยของประเทศสมาชิก

กรอบระยะเวลำ : การประชมุ กาหนดจดั ขนึ้ ทกุ ๆ 4 ปี

สถำนภำพปัจจุบนั : กรมชลประทานเขา้ ร่วมประชุมอยา่ งต่อเนอื่ งตามกาหนด

แผนงำนในอนำคต : การประชมุ Congress ครัง้ ท่ี 24 จะจัดขน้ึ ระหวา่ งวนั ท่ี 14-20 มถิ นุ ายน 2563 เมืองนซี สาธารณรัฐฝรั่งเศส

หนว่ ยงำนท่เี ก่ยี วขอ้ ง : กรมแผนท่ีทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม

ผูป้ ระสำนงำน : สานกั สารวจด้านวิศวกรรมและธรณวี ิทยา

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนท่ผี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผู้เข้ำรว่ ม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) จนี กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) 3-11 โครงการความร่วมมือทางวิชาการ 1. การประชุมวชิ าการ ISPRS ก.ค. 51 กรมชลประทาน ผู้อานวยการสว่ นสารวจทาแผน - แลกเปลยี่ นความรูแ้ ละประสบการณ์ ครัง้ ที่ 21 ณ กรงุ ปักกง่ิ ระหวา่ งประเทศดา้ นโฟโตแกรม ทจี่ ากภาพถา่ ย และ นักวิชาการ

แผนทภี่ าพถ่ายชานาญการ

88

โครงกำร/คณะทำงำน กำรดำเนินงำนท่ผี ่ำนมำ ระยะเวลำ งบประมำณ ประเทศ (หวั หน้ำคณะผเู้ ข้ำร่วม หมำยเหตุ (กรม/กระทรวง) กำรประชมุ /ดำเนนิ งำน) - เมตรีและรโี มทเซนซิง 2. การประชุมวิชาการ ISPRS 25 ส.ค.- กรมชลประทาน (International Association ครงั้ ที่ 22 ณ กรงุ เมลเบริ น์ 1 ก.ย. 55 ออสเตรเลีย ผอู้ านวยการส่วนสารวจทาแผน - for Photogrammetry and กรมชลประทาน Remote Sensing: ISPRS) ท่ภี าคพืน้ ดิน หัวหน้าฝ่ายผลิต

แผนท่ี นกั วชิ าการแผนท่ี

ภาพถา่ ยชานาญการ

3. การประชุมวชิ าการ ISPRS 12-19 สาธารณรฐั นกั วิชาการแผนทภี่ าพถา่ ย

ครง้ั ที่ 23 ณ กรงุ ปราก ก.ค. 59 เชก็ ชานาญการ

89

รำยงำนกรอบควำมรว่ มมือและกจิ กรรมที่ผ่ำนมำ ปี พ.ศ. 2563

3.39 ควำมร่วมมือทำงวชิ ำกำรไทย-MRC

ควำมเป็นมำ : ประเทศไทย (Thai National Mekong Commission) เป็นภาคีสมาชิกของคณะกรรมมาธิการแม่น้าโขง (Mekong River

Commission) เพ่อื ส่งเสริม และประสานงานการดา้ นการจัดการและการพัฒนาแหล่งนา้ และทรัพยากรอันเกี่ยวเน่ืองอื่น ๆ

แบบยั่งยืน เพ่ือผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิกและความเป็นอยู่ท่ีดีของประชาชน โดยการส่งเสริมแผนงาน

ยทุ ธศาสตร์และกิจกรรมตา่ งๆ รวมทงั้ จัดหาข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์ และให้คาแนะนาด้านนโยบาย

กรอบระยะเวลำ : ตอ่ เน่อื งทุกปี

สถำนภำพปัจจุบนั : มีการจดั ประชุมต่อเน่อื งกนั ตลอดทัง้ ปี

แผนงำนในอนำคต : มุ่งมั่นสู่ความยั่งยืน มั่นคง และพ่ึงพาตนเองได้ของแต่ละประเทศสมาชิกภายใต้ กฎระเบียบที่ตกลงร่วมกันอย่างเป็นธรรม

ตอ่ ทกุ ฝา่ ย

หนว่ ยงำนทีเ่ ก่ียวขอ้ ง : สานกั งานทรัพยากรนา้ แหง่ ชาติ กรมชลประทาน กรมทรพั ยากรนา้ กรมประมง กรมเจ้าทา่

ผปู้ ระสำนงำน : สานกั บริหารโครงการ สว่ นโครงการเงินกู้และกิจการตา่ งประเทศ ฝ่ายบริหารโครงการต่างประเทศ