คณะน เทศ ม.ธ รก จบ ณฑ ตย ม สาขาไรบ าง

สำหรับผู้ที่จบสาขาการผลิตอีเว้นท์ฯ สามารถวางแผน บริหารจัดการ ผลิตอีเว้นท์ได้ครบกระบวนการ อาทิ จัดงานเปิดตัวสินค้า จัดอีเว้นท์องค์กร จัดนิทรรศการ งานประชุม งานคอนเสิร์ต มิวสิคเฟสติวัล แฟชั่นโชว์ งานประกวดและกิจกรรมบันเทิงต่างๆ จัดงานกีฬา เกม ระดับชาติ และนานาชาติ งานเทศกาล การแสดง ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ตลอดจนจัดงานแต่งงาน ปาร์ตี้ และ Private Event ต่างๆ รวมถึงการเป็นเจ้าของธุรกิจอีเว้นท์ ซึ่งมีตำแหน่งงาน ดังนี้

  • นักออกแบบอีเว้นท์ และไมซ์
  • อีเว้นท์ออกาไนเซอร์ นักจัดการอีเว้นท์และไมซ์
  • นักวางแผนอีเว้นท์ (Event Planner)
  • ครีเอทีฟ (Creative)
  • โปรดิวเซอร์ (Event Producer)
  • ผู้ประสานงานโปรเจกต์ (Project Coordinator)
  • นักออกแบบเวที (Stage Designer)
  • นักออกแบบแสง (Lighting Designer)
  • นักออกแบบกราฟิก (Graphic Designer)
  • นักออกแบบด้านมัลติมีเดีย (Multi Media Producer)
  • นักเขียนสคริปต์ (Script Writer)
  • นักบริหารงานลูกค้า (Account Executive)
  • นักประสานงานอีเว้นท์ (Event Coordinator)
  • นักออกแบบและกำกับโชว์ (Show Director)

สาขาวิชาการผลิตเนื้อหาสร้างสรรค์และประสบการณ์ดิจิทัล

  • ผู้ออกแบบภาพเคลื่อนไหว (Video Artist)
  • ผู้ออกแบบเทคโนโลยีสร้างสรรค์ในงานนิทรรศการ (Exhibition Technology Designer)
  • ผู้ออกแบบงานสร้าง (Production Designer)
  • ผู้ออกแบบอินโฟกราฟิก(Infographic Designer)
  • ผู้ควบคุมการผลิต (Producer)
  • ผู้จัดการโครงการ (Project Manager)
  • ผู้ผลิตสื่อเนื้อหาดิจิทัล (Digital Content Creator)
  • ผู้กำกับภาพยนตร์โฆษณาและมิวสิควิดีโอ (TV Advertising and Music Video Director)
  • ผู้ออกแบบเทคโนโลยีและงานภาพและเสียงในงานอีเว้นท์ ( Technology and Visual-Audio Event Designer)

นิเทศศาสตร์ (มุ่งเน้นการประชาสัมพันธ์ดิจิทัล)

นักประชาสัมพันธ์เป็นที่ต้องการของทุกองค์กร ทำงานได้หลากหลาย เพราะทุกองค์กรต้องการนัก PR ทั้งหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ บริษัทเอกชนขนาดใหญ่ อาชีพอิสระ Agency และเป็นเจ้าของธุรกิจ สามารถทำงาน PR ได้ทั้งออนไลน์และออฟไลน์

  • หน่วยงานรัฐ + รัฐวิสาหกิจ (กระทรวง ทบวง กรม)
  • บริษัทเอกชนทุกบริษัท ในแผนกประชาสัมพันธ์
  • สื่อสารองค์กร ดิจิทัล การตลาด และอื่นๆ
  • ทำงานในบริษัท PR Agency , Digital PR Agency
  • เป็นเจ้าของธุรกิจ

ตำแหน่งงาน PR

  • Public Relations
  • Corporate Communications
  • Customer Relations
  • AE (Account Executive)
  • Communication Consultant
  • PR Consultant
  • Digital PR
  • Strategic Planner
  • Content Strategist
  • Content Marketing
  • Social Media Analyst
  • Marketing Communications
  • Media Relations
  • Digital Media Planner
  • Community Relations
  • CSR (Corporate Social Responsibility)
  • Crisis Management
  • Artist Management
  • Project Coordinator
  • Spokesperson

อาชีพใหม่ของด้าน PR

  • นักรีวิวสินค้า/บล็อกเกอร์
  • Content Marketing
  • ผู้จัดงานอีเวนท์
  • นักเจรจาต่อรอง
  • ผู้ดูแลศิลปิน
  • ผู้จัดการดารา
  • ธุรกิจส่วนตัว

นิเทศศาสตร์ (มุ่งเน้นการโฆษณาดิจิทัล)

ตัวอย่างอาชีพของผู้ที่เรียนจบหลักสูตรนิเทศศาสตร์ มุ่งเน้นการโฆษณาดิจิทัล

  • Copywriter
  • Art Director
  • Data Analyst
  • Content Strategist
  • Strategic Planner
  • Media Planner
  • Director
  • Production House
  • Account Executive
  • Graphic Designer
  • Online Content Creator
  • Influencer
  • YouTuber
  • Photographer
  • Video Editor
  • Marketer
  • Entrepreneur

นิเทศศาสตร์ (มุ่งเน้นการสื่อสารแบรนด์สร้างสรรค์)

สามารถประกอบอาชีพได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นอาชีพในองค์กรธุรกิจ หรือจะทำธุรกิจส่วนตัว สร้างแบรนด์ของตัวเองก็ยังได้

  • นักออกแบบเอกลักษณ์แบรนด์
  • นักวางแผนกลยุทธ์(Strategic Planner)
  • นักวางแผนกลยุทธ์ดิจิทัล(Digital Strategic Planner)
  • นักกลยุทธ์แบรนด์(Brand Strategist)
  • เจ้าของแบรนด์(Brand Owner)
  • ผู้จัดการแบรนด์(Brand Manager)
  • ฝ่ายสื่อสารแบรนด์สื่อสารการตลาด

นิเทศศาสตร์ (มุ่งเน้นการสร้างแบรนด์อินฟลูเอนเซอร์)

  • Influencer
  • Blogger
  • Vlogger
  • Brand Character
  • Publisher
  • Celebrity
  • Personal Branding Coach

สามารถทำอาชีพอื่นในสายงานที่เกี่ยวข้องได้อีกมากมาย สายเบื้องหน้า เช่น Influencer, Blogger, Content Creator เป็นต้น สายเบื้องหลัง เช่น Influencer Agency ดูแลคอนเทนต์ของอินฟลูเอนเซอร์ คอยติดตามประสานงานระหว่างลูกค้าและอินฟลูเอนเซอร์ หรือ Influencer Marketing Agency ดูแลระบบการตลาด กำหนดคอนเทนต์หรือกลยุทธ์การใช้สื่อออนไลน์ให้กับอินฟลูเอนเซอร์โดยตรง เป็นต้น หรือจะทำงานเกี่ยวกับธุรกิจสื่อออนไลน์ หรือสื่อ Social Media อื่นๆ

นิเทศศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ มีสาขาอะไรบ้าง

เดิมคณะวารสารศาสตร์และสื่อมวลชน เป็นส่วนหนึ่งของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด้วยความก้าวหน้าของศาสตร์หนังสือพิมพ์ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 6 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์, สาขาวิชาวิทยุและโทรทัศน์, สาขาวิชาภาพยนตร์และภาพถ่าย, สาขาวิชาโฆษณา, สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ และสาขาวิชาบริหารการสื่อสาร

ธรรมศาสตร์ อินเตอร์ เรียนที่ไหน

การเรียนการสอนในหลักสูตรธรรมศาสตร์ อินเตอร์ จะเรียน 2 แห่งคือท่าพระจันทร์กับรังสิต แล้วแต่คณะและสถาบัน หากเป็นวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยนวัตกรรม นิติศาสตร์อินเตอร์ พาณิชย์ศาสตร์และการบัญชีอินเตอร์ (BBA) เศรษฐศาสตร์อินเตอร์ (BE) รัฐศาสตร์อินเตอร์ (BIR) ศิลปศาสตร์อินเตอร์ (BAS) จะเรียนที่ท่าพระจันทร์

นิเทศ ธรรมศาสตร์ ใช้คะแนนอะไรบ้าง

เกณฑ์คัดเลือก : GPAX > 2.75 + GAT + PAT 1 / PAT 7. 3.2 TCAS รอบ 3 คณะวารสารศาสตร์ฯ ม.ธรรมศาสตร์ เกณฑ์คัดเลือก : GPAX > 3.25 + GAT + PAT 1 / PAT 7 / วิชาสามัญ

ม.ธรรมศาสตร์ เด่นเรื่องอะไร

6. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เดิมชื่อมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ก่อตั้งเมื่อพ.ศ. 2477 โดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็นตลาดวิชาของผู้ที่สนใจเพื่อศึกษากฎหมายและการเมือง จุดเด่นอยู่ที่หลักสูตรนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์เป็นที่รู้จัก ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติและติดอันดับมหาลัยที่ดีที่สุดในไทยเสมอมา