ก ได กำหนดหล กการท ม ผลเป นการควบค มส ญญานำเท ยวแบบแพคเกจโดยอาจจำแนก

แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในช่วงเปลี่ยนผา่ นสหู่ ลักสตู รฐานสมรรถนะ คณะผูจ้ ัดทำ ท่ปี รกึ ษา นายอำนาจ วชิ ยานวุ ัติ เลขาธิการสภาการศึกษา นางสาวอุษณยี ์ ธโนศวรรย์ รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา นายพีรศักดิ์ รัตนะ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายสำเนา เน้อื ทอง ผอู้ ำนวยการสำนกั มาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นร ู้ ผู้รวบรวมเรยี บเรียงรายงาน นางประวณี า อสั โย ผูอ้ ำนวยการกลุ่มมาตรฐานการศึกษา นางสาวอุบล ตรีรตั น์วชิ ชา นกั วิชาการศกึ ษาปฏิบตั ิการ นางสาวภควดี เกดิ บณั ฑติ นกั วิชาการศึกษาปฏิบตั ิการ ผู้ออกแบบปก ประสานการจัดพิมพ์ และพิสจู นอ์ ักษร นางสาวภควดี เกิดบัณฑติ นักวชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ นางประวีณา อัสโย ผอู้ ำนวยการกลมุ่ มาตรฐานการศึกษา นางสาวกรกมล จงึ สำราญ นกั วิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ นางสุวรรณา สวุ รรณประภาพร นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ นางสาววภิ าดา วานิช นักวิชาการศึกษาชำนาญการพเิ ศษ นางสาวปยิ ะมาศ เมดิ ไธสง นกั วิชาการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวอุบล ตรีรัตน์วชิ ชา นักวชิ าการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร นางสาวนรู ียา วาจ ิ นกั วิชาการศึกษาปฏิบัตกิ าร นางสาวสุชาดา กลางสอน นักวิชาการศกึ ษาปฏบิ ัติการ นางสาวภควดี เกิดบัณฑิต นักวิชาการศึกษาปฏบิ ัติการ กล่มุ มาตรฐานการศึกษา สำนักมาตรฐานการศกึ ษาและพฒั นาการเรยี นร ู้ สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา 99/20 ถนนสโุ ขทัย เขตดสุ ิต กรุงเทพมหานคร 10300 Website: www.onec.go.th 76

1 เสรี วงษม์ ณฑา. (2540). ครบเคร่ืองเรื่องการสอื่ สารการตลาด . กรุงเทพมหานคร : บริษทั วิสทิ ธ์พัฒนาจาํ กดั .

56

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/

57

  1. ตราสินค้า ยังหมายถึง ชื่อ ข้อความ สัญลักษณ์ หรือรูปแบบหรือสิ่งเหล่านี้รวมกัน เพื่อบ่งช้ี ให้เห็นถึงสินค้าหรือบริการของผู้ขายหรือกลุ่มของผู้ขายที่แสดงความแตกต่างจากคู่แข่งขัน ตราสินค้าหนึ่ง ๆ จะประกอบดว้ ยองค์ประกอบหลายอย่างรวมกนั คือ [2]

1.1) ชอื่ ตรา (brand name) ส่วนของตราทเ่ี ปน็ ชื่อ หรอื คำพดู หรอื ข้อความ ซ่งึ ออกเสียงได้ เชน่ ซนั โย ฟิลปิ ส์

1.2) ชื่อผลิตภัณฑ์ (Product name) คือ ชื่อของสินค้าที่บ่งบอกถึงลักษณะของสินค้าว่า สินค้าเป็นอะไร จัดอยู่ในประเภทไหน ควรตั้งชื่อไม่ยาว และมีความเกี่ยวข้องกับสินค้า เพ่ือให้ลูกค้าจดจำได้ และรับรู้ไดท้ นั ที [3]

1.3) เครื่องหมายตราสินค้า (brand mark) ส่วนหนึ่งของตราซึ่งสามารถจดจำได้ การออกเสียง ไม่ได้ ได้แก่ สญั ลกั ษณ์ รูปแบบทีป่ ระดิษฐต์ ่างๆ หรือรูปภาพตลอดจนสสี ันที่ปรากฏอยู่ในเคร่ืองหมายต่าง ๆ เหลา่ นี้

1.4) เครื่องหมายการค้า (trademark) ส่วนหนึ่งของตราหรือตราที่ได้จดทะเบียนการค้า เพอ่ื ปอ้ งกันสทิ ธติ ามกฎหมายแตผ่ เู้ ดียว

1.5) รายละเอียดของสินค้า คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่เป็นข้อความในเชิงประชาสัมพันธ์ บรรยาย สรรพคุณของสินค้า และรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้า เช่น ที่มาและความหมายของสินค้า ราคา สโลแกนของสนิ ค้า เป็นต้น [3]

1.6) รปู ภาพและส่วนประกอบสนิ ค้า เป็นรปู ภาพของสินคา้ ทใี่ ชแ้ สดงใหล้ ูกค้าเข้าใจในตัวสนิ คา้ มากขนึ้ และเป็นการแจกแจงรายละเอียดส่วนประกอบของสินค้า ว่าทำมาจากอะไร ใช้ในอัตราสว่ นเท่าใด [3]

1.7) ขนาดและการบรรจุ คอื ตวั เลขทแี่ สดงถึงปริมาณสนิ ค้าที่อยู่ในบรรจุภัณฑ์ เพื่อให้ทราบ วา่ มีขนาดและปรมิ าณเท่าใด ช่วยให้ง่ายต่อการตัดสินใจซ้อื ของลกู ค้า [3]

1.8) ขอ้ มูลทางโภชนาการ คือ ขอ้ มูลท่ีบง่ บอกถึงสารอาหารและปริมาณของสารอาหาร มักจะเป็น บรรจุภัณฑ์ที่มีการกลา่ วอ้างทางโภชนาการ และอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ เช่น ผลิตภัณฑ์นมผงสำหรับ เด็ก ผลิตภณั ฑอ์ าหารเสรมิ ผลติ ภณั ฑเ์ ครื่องดมื่ บำรุงร่างกาย และผลิตภณั ฑข์ นมขบเคี้ยว เป็นตน้ ซึ่งจะระบุว่า ผลิตภัณฑ์นี้มีปริมาณสารอาหารประเภทใดบ้าง และร่างกายมีความต้องการสารอาหารแต่ละประเภท ในปริมาณเทา่ ใด [3]

1.9) คำเตือน หรือ ข้อควรระวังในการบริโภค จะเป็นตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร มกั จะพบในบรรจุภณั ฑใ์ นกลุ่มเคร่อื งดมื่ ชูกำลงั และเครื่องด่มื ท่ผี สมสารคาเฟอนี [3]

----- 2 การออกแบบบรรจุภณั ฑ์. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก

https://mis.csit.sci.tsu.ac.th/mallika/UI/DL/Workshop%20-%20repackaging.pdf. (วันทสี่ ืบค้นข้อมลู 24 มิถนุ ายน 2564). 3 ป่นุ คงเจรญิ เกยี รติ และสมพร คงเจริญเกียรต.ิ (2541). บรรจภุ ัณฑอ์ าหาร. กรุงเทพมหานคร : แพคเมทส์.

57

หพลัฒักนสาูตบรรกราจรุภอัณอกฑแ์อบยบ่า/งง่าย

58 1.10) ขอ้ มลู ทตี่ ้องใสต่ ามกฎหมาย [3]

-วนั ท่ผี ลติ และวนั หมดอายุ -วนั ท่ีควรบรโิ ภคกอ่ น -ข้อแนะนำ ขน้ั ตอนหรือวิธใี ช้ของสนิ คา้ -เคร่ืองหมาย อย./มอก. -บาร์โคด้ -คุณค่าทางโภชนาการ -ราคาของสินคา้ 1.11) ช่ือผ้ผู ลติ และจัดจำหน่าย เป็นการบ่งบอกถึงบริษัทผู้ผลิตสินค้า ผนู้ ำเข้าเพื่อจำหน่าย ว่ามี ทมี่ าจากไหน บรษิ ัทไหน และสถานทีต่ ้งั โรงงานผลติ หรอื โรงงานท่นี ำเข้า เบอร์โทรตดิ ตอ่ ทางบริษทั [3] 1.12) ศูนย์ร้องเรียนผู้บริโภค คือ รายละเอียดที่ใช้ติดต่อกับผู้บริโภคของผู้จำหน่าย เพ่ือให้บรกิ ารขอ้ มูลตา่ ง ๆ กับผู้บรโิ ภคท่ไี ดท้ ำการซ้อื สินคา้ และบรโิ ภค [3] 1.13) ลขิ สิทธิ์ (copyright) สิทธิตามกฎหมายในสิ่งตพี ิมพต์ ่าง ๆ 1.14) โลโก้ (logo) เป็นเคร่ืองหมายท่ีแสดงสญั ลกั ษณ์ของกิจการหรือองคก์ ารหนงึ่ ๆ

  1. ส่วนประกอบฉลากบนบรรจภุ ณั ฑ์ ส่วนประกอบบนบรรจภุ ัณฑซ์ ึง่ อธิบายรายละเอยี ด (ชัยรัตน์ อศั วางกรู , 2550) [1] ได้ดงั น้ี

(ท่ีมา : พรศริ ิ จงกล,การออกแบบฉลากวันหมดอายขุ องอาหารสำหรบั ผสู้ ูงอายุ โดยใช้หลกั วศิ วกรรมปัจจยั มนษุ ย์ , มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยสี ุรนารี)

----- 3 ปุ่น คงเจริญเกียรติ และสมพร คงเจรญิ เกยี รต.ิ (2541). บรรจุภณั ฑอ์ าหาร. กรงุ เทพมหานคร : แพคเมทส์.

58

พัฒนหาลบักรสรูตจรุภกัณาฑรอ์ออยก่างแงบ่าบย/

59

A ชื่อรว่ มหรอื เครือ่ งหมายร่วม (Collective Mark) B ตราสินค้า (Brand Name) C ชื่อผลิตภณั ฑ์ (Product Name) D จุดขาย ข้อความประชาสัมพนั ธ์ หรอื บรรยายสรรพคุณของสนิ ค้า รายละเอียดสนิ ค้า ขอ้ บ่งใชห้ รอื วธิ บี รโิ ภค E ขนาดและการบรรจุ (ระบบเมตริก) ถ้าเป็นอาหารผง แห้ง หรือก้อนให้แสดงน้ำหนักสุทธิ ส่วนของเหลวให้แสดงเป็นปริมาตรสุทธิ อาหารในภาชนะบรรจุที่ปิดสนิทถ้าแยกเนื้ออาหารออก จากนั้นให้ แสดงน้ำหนักอาหาร F ข้อมูลทางโภชนาการ (สำหรับผลิตภัณฑ์อาหาร) แสดงรายละเอียดของข้อมูลโภชนาการ ของอาหารนั้น ๆ บนฉลากในรูปของชนิด ของสารอาหารและปรมิ าณของสารอาหารอยภู่ ายในรปู แบบเดียวกัน ข้อมลู ทต่ี ้องแสดงบนฉลากโภชนาการ มดี งั นี้ (1) ข้อมูลที่บังคับ คือ ข้อมูลสารอาหาร ได้แก่ ปริมาณพลังงานทั้งหมด คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วติ ามิน เกลือแร่ สารอาหารที่เปน็ ประโยชน์ต่อระบบทางเดนิ อาหาร (2) ข้อมูลที่ไม่บังคับ ได้แก่ วิตามิน และเกลือแร่อื่น ๆ แต่ต้องระบุต่อท้ายจากเล็ก และ เรียงจากมากไปหาน้อย (3) อาหารที่ต้องแสดงบนฉลากโภชนาการ ได้แก่ อาหารที่มีการกล่าวอ้างทางโภชนาการ อาหารทีม่ ีการใช้คุณค่าทางโภชนาการ เป็นตน้ (4) สินค้าที่ต้องมีฉลากโภชนาการ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์นมผงสำหรับเด็ก ผลติ ภัณฑน์ มสดพร่องมันเนย ผลติ ภัณฑเ์ ครื่องดืม่ บำรงุ รา่ งกาย G คำเตือนหรือข้อควรระวังในการบริโภค ตัวอักษรขนาดไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตร และ คำเตอื นตามท่กี ำหนดสำหรับผลติ ภัณฑ์บางประเภท เช่น เครื่องด่ืมท่ีมคี าเฟอนี อาหารทีว่ ่านหางจระเข้ สรุ า เป็นต้น H สัญลักษณ์รบั รองคุณภาพ รวมถึงรหสั แท่ง (Barcode)

รหัสแท่ง คือ หมายเลขประจำตัวของสินค้าที่แปลงเป็นสัญลักษณ์แท่งสีเข้มสลับสีอ่อน ซึ่งมีความกว้างแตกต่างกัน เพื่อให้การอ่านสัญลักษณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ทำได้อย่างสะดวก รวดเร็ว แม่นยำ และสามารถทำได้ ณ จุดใดกต็ ามที่ตอ้ งการ ไมว่ า่ จะเป็นจดุ ขาย จดุ รบั สนิ คา้ หรอื คลงั สินคา้

(ทมี่ าภาพประกอบ : https://www.creativethailand.net/en/article/detail/447-29---Design-Service-Society-2020)