ก นร อน ช อนกลาง ล างม อ ม ประโยชน

ก นร อน ช อนกลาง ล างม อ ม ประโยชน

แชร์งานครู Teachers Sharing Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท วิทยาศาสตร์กายภาพ 2

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท วิทยาศาสตร์กายภาพ 2 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท วิทยาศาสตร์กายภาพ 2

ก นร อน ช อนกลาง ล างม อ ม ประโยชน

Www.Prapasara Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ม.3 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ม.3 ล.2 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

View Text Version Likes : 0 Category : All Report

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานคณิตศาสตร์ม.3 ล.2

โว! ผลติดตามใช้แท็บเล็ตโดนใจ นร.ภาคกลางมากที่สุด

เผยแพร่: 29 ก.ย. 2556 18:21 โดย: MGR Online

ผลสำรวจชี้ นร.ส่วนใหญ่ถูกใจแท็บเล็ตที่ได้รับแจก โดยเฉพาะ นร.ในภาคกลางชอบมากสุดและบอกใช้งานง่าย ขณะที่ผลสัมฤทธิ์ของ นร.กว่า 60% ดีขึ้นหลังใช้แท็บเล็ตในการเรียน ด้านครูและพ่อแม่เห็นตรงกันแท็บเล็ตทำให้เด็กตื่นตัวต่อการเรียน ขยันทำการบ้านมากขึ้น ส่วนผู้บริหารสถานศึกษา ระบุยังมีปัญหาเรื่องการดูแลรักษาเครื่อง

น.ส.ศศิธารา พิชัยชาญณรงค์ เลขาธิการสภาการศึกษา เปิดเผยว่า สกศ.ได้สำรวจความคิดเห็นเพื่อติดตามผลนโยบายแจกแท็บเล็ตให้นักเรียนชั้นประถมศึกษา (ป.) ปีที่ 1 ระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคมที่ผ่านมา ทำการสำรวจในรูปแบบโฟกัสกรุ๊ปและการส่งแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่าง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1. นักเรียนชั้น ป.1 ถึง ป.6 จำนวน 34,257 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนที่เคยใช้แท็บเล็ตจำนวน 7,916 คน 2. ครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7,916 คน 3. ผู้บริการสถานศึกษา 1,424 คน 4. ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา 367 คน และ 5.ผู้ปกครองนักเรียนจำนวน 25,762 คน

โดยผลการสำรวจพบว่า นักเรียนที่เคยใช้แท็บเล็ตทั้ง 7,916 คนนั้น ส่วนใหญ่ถึงร้อยละ 90.2 รู้สึกชอบแท็บเล็ตที่แจกไป โดยนักเรียนจากภาคกลางรู้สึกชอบแท็บเล็ตมากที่สุดถึง ร้อยละ 93.9 ของกลุ่มตัวอย่างนักเรียนในภาคกลาง ขณะที่นักเรียนภาคเหนือชอบแท็บเล็ตน้อยสุด ร้อยละ 87.2 และถ้าแยกตามสังกัด พบว่า นักเรียนมัธยมในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) ทั้ง 100% ชอบเท็บเล็ต รองลงมาเป็นนักเรียนของโรงเรียนเอกชน ชอบแท็บเล็ตมากที่สุด ร้อยละ 98 ส่วนนักเรียนในโรงเรียนขององค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) ชอบแท็บเล็ตน้อยสุด ร้อยละ 64.3

เลขาธิการ สกศ.กล่าวต่อว่า ยังพบด้วยว่านักเรียนร้อยละ 89.7 ยังรู้สึกว่า แท็บเล็ตที่แจกไปใช้งานง่าย โดยนักเรียนจากภาคกลางรู้สึกว่า แท็บเล็ตใช้งานง่ายมากสุด ร้อยละ 93.1 ส่วนนักเรียนจาก กทม.รู้สึกว่า แท็บเล็ตใช้งานง่ายน้อยที่สุด ร้อยละ 81.7 แยกตามสังกัด พบว่า นักเรียนมัธยมในโรงเรียนสังกัด สพฐ 100% รู้สึกแท็บเล็ตใช้งานง่าย และนักเรียนจากโรงเรียนสังกัด อบจ. รู้สึกว่าแท็บเล็ตใช้งานง่ายน้อยที่สุด ร้อยละ 69 ทั้งนี้ ผลสำรวจพบด้วยว่า นักเรียนร้อยละ 67.9 ผลการเรียนดีขึ้นหลังใช้แท็บเล็ต เป็นนักเรียนจากภาคกลางมากที่สุดเช่นกัน ร้อยละ 76.8 รองลงมาเป็น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยละ 65.2 ภาคเหนือ ร้อยละ 66.4 กรุงเทพฯ ร้อยละ 63.8 และ ภาคใต้ ร้อยละ 61 แยกตามสังกัดพบว่า นักเรียนจากโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน (ตชด.) ผลการเรียนดีขึ้นมากที่สุด ร้อยละ 89.3 รองลงมาเป็น โรงเรียนเอกชน ร้อยละ 87.1 โรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สพฐ. ร้อยละ 66.2 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 64.6 และโรงเรียนสังกัดเทศบาลนคร ร้อยละ 62.7”

“ในส่วนการสำรวจความเห็นจากกลุ่มครู สะท้อนว่าการนำแท็บเล็ตมาใช้ในการเรียนการสอน ทำให้พฤติกรรมนักเรียนเปลี่ยนไป มีความกระตือรือล้น ขยันเรียนมากขึ้น ขยันทำการบ้านและมีการช่วยเหลือให้คำแนะนำระหว่างเพื่อนในการใช้แท็บเล็ตด้วย สอดคล้องกับความเห็นจากกลุ่มผู้ปกครองนักเรียน ซึ่งระบุว่า หลังจากนักเรียนได้ใช้แท็บเล็ตแล้ว ขยันเรียน ขยันทำการบ้านมากขึ้น เด็กสนใจเนื้อหาที่จะสอนในแท็บเล็ตและรู้จักปรึกษาหารือและแก้ปัญหาในการเรียนรู้บทเรียนร่วมกับเพื่อน” น.ส.ศศิธารากล่าว และว่า อย่างไรก็ตาม เมื่อดูผลสำรวจจากกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา มองว่า ประสบปัญหาในการดูแลรักษาเครื่องทั้งในเรื่องค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่อง ไม่มีเจ้าหน้าที่ด้านเทคโนโลยีประจำโรงเรียน รวมถึงปัญหาในการส่งเครื่องไปซ่อมแซมจากศูนย์ซ่อมแซมที่ทางราชการจัดไว้ให้