การไฟฟ าส วนภ ม ภาค ปล กหญ าแฝก เขาชะง ม

หมายเหตุ Prin หรอื จดบันทึกลงในสมุด Recycle เกษตรตัง้ แตห่ นา้ แรกให้พอดีกบั หน้าสมุด หา้ มพับอยา่ งเด็ดขาด

ลงช่อื .................................................... (นายวธัญู ทองเหลือ)

ง30101 การดำรงชวี ติ ฯ 1 ม.4

พนื้ ทที่ ฤษฎใี หม่ 1

เกษตรทฤษฎใี หม่ คอื ?

"ทฤษฎีใหม่" เป็ นแนวทางหรือหลกั ในการบริหารจดั การที่ดินและน้า เพอ่ื การเกษตรในทด่ี ินขนาด เล็กใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ดว้ ยหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทาน พระราชดาริน้ีเพอ่ื เป็นการช่วยเหลือเกษตรกรท่ีประสบความยากลาบาก ใหส้ ามารถผา่ นช่วงวกิ ฤต โดยเฉพาะการขาดแคลนน้าไดโ้ ดยไม่เดือดรอ้ นและยากลาบาก

ทฤษฎีใหม่: ทำไมใหม่ ? มีการบริหารและจดั แบ่งท่ีดินแปลงเล็กออกเป็นสดั ส่วนทชี่ ดั เจน เพอ่ื ประโยชน์สูงสุดของเกษตรกร

ซ่ึงไม่เคยมีใครคิดมาก่อน มีการคานวณโดยหลกั วชิ าการ เกี่ยวกบั ปริมาณน้าท่ีจะกกั เกบ็ ใหพ้ อเพยี งตอ่ การเพาะปลูกไดต้ ลอดปี มีการวางแผนท่สี มบูรณ์แบบ สาหรบั เกษตรกรรายยอ่ ยการจดั สรรพน้ื ทอ่ี ยอู่ าศยั และ ที่ทากินกำร

ดำเนินงำนตำมทฤษฎีใหม่มี 3 ข้นั ตอน คอื

  1. การผลิต ใหพ้ ่งึ ตนเองดว้ ยวิธีงา่ ย คอ่ ยเป็นค่อยไปตามกาลงั ใหพ้ อมีพอกิน
  2. การรวมพลงั กนั ในรูปแบบ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนั ในดา้ นการผลิต การตลาด

ความเป็นอยู่ สวสั ดิการ การศกึ ษา สงั คมและศาสนา

  1. การดาเนินธุรกิจโดยตดิ ตอ่ ประสานงาน จดั หาทุนหรือแหล่งเงิน

2 พนื้ ทที่ ฤษฎใี หม่

ทฤษฎีใหม่ข้นั ต้น ใหแ้ บ่งพ้นื ที่ ออกเป็น 4 ส่วน ตามอตั ราส่วน 30: 30: 30: 10 ซ่ึงหมายถึง

พ้นื ที่ส่วนทห่ี น่ึง ประมาณ 30% ใหข้ ดุ สระเก็บกกั น้า เพอื่ ใชเ้ กบ็ กกั น้าฝนในฤดูฝนและ ใชเ้ สริมการ ปลูกพชื ในฤดูแลง้ ตลอดจนการเล้ียงสตั วน์ ้าและพชื น้าตา่ ง ๆ

พน้ื ทสี่ ่วนที่สอง ประมาณ 30% ใหป้ ลูกขา้ วในฤดูฝน เพอื่ ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั สาหรับ ครอบครวั ใหเ้ พยี งพอตลอดปี เพอื่ ตดั ค่าใชจ้ า่ ยและสามารถพ่งึ ตนเองได้

พน้ื ที่ส่วนทีส่ าม ประมาณ 30% ใหป้ ลูกไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พชื ผกั พชื ไร่ พชื สมุนไพร ฯลฯ เพอ่ื ใชเ้ ป็ น อาหารประจาวนั หากเหลือบริโภคกน็ าไปจาหน่าย

พน้ื ทส่ี ่วนทีส่ ่ี ประมาณ 10% เป็ นทอ่ี ยอู่ าศยั เล้ียงสตั วแ์ ละโรงเรือนอ่ืน ๆ

ทฤษฎใี หม่ข้นั ทสี่ อง เม่ือเกษตรกรเขา้ ใจในหลกั การและไดป้ ฏิบตั ใิ นทดี่ ินของตนจนไดผ้ ลแลว้ กต็ อ้ งเริ่มข้นั ที่สอง คือ

ใหเ้ กษตรกรรวมพลงั กนั ในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกนั ดาเนินการในดา้ น 1.)การผลิต (พนั ธุพ์ ชื เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)

เกษตรกรจะตอ้ งร่วมมือในการผลิตโดยเริ่มต้งั แต่ ข้นั เตรียมดิน การหาพนั ธุพ์ ืช ป๋ ุย การหาน้า และ อ่ืน ๆ เพอ่ื การเพาะปลูก 2.)การตลาด (ลานตากขา้ ว ยงุ้ เคร่ืองสีขา้ ว การจาหน่ายผลผลิต)

เมื่อมีผลผลิตแลว้ จะตอ้ งเตรียมการตา่ ง ๆ เพอื่ การขายผลผลิตใหไ้ ดป้ ระโยชน์สูงสุด 3.)ความเป็นอย(ู่ กะปิ น้าปลา อาหาร เคร่ืองนุ่งห่ม ฯลฯ)

ในขณะเดียวกนั เกษตรกรตอ้ งมีความเป็ นอยทู่ ีด่ ีพอสมควร โดยมีปัจจยั พน้ื ฐานในการดารงชีวติ

พนื้ ทที่ ฤษฎใี หม่ 3

4.)สวสั ดิการ (สาธารณสุข เงินก)ู้ แตล่ ะชุมชนควรมีสวสั ดิภาพและบริการที่จาเป็ น

5.)การศกึ ษา (โรงเรียน ทนุ การศึกษา) ชุมชนควรมีบทบาทในการส่งเสริมการศกึ ษา เช่น มีกองทุนเพอื่ การศกึ ษาเล่าเรียนให้แก่เยาวชนของ

ชุมชน 6.)สงั คมและศาสนา

ชุมชนควรเป็นทีร่ วมในการพฒั นาสงั คมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็นที่ยดึ เหนี่ยว

ทฤษฎใี หม่ข้นั ทสี่ ำม เม่ือดาเนินการผา่ นพน้ ข้นั ทส่ี องแลว้ เกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพฒั นากา้ วหนา้ ไปสู่ข้นั ที่

สามต่อไป คอื ติดต่อประสานงาน เพอ่ื จดั หาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษทั หา้ งรา้ นเอกชน มา ช่วยในการลงทนุ และพฒั นาคุณภาพชีวติ ท้งั น้ี ท้งั ฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคารกบั บริษทั จะไดร้ ับ ประโยชน์ร่วมกนั กล่าวคอื

เกษตรกรขายขา้ วไดใ้ นราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) ธนาคารกบั บริษทั สามารถซ้ือขา้ วบริโภคในราคาต่า (ซ้ือขา้ วเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) เกษตรกรซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดใ้ นราคาต่า เพราะรวมกนั ซ้ือเป็ นจานวนมาก (เป็นรา้ นสหกรณ์ ราคาขายส่ง) ธนาคารกบั บริษทั จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพอ่ื ไปดาเนินการในกิจกรรมตา่ งๆ

ประโยชน์ของทฤษฎใี หม่ ให้ 1.) ประชาชนพออยพู่ อกินสมควรแก่อตั ภาพในระดบั ท่ปี ระหยดั ไม่อดอยาก และเล้ียงตนเองได้

2.) ในหนา้ แลง้ มีน้านอ้ ยกส็ ามารถเอาน้าที่เกบ็ ไวใ้ นสระ มาปลูกพชื ผกั ต่าง ๆ ได้ 3.) ในปี ท่ีฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้าดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น้ีก็สามารถสร้างรายไดใ้ หร้ ่ารวยข้นึ ได้ 4.) ในกรณีท่ีเกิดอุทกภยั ก็สามารถที่จะฟ้ื นตวั และช่วยตวั เองไดใ้ นระดบั หน่ึง โดยทางราชการไม่ ตอ้ งช่วยเหลือมากเกินไป อนั เป็นการประหยดั งบประมาณดว้ ย

อ้ำงองิ

สหกรณ์กำรเกษตรทฤษฎีใหม่บ้ำนถำ้ . เกษตรตำมแนว"ทฤษฎีใหม่" [ออนไลน์]. ไม่ปรำกฏปี แหล่งทม่ี ำ : http://www.sahakornthai.com/tsdbanthum/ [ 14 พฤศจิกำยน 2564 ]

มูลนิธิมน่ั พัฒนำ. "เกษตรทฤษฎใี หม่" แนวพระรำชดำริกำรแบ่งสัดส่วนพนื้ ทีท่ ำกิน เพอ่ื กำรอยู่รอดและ พ่งึ ตนเอง [ออนไลน์]. พ.ศ.2537. แหล่งทม่ี ำ : http://www.shorturl.asia/BobF5/ [ 14 พฤศจิกำยน 2564 ]

4 หญ้าแฝก

หญ้าแฝก

เป็ นพชื ที่มรี ะบบรากลกึ และแผ่กระจายลงไปในดนิ ตรงๆ เป็ นพืชทมี่ ีอายไุ ด้หลายปี ขนึ้ เป็ นกอแน่น มใี บเป็ นรูปขอบขนานแคบปลายขอบแหลม ยาว 35-80 เซนตเิ มตร มสี ่วนกว้าง 5-9 มิลลเิ มตร สามารถ ขยายพนั ธ์ุทีไ่ ด้ผลรวดเร็ว โดยการแตกหน่อจากลาต้นใต้ดิน ในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกใน ส่วนของก้านช่อดอกได้ เม่ือหญ้าแฝกโน้มลงดนิ ทาให้มกี ารเจริญเตบิ โตเป็ นกอหญ้าแฝกใหม่ได้

หญ้าแฝกทพ่ี บในประเทศไทยมอี ยู่ 2 สายพนั ธ์ุคอื

1 หญ้าแฝกดอน รากไม่มีกลนิ่ , ใบโค้งงอ, สูงประมาณ 100-157 เซนตเิ มตร ได้แก่ พันธ์ุราชบุรี

ประจวบครี ีขันธ์ ร้อยเอด็ กาแพงเพชร 1 นครสวรรค์ และเลย

2 หญ้าแฝกลุ่ม ได้แก่ พนั ธ์ุสุราษฎร์ธานี กาแพงเพชร 2 ศรีลงั กา สงขลา 3 และพระราชทาน ฯลฯ หญ้าแฝกหอม มรี ากทม่ี กี ลน่ิ หอม, ใบยาวต้งั ตรง, สูงประมาณ 150-200 เซนตเิ มตร

หญ้าแฝก 5

ลกั ษณะพเิ ศษของหญ้าแฝก

การทห่ี ญ้าแฝกถูกนามาใช้ปลูกในการอนุรักษ์ดินและนา้ เน่ืองมาจากมีลกั ษณะเด่นหลายประการ ดังนี้ ๑.มีการแตกหน่อรวมเป็ นกอ เบียดกนั แน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง ๒.มกี ารแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ต้องดูแลมาก ๓.หญ้าแฝกมขี ้อท่ีลาต้นถี่ ขยายพันธ์ุโดยใช้หน่อได้ตลอดปี ๔.ส่วนใหญ่ไม่ขยายพนั ธ์ุด้วยเมล็ด ทาให้ควบคมุ การแพร่ขยายได้ ๕.มใี บยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรงและทนต่อการย่อยสลาย ๖.ระบบรากยาว สานกนั แน่น และช่วยอุ้มน้า ๗.บริเวณรากเป็ นท่ีอาศัยของจลุ นิ ทรีย์ ๘.ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดี ทนทานต่อโรคพชื ทว่ั ไป ๙.ส่วนทีเ่ จริญตา่ กว่าผวิ ดิน ช่วยให้อยู่รอดได้ดใี นสภาพต่าง ๆ

การปลกู หญ้าแฝกในพนื้ ทเ่ี กษตรกรรม

สาหรับการปลูกหญ้าแฝกในพนื้ ทเี่ กษตรกรรมมจี ดุ ประสงค์ทีส่ าคญั เพ่อื การฟื้ นฟูทรัพยากรดนิ และ การอนุรักษ์ดินและนา้ ซ่ึงประกอบด้วย ๑.การปลูกหญ้าแฝกในพนื้ ที่ลาดชัน

ควรปลูกหญ้าแฝกเป็ นแถวตามแนวระดบั ขวางความลาดเทในต้นฤดูฝน โดยการทาแนวร่องปลูกตามแนวระดับ ใช้ระยะระหว่างต้น ๕ เซนตเิ มตร สาหรับกล้ารากเปลอื ยและระยะ ๑๐ เซนตเิ มตร สาหรับกล้าถงุ ระยะห่างแถวตามแนวดิ่งไม่เกิน ๒ เมตร หญ้าแฝกจะเจริญเติบโตแตกกอชิดกนั ภายใน ๔-๖ เดอื น

๒.การปลูกหญ้าแฝกในพนื้ ทรี่ าบหรือพนื้ ที่ล่มุ ในสภาพพนื้ ทรี่ าบหรือพืน้ ท่ีล่มุ ที่มกี ารปรับสภาพเป็ นแปลงยกร่อง

เพอื่ ปลูกพืชน้ัน สามารถปลูกหญ้าแฝกเป็ นแถวรอบขอบเขตพืน้ ท่ี หรือปลูกที่ขอบแปลงยกร่องหญ้าแฝก จะช่วยยดึ ดนิ ไม่ให้พังทลาย และรักษาความชื้นในดนิ เอาไว้

6 หญ้าแฝก

๓.การปลูกเพอ่ื ควบคุมร่องน้าและกระจายน้า นากลา้ หญา้ แฝกในถุงพลาสติกท่ีมีการแตกกอ และแขง็ แรงดีแลว้ ไปปลูกในร่องน้า

โดยขดุ หลุมปลูกขวางร่องน้า เป็นแนวตรง หรือแนวหวั ลูกศรช้ียอ้ นไปทิศทางน้าไหล อาจใชก้ ระสอบทรายหรือกอ้ นหิน ช่วยทาคนั เสริมฐานใหม้ นั่ คง ตามแนวปลูกหญา้ แฝก ระยะห่างระหวา่ งตน้ ๕ เซนตเิ มตร สาหรับกลา้ รากเปลือย และ ๑๐ เซนติเมตร สาหรับกลา้ ถุง และระหวา่ งแนวปลูกหญา้ แฝกไม่เกิน ๒ เมตร ตามแนวต้งั หลงั จากเกิดคนั ดินก้นั น้า ควรปลูกหญา้ แฝกต่อจากแนวคนั ดินก้นั น้าออกไปท้งั สองขา้ ง เพอื่ เป็นการกระจายน้าเขา้ สู่พ้นื ทีเ่ พาะปลูก

๔.การปลูกเพอื่ รักษาความชุ่มชื้นในสวนผลไม้ ควรปลูกหญ้าแฝกในสวนผลไม้ ระยะทไ่ี ม้ผลยงั ไม่โต หรือปลูกก่อนที่จะลงไม้ผล

โดยปลูกแถวหญ้าแฝกขนานไปกบั แถวของไม้ผลท่ีระยะก่ึงกลาง ของแถวไม้ผล หรือปลกู เป็ นรูปคร่ึงวงกลมให้ห่างจากโคน ต้นไม้ผล ๒.๕ เมตร เพ่ือไม้ผลเจริญเติบโตขนึ้ มาคลุมพนื้ ที่ หญ้าแฝกจะตายไปกลายเป็ นอนิ ทรีย์วตั ถุในดนิ ต่อไป

๕.การปลูกหญ้าแฝกในพนื้ ที่ดอนทปี่ ลูกพชื ไร่ การปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดบั ในพืน้ ทดี่ อนท่ีปลูกพืชไร่ โดยการขุดร่องปลกู ตามแนวระดบั

ระยะห่างระหว่างต้น ๕ เซนตเิ มตร สาหรับกล้ารากเปลอื ย และ ๑๐ เซนติเมตร สาหรับกล้าถงุ ควรใช้ป๋ ุยหมกั รองพนื้ ก่อน ปลูกหญ้าแฝก หรือปลูกหญ้าแฝกเป็ นแนะระหว่างแถวปลูกพืชไร่ และควรปลูกในสภาพดนิ ทีม่ ีความชุ่มชื้น ในช่วงต้นฤดูฝน

หญ้าแฝก 7

๖.การปลูกรอบขอบสระเพอ่ื กรองตะกอนดนิ ควรปลูกตามแนวทีร่ ะดับน้าสูงสุดท่วมถงึ ๑ แนว และปลูกเพม่ิ ขนึ้ อกี ๑-๒ แนวเหนือแนว

แรก ซึ่งขึน้ อยู่กบั ความลกึ ของขอบสระ ระยะห่างระหว่างต้น ๕ เซนติเมตร สาหรับกล้ารากเปลือย และ ๑๐ เซนติเมตร สาหรับกล้าถงุ โดยขุดหลุมปลูกต่อเนื่องกันไป ในระยะแรกควรดูแลปลูกซ่อมแซม ให้แถวหญ้าแฝกเจริญเตบิ โตหนาแน่น เมือ่ น้าไหลบ่ามาลงสระ ตะกอนดนิ ทีถ่ ูกพดั พามากับน้า จะตดิ ค้างอยู่กบั แถวหญ้าแฝก ส่วนนา้ จะค่อย ๆ ไหลผ่านลงสู่สระ และระบบรากของหญ้าแฝกยังช่วยยดึ ตดิ ดินรอบ ๆ ขอบสระไม่ให้เกิดการพังทลาย

ประโยชน์ของหญ้าแฝก

1. ด้านอนุรักษ์ดนิ และนา้

ป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ แถวหญ้าแฝกช่วยกักเก็บตะกอนดนิ

ลดความแรงของน้าที่ไหลบ่า ชว่ ยกกั เก็บน้าไวใ้ นดินและพนื ทต่ี อนบน

ลดการสญู เสียธาตอุ าหารพืชจากพนื ที่

2. ด้านฟื้ นฟแู ละปรับปรุงดนิ

เพม่ิ อินทรียวตั ถุแก่ดิน รักษาความช้ืนในดิน

ช่วยใหด้ ินมีการระบายน้าดีข้นึ ทาใหด้ ินโปร่งและระบายอากาศของดินดี เพมิ่ กิจกรรมของจลุ ินทรียใ์ นดิน

3. ด้านรักษาสภาพแวดล้อม

ช่วยรักษาคณุ ภาพนา้ และแหล่งนา้ ดดู ซับโลหะหนักจากสภาพแวดล้อม

ช่วยในการบาบดั และกรองนา้ เสีย ป้ องกนั การพงั ทลายของไหล่ถนน

อ้างองิ

วิกพิ ีเดยี สารานุกรมเสรี. หญ้าแฝก [ออนไลน์]. แก้ไขเมอ่ื วันท่ี 26 สิงหาคม 2561. แหล่งที่มา : https://www.shorturl.asia/Neuz3 สืบค้นโดย : นางสาวพรวิภา รัตนพนั ธ์ [ 16 พฤศจิกายน 2564 ]

หญ้าแฝกเฉลมิ พระเกยี รติ-กรมพัฒนาทดี่ ิน. ลักษณะพเิ ศษของหญ้าแฝก [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปี แหล่งที่มา : https://www.ldd.go.th/link_vetiver/index.htm สืบค้นโดย : นางสาวพรวิภา รัตนพนั ธ์ [ 16 พฤศจกิ ายน 2564 ]

หญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ-กรมพฒั นาทดี่ นิ . การปลูกหญ้าแฝกในพนื้ ทเ่ี กษตรกรรม [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปี แหล่งท่ีมา : https://www.ldd.go.th/link_vetiver/index.htm สืบค้นโดย : นางสาวพรวิภา รัตนพนั ธ์ [ 16 พฤศจกิ ายน 2564 ]

การใช้ประโยชน์หญ้าแฝกเพอ่ื รักษาความชุ่มชื้นของดินในสวนไม้ผลและไม้ยนื ต้น. การใช้ประโยชน์หญ้า แฝก [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปี แหล่งทม่ี า : https://www.shorturl.asia/sdXGB สืบค้นโดย : นางสาวพรวิภา รัตนพนั ธ์ [ 16 พฤศจกิ ายน 2564 ]

8 ถ่านไบโอชาร์

ถ่านไบโอชาร์

ถ่านชีวภาพ หรือไบโอชาร์ (Biochar) เป็ นผลติ ภณั ฑ์ทใ่ี ช้ในการปรับปรุงดนิ ท่ไี ด้จากกระบวนการ ย่อยสลายเชิงความร้อนของชีวมวลหรือสารอินทรีย์ซ่ึงเป็ นสารประกอบของส่ิงมชี ีวิตทีย่ ่อยสลาย ได้ตาม ธรรมชาติ (เช่น ต้นไม้เศษใบไม้กิ่งไม้เศษวัสดเุ หลอื ทิง้ จากการเกษตร เช่น ฟางข้าว ตอซัง ซังข้าวโพด เปลอื กถั่ว เปลือกผลไม้เหง้ามั นสําปะหลัง เศษอาหารในครัวเรือน หรือมูลสัตว์เป็ น ต้น) กระบวนการย่อย สลายเชิงความร้อนนี้เรียกว่า “ไพโรไลซิส (pyrolysis)”

?

ความแตกต่าง

ถ่านชีวภาพ (Biochar) มีความหมายแตกต่างจากถ่านทัว่ ไป (Charcoal) ตรงจดุ ม่งุ หมายของการใช้ ประโยชน์ คอื เมื่อกล่าวถงึ Charcoal จะหมายถึงถ่านท่ีใช้เป็ นเชื้อเพลิง ขณะที่ Biochar คอื ถ่านทใี่ ช้ ประโยชน์เพอ่ื กกั เกบ็ คาร์บอนลงดนิ และปรับปรุงดิน

คุณสมบัตขิ องถ่านไบโอชาร์

มีช่องวา่ งหรือรูพรุนในตวั ถ่านมากตามประเภทของวสั ดุทน่ี ามาเผา เป็นคาร์บอน 100 % สามารถเก็บป๋ ุยและน้าไดม้ ากในรูพรุนของวสั ดุทน่ี ามาทาถ่านชีวภาพ มีความเสถียรสูง สามารถอยใู่ นดินไดเ้ ป็ นเวลานาน เมื่อเกบ็ กกั ป๋ ยุ และน้า พชื สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นระยะเวลายาวนาน จึงช่วยกกั เกบ็ น้าในภาวะแหง้ แลง้

ถ่านไบโอชาร์ 9

การใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมหี ลายด้าน เช่น

1 นําไปปรับปรุงดินเพอื่ ปลูกพืช

การปรับปรุงดิน และช่วยเพม่ิ ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการ ปลูกไดอ้ ีกดว้ ย แลว้ แต่ชนิดของพชื ท่ีปลูก เช่น พืชไร่เช่น ปลูกขา้ ว ขา้ วโพด

ใชเ้ ป็ นวสั ดุปลูกร่วมกบั วสั ดุอื่น เพอ่ื ผลิตผลผลิตทางการเกษตร วสั ดุเพาะตน้ กลา้ ช่วยทาให้เติบโตไดด้ ี เช่น ไบโอชาร์เปลือกกาแฟใชเ้ พาะตน้ กลว้ ย ไบโอชาร์แกลบใช้ เพาะผกั ผกั สลดั เป็นตน้ ดินปลูกผสมไบโอชาร์ ช่วยลดเวลาผลผลิต เช่น กระเจ๊ียบ ดอกแค เป็นตน้ ช่วยลดตน้ ทุนการทาเกษตร โดยใชเ้ พยี งดินปลูกผสมไบโอชาร์ โดยทไี่ ม่ตอ้ งเติมป๋ ุยเพม่ิ เตมิ ทาใหช้ ่วย ลดตน้ ทุนการผลิตสาหรบั เกษตรกร

2 การดูดซับแก๊สและลดกลน่ิ 2 ลดกล่ินและแกส๊ เรือนกระจกของการหมกั ป๋ ุย และช่วยตรึงไนโตรเจน ทาใหป้ ๋ ุยหมกั มีปริมาณ

ไนโตรเจนเพมิ่ ข้ึนและลดระยะเวลาการหมกั ดูดซบั กลิ่นและแก๊สจากมูลสตั วใ์ นฟาร์ม รวมถึงระบบบาบดั น้าเสียในฟาร์ม

3 การดูดซับแร่ธาตุทป่ี นเปื้ อนไปในแหล่งนํา้ 2 ฟอสเฟต

ไนเตรท

10 ถ่านไบโอชาร์

4 การดูดซับสารเคมีและโลหะหนกั 2 การลดการดูดซบั สารเคมีท่ีใชก้ าจดั วชั พชื และศตั รูพชื และลดการดูดซบั โลหะหนกั ทีอ่ ยใู่ นดินและน้า

ของพชื ทีป่ ลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีและโลหะหนกั กลุม่ น้ีไว้ ทาใหล้ ดผลกระทบตอ่ พชื ท่ีปลูกจาก สารเคมีและโลหะหนกั ทีป่ นเป้ื อน โดยเฉพาะพชื ผกั สวนครัวและพชื สมุนไพร

การบาบดั น้าเสียหรือแหล่งน้าทม่ี ีการปนเป้ื อนโลหะหนกั และสารเคมี ใชด้ ูดซบั น้ามนั ปิ โตรเลียม

5 ตัวเร่งปฏิกริยา 2 การผลิตไบโอดีเซล

การผลิตไบโอแก๊สจากน้าเสีย บาบดั น้าเสีย

6 ลดนํา้ หนักของวัสดุ 2 ใชเ้ ป็นส่วนผสมอิฐและปูนซีเมนตเ์ พอื่ ช่วยลดน้าหนกั

7 อิเลก็ ทรอนิกส์ 2 ใชเ้ ป็นวสั ดุเพอื่ ผลิตช้ินส่วนอิเลก็ โทรนิกส์

ผลิตกราฟี น

อ้างองิ

ถ่านชีวภาพในการเกษตร. ถ่านชีวภาพคอื ...อะไร? [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปี แหล่งที่มา : http://pirun.ku.ac.th/~fsocoss/whatchar.html สืบค้นโดย : นางสาวพรวภิ า รัตนพนั ธ์ [ 23 พฤศจกิ ายน 2564 ]

มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้. การผลติ ถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์ [ออนไลน์]. วนั ที่เขียน 26 ตลุ าคม 2562. แหล่งที่มา : https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1072 สืบค้นโดย : นางสาวพรวภิ า รัตนพนั ธ์ [ 23 พฤศจิกายน 2564 ]

BAMBOO REFORM. ถ่านไบโอชาร์ ถ่านชีวภาพ [ออนไลน์]. ไม่ปรากฏปี แหล่งที่มา : http://www.bambooreform.com/product/biochar/ สืบค้นโดย : นางสาวพรวิภา รัตนพนั ธ์ [ 23 พฤศจิกายน 2564 ]

ปักชำควบแน่น 11

ปักชำควบแน่น

การขยายพนั ธุพ์ ชื แบบควบแน่น สามารถนาไปใชก้ บั พชื ไดห้ ลายชนิด เช่น มะนาว มะกรูด ชมพู่ สะเดา มะเด่ือ หม่อนบราซิล ทบั ทมิ แคนา แคป่ า มะกอก มะไฟ ตะขบป่ า พชื ผกั พน้ื บา้ น ไมผ้ ล ไมป้ ่ า พชื สมุนไพร แมงลกั ผกั แพว ผกั ขม ฯลฯ การขยายพนั ธุพ์ ชื ดว้ ยวธิ ีน้ีมีขอ้ ดีคือ สามารถขยายพนั ธุไ์ ดค้ รั้งละ มากๆ ตามที่ตอ้ งการ พชื ไม่กลายพนั ธุแ์ ละมีความแขง็ แรง

อปุ กรณ์ทตี่ ้องใช้ในกำรปักชำควบแน่น ต้นทองอุไร

1. ยอดทองอุไร 2. ดิน 3. แกว้ น้าพลาสติกขนาด 8 ออนซ์ถึง 10 ออนซ์ 4. ถุงพลาสติกขนาด 6 x 11 นิ้ว 5. หนงั ยาง 6. น้าสะอาด

12 ปักชำควบแน่น

ข้นั ตอนในกำรขยำยพันธ์ต้นทองอไุ ร แบบกำรปักชำควบแน่น 1. ทาใหด้ ินร่วนซุยและผสมน้าสะอาด แลว้ คลุกเคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั เพอ่ื ใหค้ วามช้ืนสม่าเสมอ

2. ตรวจสอบดินเพอื่ ให้เหมาะทจ่ี ะปักชาควบแน่น โดยการป้ันใหด้ ินติดกนั เป็ นกอ้ น

3. นาแกว้ น้าพลาสตกิ ขนาด 8ออนซ์ถึง10ออนซใ์ ส่ดิน 3คร้ังและกดใหแ้ น่น แน่นประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์

ปักชำควบแน่น 13

4. หลงั จากใส่ดินใหแ้ น่นแลว้ ใหต้ รวจสอบวา่ ดินแน่นโดยการบบี แกว้

5. ใชไ้ มห้ รือกรรไกรเสียบลงไปในดิน 3 ส่วนของดินท้งั หมด 4 ส่วน โดยเสียบไปตรงกลางและ โยกไมเ้ ลก็ นอ้ ย

6. นายอดทองอุไรเสียบลงไปในดินและกดใหแ้ น่นเพอ่ื ไม่ใหย้ อดทองอไุ รเคลื่อนทไี่ ด้

14 ปักชำควบแน่น

7. นาถุงพลาสตกิ ขนาด 6x11 น้ิวสวมยอดทองอุไรจนถึงแกว้

8. นาหนงั ยางรดั ถุงพลาสตกิ กบั แกว้ และดึงถุงพลาสตกิ ข้นึ

9. บนั ทกึ ขอ้ มูลและเสร็จส้ินการขยายพนั ธุต์ น้ ทองอุไรดว้ ยการปักชา แบบควบแน่น

อ้ำงองิ นำยเฉลมิ พีรีจำกศูนย์เรียนรู้โครงกำรอันเนอ่ื งมำจำกพระรำชดำริบ้ำนวดั ใหม่. วิธีกำรขยำยพนั ธ์ุพชื ด้วยกำร ปักชำ แบบควบแน่น [ออนไลน์]. 2562. แหล่งท่ีมำ : http://www.konglakuentin.com/glaroo/190401060818 สืบค้นโดย : นำงสำวพรวภิ ำ รัตนพนั ธ์ [ 5 ธันวำคม 2564 ]

การเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง 15

จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง คอื

จุลนิ ทรีย์ท่ีเป็ นประโยชน์ต่อพืช เป็ นส่ิงมชี ีวติ ขนาดเลก็ ทพ่ี บได้ทั่วไปตามธรรมชาตทิ ้งั ในดนิ และนา้ ทาหน้าทก่ี าจัดของเสีย ก๊าซและสารพษิ ต่าง ๆ

อปุ กรณ์ทใ่ี ช้สาหรับการเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง

1.ไข่ไก่ 1 ฟอง 2.นา้ ปลา 3.ผงชูรส 4.กะปิ 5.ขวดน้าขนาด 1.5 ลิตร 6.นา้ จากแหล่งน้าต่างๆ 7.เปลอื กไข่ละเอยี ด 8.ถ้วยและช้อนสาหรับผสม

16 การเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง

ข้นั ตอนในการขยายพันธ์ต้นทองอุไร แบบการปักชาควบแน่น 1. ตอกไข่ 1 ฟองใสภ้ าชนะแลว้ ตไี ข่ จากน้นั ใส่น้าปลา 1 ชอ้ นโตะ๊

2. ใส่ผงชูรส 1 ชอ้ นโตะ๊ พนู ๆ จากน้นั คนน้าปลา ไข่ และผงชูรสให้เขา้ กนั

3. นากะปิ คร่ึงชอ้ นโตะ๊ มาละลายน้า 2 ชอ้ นโตะ๊

การเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง 17

4. นากะปิ ท่ลี ะลายไวใ้ ส่ลงในไข่ที่เตรียมไวก้ ่อนหนา้ น้ี และคนใหเ้ ขา้ กนั

5.นาน้าจากแหล่งต่างๆใส่ในขวดน้าขนาด 1.5 ลิตร

6. นาอาหารของจลุ ินทรียส์ งั เคราะหแ์ สงท่ที าไวใ้ ส่ลงในน้าขวดละ 1 ชอ้ นโตะ๊

18 การเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง

7. นาเปลือกไข่ละเอียดใส่ลงไป ในน้าแตล่ ะขวด

8. เสร็จแลว้ นาไปตากแดดจนแดง เมื่อแดงแลว้ สามารถนามาใชไ้ ด้

เมือ่ หมักจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์แสงแล้วเป็ นสีเขยี ว คุณมาถูกทางแล้ว หากอยากให้มสี ีแดง ให้ตาก แดดทงิ้ ไว้ต่อไป จนกว่าจะเปลยี่ นจากสีเขยี วเป็ นแดง ท้งั นี้ ขนึ้ อยู่กบั จานวนแบคทเี รียทมี่ กี าร เติมไข่หรือหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงสีแดงเพ่ิมเข้าไป จะช่วยเร่งปฏกิ ิริยาให้สีชัดเจนยิง่ ขนึ้

การเพาะจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง 19

ประโยชน์ของจลุ นิ ทรีย์สังเคราะห์แสง

1.ช่วยตรึงไนโตเจนในดิน เพ่ิมไนโตเจนให้กบั พชื 2.เร่งการเจริญเตบิ โต ทาให้พืชแข็งแรงแล้วโตเร็วเป็ น 3 เท่า 3.เมอื่ ใช้ทางดินทาให้รากพืชแข็งแรงและหาอาหารได้ดีขนึ้ ใช้กับนาข้าววง ช่วยเร่งการแตกกอของข้าว 4.ช่วยในการย่อยธาตุอาหารและวตั ถุอนิ ทรีย์ในดนิ เพอื่ ให้พชื ดูดซึมไป ใช้ได้อย่างง่ายดาย 5.ป้ องกนั พืชโดยการทาลายจลุ นิ ทรีย์ไม่ดใี นดนิ ทเ่ี ป็ นสาเหตทุ ่ที าให้เกดิ โรคพืช

รูปตัวอย่าง

อ้างองิ เว็บออร์แกนิค ฟาร์ม ไทยแลนด์. วธิ ีทาจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง [ออนไลน์]. 5 พฤษภาคม 2017. แหล่งทม่ี า : https://shorturl.asia/8tGVC สืบค้นโดย : นางสาวพรวภิ า รัตนพนั ธ์ [ 10 ธันวาคม 2564 ]

เกษตรอนิ ทรีย์. ทาหัวเชือ้ สังเคราะห์แสงใช้เองยังไงให้แดง [ออนไลน์]. ไม่ปรากฎปี . แหล่งท่มี า : https://shorturl.asia/AY65C สืบค้นโดย : นางสาวพรวภิ า รัตนพนั ธ์ [ 10 ธันวาคม 2564 ]

Wealthy rich channel. วิธีทาจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์แสงใช้เอง แบบไม่มหี ัวเชื้อ ทาตามสูตรนี้แดงแน่นอน [ออนไลน์]. 10 สิงหาคม 2018. แหล่งท่มี า : https://shorturl.asia/l45xR เรียบเรียงโดย : นางสาวพรวภิ า รัตนพนั ธ์ [ 10 ธันวาคม 2564 ]

ผลงานจุลนิ ทรีย์สังเคราะห์แสง

จลุ ินทรียส์ ังเคราะหแ์ สง เร่ิมทาเม่อื วนั ท่ี 11 ธนั วาคม 2564 เริ่มมสี ีแดงเม่อื วนั ท่ี 1 มกราคม 2565

ร.9ส่งเสริมกำลังใจเกษตรกรด้วยวิธีใด

๑. เป็นการศึกษาทดลองวิธีการปรับปรุงดินเสื่อมโทรม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงดินให้แก่เกษตรกรรมในบริเวณใกล้เคียง ๒. สามารถใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณโครงการให้ได้ประโยชน์สูงสุด ๓. พัฒนาแหล่งน้ำ และปลูกไม้ยืนต้น ๔.เป็นแหล่งค้นคว้า ศึกษาหาความรู้ของเกษตรกร และบุคคลทั่วไป เพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางการพัฒนาต่อไป

หลักการของการอนุรักษ์ดินมีกี่หลักการ

แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรดิน.

1. การอนุรักษ์โดยลดการไถดิน (Conservation tilling ) ... .

2. การปลูกพืชเป็นแนว (Strip cropping) ... .

3. การปลุกพืชขนานตามพื้นผิว (Contour farming) ... .

4. การเพาะปลูกแบบขั้นบันได (Terracing) ... .

5. การปรับปรุงร่องน้ำ (Gully reclamation) ... .

6. การสร้างแนวกันลม (windbreak).

วิธีการปลูกพืชอย่างไรจึงเป็นการอนุรักษ์ดินไปด้วย

สามารถทำได้ 3 แบบ คือ การปลูกไม้ยืนต้น ควบคู่กับพืชเกษตร การปลูกไม้ยืนต้นควบคู่กับพืชอาหารสัตว์และเลี้ยงสัตว์ และการปลูกไม้ยืนต้นควบคู่กับพืชเกษตรและเลี้ยงสัตว์ ซึ่งจะช่วยลดการพังทลายของดิน ช่วยรักษาสมดุลของธาตุอาหารในดิน และช่วยเก็บความชุ่มชื้นในดิน

โครงการพัฒนาดิน มีอะไรบ้าง

5 ธันวารำลึกวันดินโลก สะท้อนพระปรีชาสามารถของร.9 ไปทั่วปฐพี.

โครงการศึกษาฟื้นฟูที่ดินเสื่อมโทรมเขาชะงุ้ม ... .

โครงการแกล้งดิน ... .

โครงการหญ้าแฝก ... .

โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อน ... .

โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย ... .

โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยฮองไคร้.