Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

ระยะห่างวาล์วของรถรุ่นต่างๆ ที่ผมจะเสนอวันนี้เป็นของรถจักรยายนต์ ยี่ห้อฮอนด้าดังนี้ ครับ Honda Dream ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Dream-Excess ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Dream-New ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Dream-125 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm.

Honda Wave100 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Wave110 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Wave125 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Wave125-i ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Nice100 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Nice110 ไอดี 0.05 mm. ไอเสีย 0.05 mm. Honda Sonic125 ไอดี 0.06 mm. ไอเสีย 0.27 mm. Honda CBR150 ไอดี 0.16 mm. ไอเสีย 0.25 mm. Honda Phantom200 ไอดี 0.10 mm. ไอเสีย 0.10 mm. Honda Click ไอดี 0.16 mm. ไอเสีย 0.25 mm. Honda AirBlade ไอดี 0.16 mm. ไอเสีย 0.25 mm.

Yamaha Mio ไอดี 0.06-0.10 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha Fino ไอดี 0.06-0.10 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha Nouvo ไอดี 0.06-0.10 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha Mio125 ไอดี 0.08-0.12 mm. ไอเสีย 0.16-0.20 mm. Yamaha Nouvo Elegance ไอดี 0.08-0.12 mm. ไอเสีย 0.21-0.25 mm. Yamaha X-1 ไอดี 0.05-0.09 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha Spark RX ไอดี 0.05-0.09 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha Spark Nano ไอดี 0.05-0.09 mm. ไอเสีย 0.08-0.12 mm. Yamaha X1-R ไอดี 0.10-0.14 mm. ไอเสีย 0.16-0.20 mm. Yamaha Spark135 ไอดี 0.10-0.14 mm. ไอเสีย 0.16-0.20 mm. Yamaha Spark135 Fi ไอดี 0.10-0.14 mm. ไอเสีย 0.16-0.20 mm.

ระยะ หว่างวาล์วที่ว่านี้เราใช้ ฟิลเลอร์เกจวัดนะครับ ส่วนการตั้งระยะห่างวาล์วด้วยการกะเอา เราไม่ว่ากันครับแล้วแต่ท่านจะถนัด ขอให้วาล์วไม่ยันจนสตาร์ทไม่ติด หรือวาล์วห่างจนเสียงดังแต๊กๆๆๆ นั้ก็เกินไป เอาแบบพอดีพอดีนะครับ

ที่มา : ubonmotorcyc.com

จากลิงค์

Credit : รูปโคโยตี้

เชื่อว่าชาวสองล้อต้องเคยเจอเหตุการณ์ อาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้นหลังจากที่ขี่รถจักรยานยนต์มาเป็นเวลานาน ซึ่งเป็นปัญหาที่สามารถพบเจอได้ทั้งรถจักรยานยนต์แบบมีเกียร์และรถจักรยานยนต์ออโตเมติก วันนี้เราเลยจะพาไปหาสาเหตุการเกิดอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้นในรถจักรยานยนต์กันว่าเกิดจากอะไรได้บ้าง รวมถึงวิธีป้องกันอาการดังกล่าว สาเหตุที่ทำให้รถเกิดอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้น

Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

1.หัวเทียนเสื่อมสภาพ

หัวเทียน คือชิ้นส่วนที่ทำหน้าที่สร้างประกายไฟเพื่อจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ ทำให้เกิดแรงดันในกระบอกสูบซึ่งจะไปเดินเครื่องยนต์ของรถจักรยานยนต์ ดังนั้น เมื่อรถจักรยานยนต์มีอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้น ก็เป็นไปได้ว่าอาจเกิดจากความผิดปกติของหัวเทียน

สภาพปกติของหัวเทียน บริเวณปลายฉนวนหุ้มควรมีสีเหลืองน้ำตาลปนคราบสีเทา บริเวณเขี้ยวหัวเทียนอาจมีการสึกหรอเล็กน้อย แต่หากพบว่าปลายหัวเทียนมีคราบน้ำมันหรือคราบเขม่าสีดำเกาะที่ปลายฉนวน หรือเขี้ยวหัวเทียนละลายจนกลายเป็นสีขาว ซึ่งเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความร้อนสะสมมากเกินไป มีน้ำมันเครื่องไหลเข้าไปในห้องเผาไหม้ หรือแหวนในลูกสูบหลวมทำให้หัวเทียนจุดระเบิดได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ ไส้กรองอากาศอุดตัน เป็นต้น หากพบว่าหัวเทียนอยู่ในสภาพดังกล่าวควรรีบเปลี่ยนหัวเทียนโดยให้ผู้เชี่ยวชาญหาสาเหตุที่ทำให้หัวเทียนเสื่อมสภาพและซ่อมแซม

Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

2.คอยล์หัวเทียนเสื่อมสภาพ

คอยล์หัวเทียน (Ignition Coil) คืออุปกรณ์แปลงแรงเคลื่อนของกระแสไฟจากกระแสไฟแรงต่ำเป็นกระแสไฟแรงสูงไปยังหัวเทียนเพื่อให้หัวเทียนสามารถสร้างประกายไฟและจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ได้ นั่นหมายความว่า ต่อให้หัวเทียนอยู่ในสภาพดี แต่ถ้าคอยล์หัวเทียนเสื่อมสภาพและไม่สามารถส่งกระแสไฟฟ้าไปที่หัวเทียนได้ หัวเทียนก็จะทำงานได้ไม่เต็มที่ ส่งผลให้รถจักรยานยนต์มีอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้นได้เช่นกัน ดังนั้น เปลี่ยนหัวเทียนแล้วก็ควรอย่าลืมดูด้วยว่าคอยล์หัวเทียนยังใช้ได้อยู่หรือเปล่า

Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

3.ระบบเบรก

ระบบเบรกก็อาจเป็นอีกหนึ่งสาเหตุของอาการเครื่องสะดุดและเร่งไม่ขึ้นได้เช่น ในกรณีที่ลูกสูบเบรกหรือดรัมเบรกเสื่อมสภาพ เครื่องยนต์ก็จะทำงานหนักขึ้น และอาจส่งผลให้ระบบคันเร่งเกิดปัญหาตามมาได้

Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

4.น้ำมันเครื่อง

การทำงานอย่างลื่นไหลของเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์ต้องอาศัยน้ำมันเครื่องเป็นตัวช่วย และเนื่องจากน้ำมันเครื่องมีอายุการใช้งานจำกัดและอาจมีความหนืดเพิ่มขึ้นได้หลังจากใช้งานไปนานๆ ซึ่งแน่นอนว่าต้องส่งผลโดยตรงต่อการทำงานของเครื่องยนต์ จากที่เคยเร่งเครื่องได้แรงดั่งใจก็อาจจะมีอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้นได้ ดังนั้น เจ้าของรถจักรยานยนต์จึงต้องคอยตรวจเช็กสภาพและเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องอยู่เสมอ โดยปกติอายุการใช้งานของน้ำมันเครื่องรถจักรยานยนต์จะแตกต่างกันไปตามรุ่นของรถจักรยานยนต์ ซึ่งจะอยู่ที่ประมาณ จะอยู่ที่ประมาณไม่เกิน 5,000 กิโลเมตร

Yamaha fresh ค ม อการว ดน ำม นเคร อง

5.ที่กรองน้ำมันเชื้อเพลิง

ที่กรองน้ำมันเชื้อเพลิง ทำหน้าที่ช่วยกรองฝุ่นหรือสิ่งสกปรกที่อยู่ในน้ำมันเชื้อเพลิง หากที่กรองน้ำมันเชื้อเพลิงเกิดการอุดตันก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาอาการเครื่องสะดุดหรือเร่งไม่ขึ้นได้ ดังนั้น ที่กรองน้ำมันเชื้อเพลิงก็ควรต้องเปลี่ยนเมื่อครบกำหนดเช่นเดียวกับชิ้นส่วนอื่นๆ

วิธีป้องกันไม่ให้เกิดอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้น

สาเหตุของอาการเครื่องสะดุด เร่งไม่ขึ้นทั้ง 5 ข้อที่กล่าวไปนั้นสามารถป้องกันได้ง่ายๆ ด้วยการตรวจเช็กสภาพรถจักรยานยนต์อยู่เสมอและซ่อมบำรุงตามระยะเวลาที่กำหนด ไม่ควรรอให้ชิ้นส่วนใดชิ้นส่วนหนึ่งเสื่อมสภาพหรือเสียหายจนส่งผลต่อการทำงานของเครื่องยนต์รถจักรยานยนต์แล้วค่อยซ่อม เพราะบางทีอาจจะทำให้มีค่าใช้จ่ายมากกว่าเดิม หรือแย่กว่านั้นก็คืออาจจะเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุบนท้องถนนได้ เพื่อที่จะดูแลรักษามอเตอร์ไซค์ให้ใช้งานได้นานขึ้น สามารถเข้าไปสอบถามรายละเอียดรถเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์ผู้จำหน่ายรถจักรยานยนต์ยามาฮ่า ทุกสาขาทั่วประเทศ