ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

1. เข้าไปที่เมนู Advance Features > Softacalos Auto Installer ใน DirectAdmin

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

2. เลือก CMS ที่ต้องการจะติดตั้ง ในที่นี่จะเลือกเป็น Wordpress คลิก Install

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

3. ทำการเซ็ตค่าตามที่ต้องการ ในที่นี่จะเลือก

  • Choose Protocal เป็น http://
  • Choose Domain เป็น cutieladyshop.com
  • In Directory เป็น wp (หากต้องการให้ไฟล์เว็บอยู่ที่ public_html ไม่ต้องกรอกช่องนี้)

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

4. ทำการเซ็ตค่าตามที่ต้องการ ส่วนของ Site Setting

  • Site Name : กำหนดชื่อของเว็บไซต์
  • Site Description : กำหนดคำอธิบายเว็บไซต์

ส่วนของ Admin Account

  • Admin Username : กำหนดชื่อผู้ใช้ที่ต้องการสำหรับเข้าใช้งานในส่วนของผู้ดูแลระบบ
  • Admin Password : กำหนดรหัสที่ต้องการสำหรับเข้าใช้งานในส่วนของผู้ดูแลระบบ
  • Admin Email : กรอกอีเมลผู้ดูแลระบบ เพื่อรับข่าวสาร

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

ส่วนของ Choose Language

  • เลือกภาษาที่ต้องการจะใช้ คลิก Install แล้วรอซักครู่

ส่วนของ Select Theme

  • เลือก Theme ที่ต้องการจะใช้

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

5. กด Install แล้วรอซักครู่

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html
ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

6. เมื่อเสร็จแล้ว กดเข้าที่ลิงก์เพื่อเข้าหน้าเว็บไซต์

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

2.1 ดาวน์โหลดไฟล์ WordPress ได้ที่เว็บไซต์ wordpress.org/download/ หรือถ้าใครอยากโหลดภาษาไทยเลยก็โหลดได้ที่ th.wordpress.org ได้เลยค่ะ

2.2 เสร็จแล้วให้ทำการแตกไฟล์ซิปที่ได้มาออก ก็จะได้โฟลเดอร์ชื่อ wordpress ที่มีไฟล์ต่าง ๆอยู่ข้างใน

ดังรูปต่อไปนี้

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

ขั้นตอนที่ 3 ตั้งค่าไฟล์ wp-config.php

3.1 ทำการเปลี่ยนชื่อไฟล์จาก wp-config-sample.php ให้เป็น wp-config.php

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

3.2 ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ wp-config.php ใช้โปรแกรมประเภท text editor ในการเปิดไฟล์ เช่น Sublime Text, EditPlus, NotePad, WordPad

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

3.2 เมื่อเปิดไฟล์ขึ้นมาจะมีโค้ดที่เราต้องเข้าไปแก้ไขข้อมูลเพื่อให้ตัว WordPress เชื่อมกับ Database ได้

ตามตัวอย่างใช้ Sublime Text เปิดไฟล์ wp-config.php จะได้หน้าตาตามรูปดังต่อไปนี้

ให้เราเปิดข้อมูลที่เราสร้างไว้ในขั้นตอนที่1 ตามรูปภาพ 1.4 เพื่อนำมากรอกในส่วนที่ทำตัวอักษรสีแดงไว้

เสร็จแล้ว Save as

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

อธิบาย config เพิ่มเติม

  • DB_NAME – ให้ใส่ ชื่อของ database ที่เราสร้างมาเมื่อกี้
  • DB_USER – บน localhost ปกติจะถูกตั้งให้เป็น root (ถ้าเป็นการติดตั้ง WordPress บน hosting ส่วนใหญ่จะใช้ชื่อเหมือนกับ DB_NAME หรือถ้า hosting ตั้งค่าอย่างอื่นไว้ก็ถามได้จาก admin ที่ดูแล hosting นั้นได้)
  • DB_PASSWORD – ใส่ password ของ database
  • DB_HOST – ใช้ localhost ไม่ต้องเปลี่ยน

ขั้นตอนที่ 4 อัพโหลดไฟล์ WordPress ขึ้นสู่ Server

4.1 ขั้นตอนการอัพโหลดนี้เราจะต้องมีโปรแกรม FileZilla สมารถโหลดได้ที่ >> FileZilla

โปรแกรม FileZilla จะแบ่งเป็นส่วนไว้ 2 ส่วนคือส่วนที่เป็นฝั่งคอมพิวเตอร์ของเราเอง เเละฝั่งของเซฟเวอร์

ในส่วนกรอบสีแดงคือ การที่เราเชื่อมเซฟเวอร์ได้รวดเร็วขึ้นถ้าเราเคยเชื่อมเซเวอร์ไว้ก่อนหน้านี้เเล้ว

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

4.2 เปิดEmail ที่ใช้ลงทะเบียนกับ rukcom เเล้วคลิกอ่าน email

ตัวอย่าง : อีเมล์ [Ruk-Com] ข้อมูลการใช้งาน Control Panel (ชื่อ Domain) * หากอีเมล์หายสามารถแอดไลน์ ไอดี : @rukcom เพื่อขอข้อมูลการใช้งานใหม่อีกครั้ง

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

4.3 เมื่อเข้าไปเเล้วเลื่อนลงมาหาคำว่า FTP Account

เราจะนำข้อมูลในส่วนนี้มาใช้งานในการเชื่อมส่วนคอมพิวเตอร์เข้ากับเซิฟเวอร์

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

4.4 เปิดโปรแกรม FileZilla ขึ้นมา

ส่วนที่1 กรอกข้อมูล FTP Account ตามที่ได้จากอีเมล์

ส่วนที่2 เปิดไฟล์ WordPress ที่เราเเตกไฟล์ไว้ตอนเเรกเมื่อกดโฟรเดอร์ WordPress ข้อมูลไไฟล์ข้างในทั้งหมดจะแสดงในส่วนข้างล่าง

ส่วนที่ 3 กด Domain >> DomainName ของเรา >> เลือก public_html ข้อมูลในไฟล์จะแสดงในส่วนด้านล่างให้ทำการลบไฟล์และโฟร์เดอร์ทั้งหมดออก

ต ดต ง wordpree ไม ม public_html

รูปขั้นตอนในส่วนที่ 3

ดับเบิลคลิกเข้าโฟรเดอร์ public_html ลากคลุมไฟล์ทั้งหมด >> คลิกขวา >> delete เพื่อลบข้อมูลข้างในทั้งหมด