The meg ม นถ กด ดแปลงมาจากนวน ยายท แต งโดย

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา องค์การทนุ เพื่อเด็กแหง่ สหประชาชาติ (ยนู ิเซฟ) ประเทศไทย

372.21 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ส691น แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี 140 หน้า ISBN : 978-616-270-157-3 1. สมรรถนะของเด็กปฐมวัย 2. เด็กปฐมวยั 3. ชื่อเรื่อง แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพมิ่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สิ่งพมิ พ์ สกศ. อันดับที่ 5/2561 พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1 มีนาคม 2561 จำนวน 6,000 เลม่ ผูจ้ ัดพิมพเ์ ผยแพร่ สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา 99/20 ถนนสโุ ขทยั เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 02 668 7123 ต่อ 2513, 2512 โทรสาร 02 243 1129 Website : http://www.onec.go.th พิมพ์ท่ ี บริษทั พรกิ หวานกราฟฟิค จำกดั 90/6 ซอยจรัญสนิทวงศ์ 34/2 ถนนจรญั สนทิ วงศ์ แขวงอรณุ อมรนิ ทร ์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศพั ท์ 02 424 3249, 02 424 3252 โทรสาร 02 424 3249, 02 424 3252 E-mail: [email protected]

แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี คำนำ รฐั บาลปจั จบุ นั (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี ไดใ้ หค้ วามสำคญั อยา่ งมาก เกี่ยวกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงปฐมวัยอันหมายถึงเด็กแรกเกิด (รวมทั้งเด็กในครรภ์) จนถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีท่ี 1 และมีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ มาตรา 54 วรรค 1 และวรรค 2 โดยในการดำเนินการดังกล่าว รัฐบาลไดจ้ ดั ให้มีการดำเนนิ งาน หลายประการทมี่ งุ่ ผลการดำเนนิ งานท่ีเป็นรูปธรรม ชัดเจน ในกรอบเวลาที่เร่งด่วน ในกระบวนการดำเนินการดังกล่าวหมายรวมถึงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม มีการส่งเสรมิ และปรบั ปรงุ คุณภาพของการให้บรกิ ารแก่พ่อแม่ ผูป้ กครอง ครู อาจารย์ ผ้ดู ูแลเด็ก ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และผู้ท่ีเก่ียวข้อง และการจัดทำระบบข้อมูลที่สามารถนำมา ใช้ในการวางแผน การติดตามการดำเนินงาน และเป็นกุญแจหลักของการพัฒนาเด็กปฐมวัย คือ ประสิทธิผล หรือผลลพั ธท์ ี่มคี ณุ ภาพซึง่ อยทู่ ตี่ วั เดก็ เปน็ สำคัญ ดว้ ยเหตุนี้ การใชส้ มรรถนะซึ่งเป็นตวั บง่ ชี้พฤติกรรมของเด็ก หรือการท่ีเด็ก “ทำได้” จึง เป็นเร่ืองสำคัญ การมีแนวแนะ (Guidelines) ให้แก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก และผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ที่แสดงถึงวิธีการที่เป็นตัวอย่างการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็ก รวมทั้งวิธีการ พ้ืนฐานที่เป็นหลักในการปฏิสัมพันธ์กับเด็ก อันเป็นบ่อเกิดของการเรียนรู้ของเด็กที่จำเป็นต้องให้ ความสนใจเปน็ พเิ ศษ ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ การทไี่ ดเ้ ชญิ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งรว่ มใหข้ อ้ คดิ เหน็ และมปี ระชาพจิ ารณ์ ปรบั ปรุงเอกสารทไี่ ด้รา่ งไว้แลว้ นั้น กเ็ ป็นส่วนสำคัญทท่ี ำให้ “แนวแนะ” มีคุณภาพยงิ่ ขนึ้ ในฐานะประธานคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) หวังว่า เอกสาร ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก และผู้ท่ีเก่ียวข้องในการนำ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน และในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย เพ่ือช่วยกันเพ่ิมคุณภาพเด็กปฐมวัยอย่าง จริงจัง และขอขอบคุณคณะทำงานฯ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา และองค์การทุน เพือ่ เดก็ แห่งสหประชาชาติ (ยนู ิเซฟ) ประเทศไทย ทีไ่ ดร้ ว่ มกันทำให้โครงการน้บี รรลุวัตถปุ ระสงค์ ทกี่ ำหนดไว้ พลอากาศเอก (ประจนิ จั่นตอง) รองนายกรฐั มนตร ี ประธานคณะกรรมการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาต ิ

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี กิตติกรรมประกาศ สืบเน่ืองจากในปี พ.ศ. 2549 องค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) สำนักงานใหญ่ นิวยอร์ค ร่วมกับองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย จัดประชุมระดับภูมิภาคเพ่ือจัดทำสมรรถนะ (Competencies) ของเด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) เพื่อเพิ่มคุณภาพเด็ก ในการนี้ ประเทศไทยโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ส่งผู้แทน (นางทิพย์สุดา สุเมธเสนยี )์ เข้าประชมุ ดว้ ย จากน้ันสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิทำการวิจัยเพ่ือให้ได้มา ซง่ึ “สมรรถนะ”ของเด็กปฐมวัย (0 – 5 ปี) และหลังจากนัน้ ได้มกี ารนำ “สมรรถนะ” ดังกล่าว ไปใช้ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยรูปแบบต่างๆ จนได้รับข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากการใช้ดังกล่าวเพ่ือ นำมาปรบั ปรงุ เอกสารทไ่ี ด้จัดพิมพ์ในช่วงนั้นใหด้ ียิง่ ข้ึน ในปี พ.ศ. 2559 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับองค์การทุนเพ่ือเด็กแห่ง สหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย ผู้ทรงคุณวุฒิ และ คณะทำงานฯ ได้จัดทำโครงการ ปรบั ปรุงเอกสารสมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 0 – 5 ปี และการจัดทำเอกสาร ควอไทล์ฯ ดังกล่าว โดยได้รับมติความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ซึ่งมีพลอากาศเอกประจิน จ่ันตอง เป็นประธาน พร้อมกำหนดการดำเนินการให้แล้ว เสรจ็ ภายใน 14 เดือน (กนั ยายน 2559 – ตุลาคม 2560) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนา เด็กปฐมวัยแห่งชาติ ขอขอบคุณองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย ที่ให้การสนับสนุนท้ังด้านวิชาการ และด้านงบประมาณ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญประมาณ 35 ท่าน จากมหาวิทยาลัย หน่วยราชการ และภาคเอกชน องค์การระหว่างประเทศ พ่อแม ่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผ้ดู ูแลเดก็ ขา้ ราชการ พนักงานเจา้ หนา้ ท ี่ (ประมาณ 550 ท่าน) จาก กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงศกึ ษาธิการ และกระทรวงมหาดไทย ใน 9 จงั หวดั ทคี่ ณะทำงานฯ ไดไ้ ปรว่ มเสวนา (โปรดดภู าคผนวก) และขอขอบคณุ ข้าราชการของสำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขอขอบคุณคณะทำงานโครงการปรับปรุงและจัดทำเอกสารสมรรถนะของ เด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 0 – 5 ปี ในการจัดทำเอกสารฉบับน้ี ซ่ึงประกอบด้วย นางทิพย์สุดา สุเมธเสนีย์ นางสุจารี สวงโท นางธิดา พิทักษ์สินสุข และนางสาวกรกมล จึงสำราญ โดยมี ดร.สายสุรี จุติกุล เป็นประธานที่ได้ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และครอบคลุม จนแลว้ เสรจ็ เป็นเอกสารเลม่ น้ี ภายใน 14 เดอื น ตามกำหนด (นายชยั ยศ อิม่ สุวรรณ)์ รองเลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั แหง่ ชาติ

แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี คำชแี้ จง ในการอ่านและใชเ้ อกสารฉบับน้ี มเี รอื่ งทตี่ อ้ งคำนงึ ถงึ ดงั ต่อไปน้ี 1. สำหรับผู้ท่ีปฏิบัติงานกับเด็กปฐมวัยโดยตรง (หมายรวมถึง พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก และผู้อื่นที่มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับเด็ก หรือท ่ี ภาษาอังกฤษใช้คำวา่ Practitioners) วิธีอ่านเอกสารน่าจะเร่ิมต้นด้วยการอ่านเร็ว เรื่องตัว “สมรรถนะ” 286 ตัว สำหรับ 0 – 3 ป ี และ 419 ตวั สำหรบั 3 – 5 ปี ซึ่งปรากฏอยใู่ นตอนทา้ ยของส่วนที่ 1 ถัดมา ควรอ่านเร็วๆ ในส่วนท่ี 3 ซึ่งเป็นวิธีการตัวอย่างที่ใช้กับเด็ก ในการ ให้เด็กสามารถ “ทำได้ตามสมรรถนะ” จากน้ันให้อ่านเร็วๆ ส่วนที่ 5 ซึ่งเป็นวิธีการพ้ืนฐานฯ ที่จะเพ่ิมความเข้าใจ ในหลกั การต่างๆ เพือ่ จะนำมาใชใ้ นส่วนท่ี 3 ขั้นตอนสุดท้าย จึงควรกลับมาอ่านในส่วนที่ 3 อีกครั้งหน่ึงอย่างละเอียด สำหรับการนำไปปฏิบัตติ อ่ เดก็ อน่ึง อาจมีคำถามเกี่ยวข้องแต่ไม่ปรากฏในส่วนที่ 3 ขอแนะนำให้อ่าน ส่วนท่ี 4 ซึ่งเป็นประเด็นคำถามที่อาจตรงกับโจทย์ที่ผู้ปฏิบัติอาจนำไปใช้ได้ นอกจากนั้น ถา้ ตอ้ งการคำอธิบายหลกั วชิ าการบางเรอ่ื งกส็ ามารถพลิกดูไดใ้ นส่วนท่ี 7 ซึง่ เป็นภาคผนวก ทม่ี บี ทความวชิ าการในหัวขอ้ ตา่ งๆ สำหรับผู้ปฏิบัติท่ีสนใจเชิงวิชาการบางด้านอาจศึกษาโดยสังเขป เอกสารชื่อ “พฤตกิ รรมของเดก็ กลุ่มตัวอยา่ ง จำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวยั ตามระดบั ควอไทล์ (Quartile) และจำแนกตามกลุ่มอายุของเด็ก 3 – 5 ปี” (ซึ่งเป็นเอกสารอีกเล่มหนึ่ง ต่างหาก) 2. สำหรับนักวิชาการ หรอื นักวิจัย ขอแนะนำให้อ่าน “สมรรถนะ” ตอนท้ายของส่วนที่ 1 ตามด้วยส่วนท่ี 3 และสว่ นท่ี 5 พรอ้ มกันนนั้ อาจอา่ นรายละเอยี ดในส่วนที่ 6 ซึง่ เป็นเรื่องทค่ี ณะทำงานเสนอ แนะใหศ้ ึกษาวิจัย และดำเนนิ การเพ่มิ เติมต่อไป

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี นอกจากนน้ั ควรศกึ ษาเอกสาร “พฤติกรรมของเดก็ กลมุ่ ตวั อย่าง จำแนกตาม สมรรถนะของเด็กปฐมวัย ตามระดับควอไทล์ (Quartile) และจำแนกตามกลุ่มอาย ุ ของเด็ก 3 – 5 ปี” 3. สำหรับผู้ที่รับผิดชอบเก่ียวกับนโยบายด้านปรับปรุงคุณภาพของเด็ก ปฐมวยั ขอแนะนำให้ศึกษาเหมือนข้อ 2 และให้ศึกษาเอกสาร “พฤติกรรมของเด็ก กลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสมรรถนะของเด็กปฐมวัย ตามระดับควอไทล์ (Quartile) และ จำแนกตามกลุ่มอายขุ องเดก็ 3 – 5 ปี” คณะทำงานฯ มนี าคม 2561

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่ิมคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี สารบัญ คำนำ รองนายกรัฐมนตรี (พลอากาศเอกประจิน จ่ันตอง) ประธานคณะกรรมการพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาต ิ กติ ติกรรมประกาศ รองเลขาธิการสภาการศึกษา (นายชยั ยศ อิม่ สวุ รรณ)์ กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ คำชีแ้ จง ส่วนที่ 1 ความเปน็ มาของการจดั ทำ “สมรรถนะเด็กปฐมวยั ” 1-1 1. ความสำคัญของเดก็ ปฐมวัย 1-1 2. คุณภาพของเด็กปฐมวยั ท่ปี ระเทศไทยต้องการ 1-2 3. ความเปน็ มาของโครงการท่จี ัดใหม้ ี “สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ” 1-2 4. สรุปข้ันตอนการได้มาซึง่ สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพัฒนาตามวยั 0 – 3 ปี 1-5 และ 3 – 5 ป ี 5. สมรรถนะคืออะไร ใชท้ ำอะไร 5.1 สมรรถนะคอื อะไร 1-7 5.2 สมรรถนะใช้ทำอะไร 1-7 6. ขอ้ ควรระวังในการใช้สมรรถนะ 1-7 7. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั 0 – 3 ป ี 1-8 ● ส่วนหลัก 1 (Domain 1) : ความสามารถในการเคลือ่ นไหว 1-9 และสุขภาวะทางกาย 1-10 (Motor Development and Physical Well – Being) 1-10 ■ สว่ นยอ่ ย 1.1 (Sub – domain 1.1) : การเคล่ือนไหวดว้ ยกลา้ มเนือ้ มัดใหญ่ (Gross Motor) ■ ส่วนย่อย 1.2 (Sub – domain 1.2) : การเคลอื่ นไหวดว้ ยกล้ามเน้ือมัดเลก็ 1-14 (Fine Motor) ■ สว่ นย่อย 1.3 (Sub – domain 1.3) : การช่วยเหลอื และดูแลตนเอง (Personal Care) 1-16 ● ส่วนหลัก 2 (Domain 2) : ความสามารถในการรบั ร้แู ละเรยี นร้ ู (Perception and Learning Development) 1-18

แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ● สว่ นหลัก 3 (Domain 3) : ความสามารถด้านภาษาและการสอ่ื 1-22 ความหมาย (Language Development and Comprehension) ● ส่วนหลัก 4 (Domain 4) : ความสามารถด้านอารมณ์และสงั คม 1-25 (Emotional and Social Development) 8. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพฒั นาตามวัย 3 – 5 ปี 1-29 ● ส่วนหลัก 1 (Domain 1) : การเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย 1-30 (Motor Development and Physical Well – Being) ■ ส่วนยอ่ ย 1.1 (Sub-domain 1.1) : การเคลือ่ นไหว 1-30 (Motor Skill Development) ➢ ดา้ น (Area) : 1.1.1 การเคลอื่ นไหวและการทรงตัว 1-30 โดยใช้กลา้ มเนอ้ื มดั ใหญ่ (Gross Motor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 1 : เดก็ สามารถแสดง ความแขง็ แรง และประสานการทำงาน ของกล้ามเน้อื มัดใหญ่ (Children demonstrate strength and coordination of movements using large muscles) ➢ ดา้ น (Area) : 1.1.2 การเคลื่อนไหวโดยใชก้ ล้ามเน้อื 1-31 มัดเล็ก (Fine Motor) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 2 : เด็กสามารถแสดง ความแข็งแรง และประสานการทำงาน ของกล้ามเนื้อมัดเลก็ (Children demonstrate strength and coordination of movements using small muscles) ➢ ดา้ น (Area) : 1.1.3 ประสาทสัมผสั กับการเคล่อื นไหว 1-32 (Sensorimotor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 3 : เดก็ สามารถใชป้ ระสาทสมั ผสั ตา่ งๆ (เชน่ การเห็น ไดย้ ิน กายสัมผัส ฯลฯ) เปน็ การนำในการเคล่อื นไหว (Children are able to use their senses. (e.g. Sight, hearing, touch etc.) to guide their movement

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี ■ สว่ นยอ่ ย 1.2 (Sub-domain 1.2) : สขุ ภาวะทางกาย (Physical Well – Being) 1-33 ➢ ด้าน (Area) : 1.2.1 โภชนาการ (Nutrition) 1-33 สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 4 : เด็กรบั ประทานอาหาร หลายๆ ชนิดที่มีประโยชนแ์ ละปลอดภัย (Children eat a variety of nutritious and safe food) ➢ ดา้ น (Area) : 1.2.2 สมรรถภาพทางกาย 1-34 (Physical Fitness) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 5 : เดก็ แสดงความแขง็ แรงและ ความทนทานทางร่างกาย (Children demonstrate physical strength and endurance) ➢ ด้าน (Area) : 1.2.3 ความปลอดภยั (Safety) 1-35 สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 6 : เดก็ แสดงออกวา่ มคี วามเขา้ ใจ เก่ียวกบั ความปลอดภัย (Children express understanding of safety) ➢ ด้าน (Area) : 1.2.4 การชว่ ยเหลือและดูแลตนเอง 1-36 (Autonomy and Personal Care) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 7 : เดก็ สามารถชว่ ยและ พ่ึงตนเองไดใ้ นกิจวตั รของตน (Children demonstrate autonomy in daily living) ● ส่วนหลัก 2 (Domain 2) : พัฒนาการดา้ นสังคม 1-37 (Social Development) ■ สว่ นยอ่ ย 2.1 (Sub-domain 2.1) : การมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผูใ้ หญ ่ 1-37 (Interaction with Adults) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 8 : เดก็ แสดงทักษะในการม ี ปฏสิ ัมพันธ์กับผใู้ หญ่ (Children interact with adults with appropriate social skills) ■ สว่ นย่อย 2.2 (Sub-domain 2.2) : การมีปฏิสัมพันธก์ บั เพอ่ื นเด็ก 1-38 (Interaction with Peers) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 9 : เดก็ แสดงทักษะทางสังคม เชงิ บวกกับเพอื่ นเด็กด้วยกัน (Children demonstrate positive social skills with peers)

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ■ สว่ นยอ่ ย 2.3 (Sub-domain 2.3) : พฤติกรรมการปรบั ตัวทางสังคม 1-39 (Adaptive Social Behavior) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 10 : เดก็ แสดงความตระหนักร้ ู ว่าพฤตกิ รรมมผี ลกระทบตอ่ บคุ คล และสงิ่ แวดลอ้ ม (Children demonstrate awareness of their own behavior and its effect on other people and environment) ■ สว่ นยอ่ ย 2.4 (Sub-domain 6) : เหน็ คุณค่าของความแตกต่าง 1-40 (Appreciating Diversity) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 11 : เดก็ ตระหนักรู้ เห็นคณุ ค่า และยอมรับนับถือในความเหมือนและ ความแตกต่างระหว่างบคุ คล (Children recognize, appreciate, and respect similarities and differences in people of diversity) ● สว่ นหลกั 3 (Domain 3) : พฒั นาการดา้ นอารมณ ์ 1-41 (Emotional Development) ■ ส่วนยอ่ ย 3.1 (Sub-domain 3.1) : ความคดิ เก่ียวกบั ตนเอง (Self Concept) 1-41 สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 12 : เด็กสามารถรบั รเู้ กีย่ วกบั ตนเอง และตระหนกั รู้วา่ ตนชอบหรอื ไมช่ อบ อะไร (Children are able to perceive themselves as unique individuals and demonstrate awareness of preference) ■ สว่ นย่อย 3.2 (Sub-domain3.2) : การควบคุมอารมณ์ตนเอง 1-42 (Emotional Self -Control) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 13 : เดก็ ปฏบิ ัติตนตามกฎระเบยี บ และกจิ วตั ร และคุมอารมณ์ได้ตามสมควร (Children follow rules and daily routine and demonstrate appropriate level of emotional control) ■ ส่วนย่อย 3.3 (Sub-domain 3.3) : สมรรถนะของตนเอง (Self-Efficacy) 1-43 สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 14 : เด็กแสดงความเช่ือม่ัน ในความสามารถของตน (Children demonstrate belief in their abilities)

แนวแนะวิธีการเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ● สว่ นหลัก 4 (Domain 4) : พัฒนาการด้านการคิดและสติปญั ญา 1-44 (Cognitive Development) ■ สว่ นยอ่ ย 4.1 (Sub-domain 4.1) : ความจำ (Memory) 1-44 สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 15 : เดก็ สามารถแสดงการจำ เบ้อื งต้น (Children demonstrate basic memory skills) ■ สว่ นย่อย 4.2 (Sub-domain 4.2) : การสรา้ งหรอื พฒั นาความคิด 1-45 (ท่ีเปน็ การคดิ เบ้ืองตน้ ) (Concept Formation) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 16 : เดก็ สามารถแสดง ความคิดพ้นื ฐานในเรอ่ื งเกย่ี วกบั เวลา ชอ่ งวา่ ง (Space) ตำแหนง่ แหล่งท่ี คณุ ลกั ษณะ ฯลฯ รวมท้ังการจดั กลมุ่ ส่งิ ตา่ งๆ ทอี่ ยู่แวดลอ้ ม (Children demonstrate understanding about time, space, positioning, etc., including grouping objects in the environment) ■ ส่วนยอ่ ย 4.3 (Sub-domain 4.3) : ตรรกวทิ ยา และความมเี หตุผล 1-46 (Logic and Reasoning) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 17 : เดก็ แสดงความเขา้ ใจเกยี่ วกบั เหตุและผล (Children demonstrate understanding of reasoning) ■ สว่ นยอ่ ย 4.4 (Sub-domain 4.4) : การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ 1-47 (Critical Thinking) สมรรถนะ ก. : หวั ขอ้ ที่ 18 : เดก็ สามารถเปรียบเทียบ (Competency A) แยกแยะความเหมอื น ความแตกต่าง และ ประเมินสถานภาพ (Children are able to compare and separate similarities, differences and evaluate the situation) สมรรถนะ ข. : หัวข้อท่ี 19 : เดก็ สามารถแก้ปญั หาได ้ (Competency B) (Children are able to solve problem) ■ ส่วนย่อย 4.5 (Sub-domain 4.5) : ความตั้งใจจดจอ่ (Concentration) 1-49 สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 20 : เด็กสามารถจดจ่อกับการทำ กิจกรรมด้วยความตัง้ ใจ (Children are able to concentrate on doing activities)

แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ■ ส่วนย่อย 4.6 (Sub-domain 4.6) : การคดิ ดา้ นคณติ ศาสตร์ (Mathematics) 1-50 สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 21 : เด็กสามารถอา่ นตัวเลข นบั เลข และร้จู ำนวน (Children are able to read, count, and understand numbers) ■ ส่วนย่อย 4.7 (Sub-domain 4.7) : ความเข้าใจปรากฏการณ์ และ 1-52 วิธกี ารแสวงหาขอ้ เท็จจรงิ ทาง วิทยาศาสตร์ (Sciences) ➢ ด้าน (Area) : 4.7.1 สงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ชี วี ติ (Living Things) 1-52 สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 22 : เด็กแสดงพฤตกิ รรมอยากรู ้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จับต้อง และลงมอื ทำเก่ยี วกบั สิง่ แวดล้อม ทม่ี ชี ีวิตต่างๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about living things) ➢ ดา้ น (Area) : 4.7.2 สิ่งแวดลอ้ มที่ไมม่ ชี ีวติ ในธรรมชาติ 1-54 (Non-living Things) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 23 : เดก็ แสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟัง การถาม จับตอ้ ง และลงมือทำเก่ยี วกับสง่ิ แวดล้อม ท่ีไม่มีชีวติ ตา่ งๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about non-living things) ■ สว่ นยอ่ ย 4.8 (Sub-domain 4.8) : ความเขา้ ใจเก่ียวกบั สังคมรอบตวั 1-55 (Social Studies) ➢ ด้าน (Area) : 4.8.1 ครอบครวั (Family) 1-55 สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 24 : เด็กแสดงออกถึงความ ตระหนักร้เู กยี่ วกับคุณลักษณะของครอบครวั และบทบาทของครอบครัว (Children demonstrate awareness of characteristics and roles of the family)

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ➢ ดา้ น (Area) : 4.8.2 ชุมชนและสงั คม 1-56 (Community and Society) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 25 : เดก็ แสดงออกถงึ ความ ตระหนักรูเ้ ก่ยี วกับชมุ ชนของตน การพึง่ พา ซ่ึงกนั และกนั และบทบาททางสังคม ของคนต่างๆ (Children demonstrate awareness of their community, social dependency, and social roles of various people in the community) ■ ส่วนยอ่ ย 4.9 (Sub-domain 4.9) : มลภาวะและการรักษาสงิ่ แวดล้อม 1-57 (Pollution and Environmental Preservations) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 26 : เดก็ แสดงพฤตกิ รรมรกั ษา สงิ่ แวดลอ้ ม และหลกี เลยี่ งมลภาวะ (Children preserve their environment and avoid pollutions) ■ ส่วนยอ่ ย 4.10 : ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั คณุ คา่ เชงิ เศรษฐกิจ 1-58 (Sub-domain 4.10) (Economic Value) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 27 : เด็กแสดงออกถงึ ความ ตระหนักรู้เกย่ี วกับคณุ คา่ เชิงเศรษฐกจิ ของส่งิ ตา่ งๆ (Children demonstrate awareness of economic value of various things) ● ส่วนหลัก 5 (Domain 5) : พัฒนาการดา้ นภาษา 1-59 (Language Development) ■ ส่วนยอ่ ย 5.1 (Sub-domain 5.1) : การเขา้ ใจและการใชภ้ าษา (Language 1-59 Comprehension and Usage) ➢ ดา้ น (Area) : 5.1.1 คำศัพท์ (Vocabulary) 1-59 สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 28 : เด็กสามารถรบั รู้ เข้าใจ และใชค้ ำศพั ทไ์ ด ้ (Children are able to understand, and use vocabulary) ➢ ด้าน (Area) : 5.1.2 การเรยี งคำใหเ้ ปน็ ประโยค 1-60 (Syntax and Grammar)

แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่ิมคุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 29 : เดก็ แสดงพฒั นาการการใช้ ไวยากรณ์ และการเรยี งคำใหเ้ ปน็ ประโยค (Children demonstrate development in using grammar and sentence structure) ➢ ด้าน (Area) : 5.1.3 ความเขา้ ใจภาษา (Comprehension) 1-61 สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 30 : เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรม เข้าใจความหมายและจับใจความไดจ้ าก การฟงั ภาษาพดู (Children demonstrate language comprehension and concept understanding from speaking language) ■ ส่วนยอ่ ย 5.2 (Sub-domain 5.2) : การส่อื ความหมาย (Communications) 1-62 ➢ ดา้ น (Area) : 5.2.1 การส่อื ความหมายด้วยภาษาพดู 1-62 (Verbal Communication) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 31 : เด็กสามารถรบั รแู้ ละใช ้ ภาษาพูดสอื่ ความหมายไดต้ รงตาม ความต้องการของตน (Children are able to understand and use speaking language properly according to their needs) ➢ ด้าน (Area) : 5.2.2 การส่ือความหมายด้วยท่าทาง 1-63 และสัญลกั ษณ์ (Non-verbal Communication) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 32 : เด็กสามารถสื่อความหมาย อยา่ งมีประสิทธิภาพด้วยสีหนา้ ท่าทาง และสญั ลักษณ์ (Children are able to communicate with facial expression, gestures and symbols efficiently) ■ สว่ นยอ่ ย 5.3 (Sub-domain 5.3) : การอา่ นและการเขยี น (Literacy) 1-64 ➢ ดา้ น (Area) : 5.3.1 การอา่ น (Reading) 1-64 สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 33 : เดก็ สามารถบ่งช้ีและ ออกเสยี งตวั พยญั ชนะ สระ และคำงา่ ยๆ ได้ (Children are able to identify and pronounce letters, and simple words)

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ➢ ด้าน (Area) : 5.3.2 การเขียน (Writing) 1-65 สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 34 : เดก็ สามารถเขียนตวั อกั ษร และคำง่ายๆ ได้ (Children are able to write letters, and simple words) ● สว่ นหลัก 6 (Domain 6) : พฒั นาการดา้ นจรยิ ธรรม 1-66 (Moral Development) ■ ส่วนย่อย 6.1 (Sub-domain 6.1) : การมีวนิ ยั ในตนเอง (Self-Discipline) 1-66 สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 35 : เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรม ควบคุมตนเอง (Children demonstrate self-control) ■ ส่วนยอ่ ย 6.2 (Sub-domain 6.2) : การพฒั นาเก่ยี วกับความร้ผู ดิ ชอบชั่วดี 1-67 (Moral Development) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 36 : เดก็ สามารถแสดงพฤตกิ รรม สะทอ้ นความเขา้ ใจเกี่ยวกับการกระทำใด ถูกหรือผิด (Children behave reflecting understanding of morality) ● ส่วนหลกั 7 (Domain 7) : พฒั นาการดา้ นการสร้างสรรค์ 1-68 (Creative Development) ■ ส่วนยอ่ ย 7.1 (Sub-domain 7.1) : ศิลปะการแสดง (Performing Arts) 1-68 ➢ ดา้ น (Area) : 7.1.1 ดนตรีและการเต้นตามดนตร ี (Music and Dance) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 37 : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรม ทางดนตรี และเคลอ่ื นไหวตามดนตรี (Children are able to perform musical activities and move with music) ➢ ด้าน (Area) : 7.1.2 ศลิ ปะการละคร (Dramatic Arts) 1-69 สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 38 : เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรม ทางศิลปะการละคร (Children are able to perform in dramatic arts activities) ■ สว่ นย่อย 7.2 (Sub-domain 7.2) : ทศั นศิลป ์ (Visual Arts) 1-70 สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 39 : เด็กสามารถแสดงพฤติกรรม ด้านการวาด การปน้ั และการประดษิ ฐ์ (Children are able to draw, sculpt and craft)

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพ่มิ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ส่วนท่ี 2 โครงการปรับปรงุ เอกสาร สมรรถนะของเด็กปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 0 – 5 ปี 2-1 ✿ การดำเนนิ งานภาคสนามของคณะทำงานโครงการปรบั ปรุงสมรรถนะของเด็กปฐมวยั ในการพฒั นาตามวัย 0 – 5 ป ี 2-1 1. วัตถปุ ระสงค์ของการดำเนนิ งานภาคสนาม 2-1 2. กลมุ่ เปา้ หมาย 2-1 3. พ้นื ทีภ่ าคสนาม 2-2 4. การดำเนินงาน 2-2 5. จดบนั ทึกการเสวนาภาคสนาม 2-3 6. สรปุ การเสวนากล่มุ ย่อย 9 จังหวัด 2-3 7. พกาฒั รนปารเะดมก็ วปลฐแมลวะัยจัดตทามำเสอมกรสราถรน(ะรขา่ อง)งเคดรก็ ้งั ปทฐี่ 2มวแัยนใวนแกนาระพวธิฒั ีกนาารตเลา้ยี มงวดัยู ด0แู _ล และ 2-4 5 ป ี 8. การจัดประชมุ สัมมนา วธิ กี ารเลย้ี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย 2-4 ตาม “สมรรถนะ” ของเดก็ 9. การปรบั ปรงุ เอกสารฯ 2-4 10. การจัดพิมพ ์ 2-4 สว่ นท่ี 3 ตัวอย่าง วิธกี ารใช้ “สมรรถนะ” ในการเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย 3-1 ✿ ข้อควรทราบ 3-2 1. กิจวัตร 2. กิจกรรม 3. ตวั บง่ ชี้ หรือตัวชวี้ ดั ของสมรรถนะ 4. ตัวอย่างวิธกี าร 5. การเรียนรู้ของเด็ก 6. พัฒนาการของเดก็ แรกเกิดจนถึง 2 ปคี รึ่ง 7. จะมเี ดก็ บางคนทแ่ี สดงอาการ “หลดุ ” หรือ “ตกหลน่ ” หวั ขอ้ ที่ 1 เดก็ สามารถแสดงความแขง็ แรง และประสานการทำงานของกล้ามเน้ือมดั ใหญ ่ 3-4 หัวขอ้ ที่ 2 เด็กสามารถแสดงความแขง็ แรง และประสานการทำงานของกล้ามเน้อื มัดเลก็ 3-7 หวั ขอ้ ท่ี 3 เดก็ สามารถใชป้ ระสาทสมั ผัสตา่ งๆ (เชน่ การเหน็ ได้ยนิ กายสมั ผสั ฯลฯ) 3-10 เปน็ การนำในการเคลอื่ นไหว หวั ขอ้ ท่ี 4 เดก็ รับประทานอาหารหลายๆ ชนดิ ทีม่ ีประโยชน์ และปลอดภยั 3-11 หัวข้อท่ี 5 เด็กแสดงความแขง็ แรง และความทนทานทางร่างกาย 3-13 หวั ขอ้ ที่ 6 เดก็ แสดงออกว่ามีความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ความปลอดภยั 3-14 หวั ขอ้ ท่ี 7 เดก็ สามารถชว่ ย และพ่งึ ตนเองได ้ 3-16 หัวข้อที่ 8 เด็กแสดงทักษะในการมปี ฏิสมั พันธก์ บั ผใู้ หญ ่ 3-22

แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี หวั ขอ้ ที่ 9 เด็กแสดงทักษะทางสงั คมเชงิ บวกกบั เพ่ือนเด็กด้วยกนั 3-24 หวั ขอ้ ที่ 10 เดก็ แสดงความตระหนักร้วู า่ พฤติกรรมมผี ลกระทบต่อบุคคล และสิ่งแวดลอ้ ม 3-26 หวั ขอ้ ที่ 11 เด็กตระหนกั รู้ เห็นคุณค่า และยอมรับนับถอื ในความเหมือน 3-27 และความแตกต่างระหว่างบคุ คล หัวขอ้ ที่ 12 เด็กสามารถรบั รเู้ กยี่ วกบั ตนเอง และตระหนกั ร้วู า่ ตนชอบหรือไม่ชอบอะไร หัวขอ้ ท่ี 13 เดก็ ปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบยี บ และกิจวัตร และควบคุมอารมณ์ได้ตามสมควร 3-29 หัวข้อที่ 14 เดก็ แสดงความเช่อื มน่ั ในความสามารถของตน 3-31 หัวขอ้ ท่ี 15 เด็กสามารถแสดงความจำเบื้องตน้ 3-32 หัวขอ้ ที่ 16 เดก็ สามารถแสดงความคิดพืน้ ฐานในเรอื่ งเกยี่ วกบั เวลา ชอ่ งว่าง (Space) 3-33 ตำแหน่งแหล่งที่ คุณลักษณะ รวมทง้ั การจดั กลมุ่ ส่ิงต่างๆ ทอี่ ยู่แวดลอ้ ม 3-37 หัวขอ้ ที่ 17 เด็กแสดงความเข้าใจเก่ยี วกับเหตแุ ละผล หัวขอ้ ท่ี 18 เด็กสามารถเปรียบเทียบ แยกแยะ ความเหมอื น ความแตกตา่ ง และประเมนิ สถานภาพ 3-40 หวั ขอ้ ท่ี 19 เดก็ สามารถแกป้ ัญหาได้ 3-42 หัวขอ้ ที่ 20 เด็กสามารถจดจ่อกบั การทำกจิ กรรมด้วยความต้งั ใจ หัวข้อท่ี 21 เดก็ สามารถอ่านตวั เลข นับเลข และรูจ้ ำนวน หวั ข้อท่ี 22 เดก็ แสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟงั การถาม จบั ต้อง 3-43 และลงมอื ทำเก่ยี วกับสงิ่ แวดล้อมมีชีวิต 3-44 หัวข้อท่ี 23 เดก็ แสดงพฤติกรรมอยากรู้ อยากลอง โดยการมอง การฟงั การถาม จบั ตอ้ ง 3-46 และลงมือทำเกยี่ วกบั สิ่งแวดลอ้ มที่ไมม่ ีชวี ิตตา่ งๆ 3-48 หัวขอ้ ท่ี 24 เด็กแสดงออกถงึ ความตระหนกั รู้เกี่ยวกบั คุณลกั ษณะของครอบครัว และบทบาทของครอบครัว หวั ข้อที่ 25 เดก็ แสดงออกถงึ ความตระหนักรเู้ ก่ยี วกบั ชมุ ชนของตน การพ่ึงพาซงึ่ กันและกัน 3-50 และบทบาททางสงั คมตา่ งๆ หัวขอ้ ท่ี 26 เด็กแสดงพฤติกรรมรกั ษาส่งิ แวดล้อม และหลีกเล่ยี งมลภาวะ หวั ขอ้ ที่ 27 เด็กแสดงออกถึงความตระหนกั รู้เกย่ี วกับคุณคา่ เชิงเศรษฐกจิ ของส่ิงต่างๆ 3-51 หัวข้อที่ 28 เดก็ สามารถรบั รู้ เข้าใจ และใช้คำศพั ท์ได้ หวั ขอ้ ท่ี 29 เด็กแสดงพฒั นาการการใชไ้ วยากรณ์ และการเรียงคำให้เปน็ ประโยค (รวมท้ังการเรียงประโยคตามลำดบั เหตุการณเ์ ป็นเรอ่ื งราว) 3-52 หวั ข้อที่ 30 เดก็ สามารถแสดงพฤติกรรมเข้าใจความหมาย และจับใจความได ้ จากการฟงั ภาษาพูด หวั ข้อท่ี 31 เดก็ สามารถรับรู้ และใช้ภาษาพูดส่อื ความหมายไดต้ รงตามความต้องการของตน 3-54 หวั ขอ้ ท่ี 32 เดก็ สามารถสื่อความหมายอย่างมปี ระสิทธิภาพด้วยสีหน้า ท่าทาง 3-56 และสญั ลกั ษณ ์ 3-57 3-63 3-64 3-65 3-66

แนวแนะวิธีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี หวั ข้อท่ี 33 เด็กสามารถบง่ ช้ี และออกเสียงดว้ ยพยัญชนะ และคำง่ายๆ 3-67 หวั ขอ้ ที่ 34 เด็กสามารถเขียนตัวอักษร และคำง่ายๆ ได้ 3-69 หวั ข้อที่ 35 เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรมควบคุมตนเอง 3-70 หัวขอ้ ที่ 36 เดก็ สามารถแสดงพฤตกิ รรมสะท้อนความเข้าใจเกยี่ วกับการกระทำใดถกู หรือผดิ 3-72 หัวข้อที่ 37 เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมทางดนตรี และเคลอื่ นไหวตามดนตร ี 3-74 หัวข้อท่ี 38 เดก็ สามารถแสดงพฤตกิ รรมทางศิลปะการละคร 3-76 หัวขอ้ ที่ 39 เด็กสามารถแสดงพฤตกิ รรมด้านการวาด การปนั้ และการประดิษฐ์ 3-77 สว่ นที่ 4 ประเด็นคำถามเกย่ี วกบั การเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั จากภาคสนาม (พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู อาจารย์ ผู้ดแู ลเดก็ และผูท้ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั เดก็ ) 4-1 1. โภชนาการ 4-1 1.1 นมแม ่ 1.2 ไอโอดีนสำหรับเดก็ ทารกและทารกในครรภม์ ารดา 1.3 เดก็ บางคนเลือกไมร่ ับประทานอาหารบางอย่าง 2. พฒั นาการด้านสงั คม ปฏิสัมพนั ธ์ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างเด็ก-ผใู้ หญ่ 4-2 2.1 เดก็ เรยี นรวู้ ัฒนธรรม 2.2 การร้จู กั ฟงั เด็ก 3. ความสมั พันธเ์ ดก็ -เด็ก 4-3 3.1 พีน่ ้องตกี ัน เดก็ ๆ ทะเลาะกนั 3.2 แยง่ กันมาอยขู่ ้างหนา้ เป็นคนแรก 4. พฒั นาการทางภาษา 4-4 4.1 การพูดและการไม่พดู ของเด็ก 5. ความคาดหวงั จากผใู้ หญด่ า้ นวัฒนธรรม 4-6 5.1 ไมร่ ูจ้ ักใชค้ ำว่า “ขอโทษ” (มารยาท) 5.2 การคาดหวงั จากเด็กโดยไม่พจิ ารณาความเปน็ จริงของระดับพฒั นาการ ตามวัยของเดก็ 5.3 ความคาดหวงั ของพอ่ แมใ่ ห้ลกู เกง่ กวา่ คนอ่ืนๆ หรือของครูให้เกง่ กว่าชนั้ เรียนอ่นื 5.4 ความคาดหวังที่ยาวไกลไปในอนาคตเดก็ 6. การกระทำรุนแรงต่อเดก็ 4-7 7. การให้ “รางวัล” เด็ก 4-8 8. เด็กปฐมวัยกับการใชโ้ ทรศพั ทม์ ือถอื แท็บเลต็ และส่อื อเิ ลค็ ทรอนิกส์ต่างๆ 4-9 9. การเรยี นร้แู ละการฝกึ เกีย่ วกับการขับถา่ ย 4-10

แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ส่วนที่ 5 วธิ กี ารพืน้ ฐาน ในการเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตาม “สมรรถนะ” ของเดก็ 5-1 1. สทิ ธิมนุษยชน และสทิ ธเิ ด็ก (Convention of the Rights of the Child : CRC) 5-1 2. การรแู้ ละเข้าใจขน้ั ตอนพัฒนาการของเด็กตามวยั (Child Development) 5-2 2.1 ความจำเป็นทตี่ ้องรแู้ ละเขา้ ใจพัฒนาการของเด็ก 2.2 ขั้นตอนการพฒั นาในชว่ งปฐมวัย 2.3 การใช้ประโยชน์จากแนวคดิ และการเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวัย 2.4 วิธกี ารเรยี นรูข้ องเดก็ 2.5 ข้อสรปุ เกย่ี วกับความรูเ้ บอื้ งตน้ ของจิตวทิ ยาพฒั นาการเด็ก 3. รู้จักตนเองในฐานะเปน็ พ่อแม่/ผปู้ กครอง/ผู้ทำงานกับเดก็ 5-9 3.1 ความสำคัญของการรจู้ กั ตนเอง 3.2 ความเขา้ ใจตนเองในด้านต่างๆ 3.3 วธิ ปี รบั ปรุงตนเองเพ่อื ให้สามารถมสี มั พันธภาพกับเด็กทเี่ สรมิ พฒั นาการเด็กได ้ 3.4 สุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจติ ของผู้ใหญท่ ่ีทำงานกบั เดก็ 4. การสอ่ื สารเชิงบวก (Positive Communications) 5-11 4.1 ความหมายของการส่ือสาร 4.2 การสื่อสารกบั เด็กในระยะแรกของปฐมวัย 4.3 การส่ือสารกบั เดก็ ในระยะกลางและระยะปลายของชว่ งปฐมวัย 4.4 ตัวอยา่ งการส่ือสารกับเดก็ ที่นำไปใช้ได ้ 5. การสร้างวนิ ยั เชิงบวก (Positive Discipline) 5-14 5.1 ความหมายของ “วนิ ัย” 5.2 หนา้ ทหี่ รอื บทบาท (Function) ของ “วินัย” 5.3 ปจั จยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การควบคมุ พฤติกรรมของตนเองหรอื การสร้างวนิ ัย 5.4 วธิ ีการท่ใี ช้กบั เดก็ ปฐมวยั ที่ไมไ่ ด้ผลในการสรา้ งวินยั ของเด็ก 5.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับวิธีการใช้วนิ ยั เชงิ บวกในการสรา้ งวนิ ัยแก่เดก็ 6. การสรา้ งและเสรมิ พลังเดก็ ปฐมวัยเพื่อช่วยให้เด็กดูแลและปกปอ้ งตนเองได้ 5-19 (Empowering Children) 6.1 ความสำคญั และวตั ถปุ ระสงค์ของการเสริมและสร้างพลังแกเ่ ด็กปฐมวัย 6.2 วิธีการสรา้ งและเสริมพลังในตัวเด็กปฐมวัย 6.3 การสร้างเสริมพลงั ในตนเองของเดก็ เก่ียวกับการปกป้องตนเองให้พน้ จาก ความรนุ แรงบางประการ

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี 6-1 ส่วนที่ 6 ข้อเสนอแนะในการดำเนินการตอ่ ไปเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ในการพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวัย 1. การพัฒนาบุคลากร 6-1 2. การพัฒนาคมู่ ือ เคร่ืองมอื และอ่นื ๆ ทีใ่ ชใ้ นการฝึกอบรมบคุ ลากร 6-2 3. การศึกษาวิจยั ดา้ นต่างๆ เกยี่ วกบั การพฒั นาเด็กปฐมวยั 6-2 4. การพัฒนาระบบขอ้ มูลทส่ี ัมพันธ์กบั การใชส้ มรรถนะ 6-3 5. ความรว่ มมอื ระหว่างหนว่ ยงานและบุคลากรที่เกยี่ วขอ้ ง เครือข่ายตา่ งๆ 6-3 6. การให้บรกิ ารแก่ประชาชนด้านการพัฒนาเดก็ ปฐมวัยผ่าน ICT 6-3 สว่ นท่ี 7 ภาคผนวก 7-1 1. บทความจากผูเ้ ช่ียวชาญ 7-1 2. อ้างอิง 7-70 3. รายชอ่ื ผูเ้ ช่ยี วชาญ 7-78 4. รายชอ่ื ผเู้ ข้ารว่ มเสวนากลุม่ ยอ่ ย 9 จังหวดั 7-81 5. คำสงั่ คณะอนกุ รรมการเฉพาะกจิ ปรบั ปรงุ และจดั ทำเอกสารสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั 7-110 ในการพัฒนาตามวัย 0 – 5 ปี (4 เล่ม) 6. คณะกรรมการพฒั นาเด็กปฐมวยั แห่งชาต ิ 7-112 7. กำหนดการ การประชุมสมั มนาวิธกี ารเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั 7-116 ตาม “สมรรถนะ” ของเด็ก 8. คณะทำงาน 7-119 9. คณะผดู้ แู ลการจัดพิมพ์และจดั รูปเลม่ 7-119

แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนที่ 1 ความเป็นมาของการจดั ทำ “สมรรถนะเดก็ ปฐมวัย” 1. ความสำคัญของเดก็ ปฐมวยั 1.1 เป็นช่วงวัยที่พัฒนาการด้านสมองและการเรียนรู้เป็นไปอย่างรวดเร็วท่ีสุดในชีวิต (เป็นผลการศึกษาจากประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuron Science) นอกจากน้ันถ้าการพัฒนาในช่วง ชีวิตนี้ล่วงเลยไปแล้ว โดยไม่ได้รับการพัฒนา เด็กก็จะหลุดออกจากวงจรของการสร้างสติปัญญา บุคคลิกภาพ ค่านิยม เจตคติ อุปนิสัย ฯลฯ หลุดออกไปจากวงจรปกติของการพัฒนาท่ีได้ผล เปรยี บเสมือนเครือ่ งที่ยังไม่ไดเ้ ดนิ เคร่ือง “กวา่ จะถงึ อนบุ าลกส็ ายเสยี แลว้ ”) 1.2 เป็นช่วงเวลาท่ีให้ผลของการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุดเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เต็ม ศกั ยภาพ (ผลการศกึ ษาของ James J. Heckman วิจัยเร่ือง “The Lifecycle Benefits of an Influential Early Childhood Program”) 1.3 เป็นสิทธิขั้นพ้ืนฐานของเด็กตามอนุสนธิสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กท่ีพึงได้รับสิทธิที่จะมี ชีวิตรอด ไดร้ บั การพัฒนา คมุ้ ครอง ตลอดจนมีสว่ นร่วมต่างๆ (อนสุ ญั ญาสทิ ธเิ ดก็ ค.ศ. 1989) 1.4 เป็นรากฐานของการพัฒนาทั้งปวง คุณภาพของมนุษย์ที่จะได้รับการต่อยอดในช่วง อายุตอ่ ๆ ไป 1.5 เน่ืองจากมนุษย์ในวัยเร่ิมแรกของชีวิตต้องการผู้เลี้ยงดู กล่าวคือไม่สามารถอยู่ลำพัง และดูแลตนเองไม่ได้ (เหมือนสัตว์อ่ืนๆ) ดังนั้น จึงต้องมีผู้เลี้ยงดูและดูแล และผู้น้ีเป็นผู้ท่ีม ี ความสำคญั ที่สุดในชีวติ ของทารกและเด็กเลก็ (โปรดดรู ายละเอยี ดใน สว่ นที่ 3 สว่ นท่ี 4) 1.6 ในช่วงวัยนี้ เด็กมีความสามารถในการต้ังคำถาม มีข้อสงสัย ถ้าพัฒนาเด็กให้ถูกทาง เด็กปฐมวัยในช่วงน้ีจะรู้จักคิด สงสัย สังเกต ถาม ซี่งเป็นลักษณะของ “นักวิทยาศาสตร์” โปรดดู เอกสาร The Sciencetifics in the clip ช่ึงลักษณะของการพัฒนาการดังกล่าว จะสร้างและ ส่งเสริมใหเ้ ดก็ คนนนั้ พัฒนารอบดา้ นได้อยา่ งเต็มศักยภาพ 1.7 การพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกคนให้ท่ัวถึง เป็นการช่วยลดระดับความเหลื่อมล้ำทางสังคม และเศรษฐกจิ 1-1

แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี 2. คุณภาพของเด็กปฐมวยั ท่ีประเทศไทยต้องการ เด็กปฐมวัยทุกคนต้องได้รับการพัฒนา รอบด้าน เต็มศักยภาพ (ได้แก่ ด้านสติปัญญา รวมทงั้ การคิดวิเคราะห์ คิดวพิ ากษ์วิจารณ ์ คิดสรา้ งสรรค์ ดา้ นรา่ งกาย สุขภาพกาย ดา้ นอารมณ์ – จิตใจ สุขภาพจิต ด้านสังคม จริยธรรม การมีวินัยในตนเอง สามารถช่วยเหลือตนเองและช่วย เพ่อื นบ้าน สังคม ทั้งนี้ใหเ้ หมาะสมกับวยั ) บริการท่ีได้รับมีคุณภาพและให้เด็กได้รับอย่างต่อเน่ือง บริการดังกล่าวต้องเกิดจากการ ประสานงาน และบูรณาการจากทกุ หน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ ง ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคธุรกจิ และมี มาตรฐานสากลและมบี ริบทของความเป็นไทย ส่วนหนึ่งของการแสดงว่าเด็กปฐมวัยมีคุณภาพคือ เด็กสามารถแสดงพฤติกรรมที่สังเกต เห็นได้ มีลักษณะเป็นรูปธรรมท่ี “บ่งช้ี” การมีคุณภาพ พฤติกรรมต่างๆ ที่สามารถทำได้ก็คือ “สมรรถนะ” ที่ประเทศไทยใหค้ วามสำคญั 3. ความเปน็ มาของโครงการท่ีจดั ให้มี “สมรรถนะของเด็กปฐมวยั ” 3.1 สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย (แรกเกิด – 5 ปี) คือ ความสามารถ ในการแสดงออกหรือการแสดงพฤติกรรมตามวัยของเด็กในด้านต่างๆ ว่าเด็กสามารถทำอะไรได้ (can do) ในแตล่ ะชว่ งอายุ แรกเกดิ – 1 ปี , 1 ปี , 2 ปี , 3 ปี , 4 ปี , 5 ปี สมรรถนะไมใ่ ชแ่ บบ ประเมินพฤติกรรมเด็ก ไม่ใช่แบบประเมินพ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก หรือครูอาจารย์ ไม่มีการ สอบตกสอบได้ แต่เป็นเพียงคู่มือช่วยช้ีแนะว่า เด็กมีสมรรถนะแสดงพฤติกรรมต่างๆ ได้เมื่ออายุ ประมาณเทา่ ใด 3.2 ในปี พ.ศ. 2549 องค์การทุนเพ่อื เดก็ แหง่ สหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทยได้จดั สมั มนาและเชญิ ผเู้ ชีย่ วชาญ 2 ทา่ น คอื Pia Robello Britto จากมหาวทิ ยาลยั เยล และ Sharron Lyan Kagen จากมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย มานำการประชุมระดับภูมิภาคในประเทศไทย เพื่อ ส่งเสรมิ ใหแ้ ตล่ ะประเทศไดจ้ ัดทำสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั เพือ่ ใชใ้ นการพฒั นากลมุ่ เด็กดังกล่าว 3.3 ประเทศไทยโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้รับความคิดเห็นจากที่ประชุม ดำริให้มกี ารศึกษาวจิ ัยเรื่องสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ขนึ้ ในช่วงปี พ.ศ. 2550 – 2552 โดยได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจากองค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย และ งบประมาณแผ่นดินของสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จัดเป็นโครงการวิจัยพัฒนาสมรรถนะ ตามวยั ของเดก็ ปฐมวัย (แรกเกดิ – 5 ป)ี ต่อไปนีเ้ รียกว่า โครงการวจิ ยั สมรรถนะฯ มกี ารดำเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปน ี้ 1-2

แนวแนะวิธีการเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ชว่ งท่ี 1 3.4 ผลงานวจิ ยั ในช่วงแรก คอื 1) เอกสารสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั 3 – 5 ปี : การศกึ ษาวิจัย เบื้องต้น พมิ พธ์ ันวาคม ปี 2552 การวจิ ยั ฉบับน้มี ีสมรรถนะ 419 ตัวบง่ ช้ี สำหรบั เดก็ 3 – 5 ปี โปรดดูสมรรถนะของ เด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั (3 – 5 ปี) สเี หลอื ง ช่วงที่ 2 3.5 ตอ่ มาคณะวจิ ัยฯ เห็นว่า การมีสมรรถนะ 419 ตวั บ่งช้ี ชดั เจนแลว้ ยังไม่เพียงพอ จึง พัฒนาแนวแนะ (Guidelines) สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง 1 ฉบับ และอีก 1 ฉบบั สำหรบั ผู้ดแู ลเดก็ ครู และอาจารย์ เอกสาร 2 เลม่ ดังกล่าว มีชื่อว่า 1) เอกสารสมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั 3 – 5 ปี แนวแนะสำหรบั พ่อแม่ ผู้ปกครอง Guidelines for Parents or Guardians พิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2552 พิมพ์ครง้ั ที่ 2 มกราคม 2553 2) เอกสารสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 3 – 5 ปี แนวแนะสำหรับ ผู้ดูแลเด็ก ครู และอาจารย์ Guidelines for Teachers and Caregivers พมิ พ์คร้งั ที่ 1 กันยายน 2552 พมิ พ์ครั้งที่ 2 มกราคม 2553 ชว่ งที่ 3 3.6 คณะวิจัยฯ มีความเห็นว่า พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ครู อาจารย์ อาจสนใจ เปรียบเทียบว่า เด็ก 1 คน ที่อยู่ในความดูแลของตน ซ่ึงอยู่ในช่วงอายุหน่ึง หลังจากการใช้การ สังเกตพฤติกรรมเด็กแล้ว มีความสงสัยว่าเด็กคนนี้ มีพัฒนาการอยู่ในระดับใด เมื่อเปรียบเทียบกับ เด็กในกลุ่มอายเุ ดียวกนั ในกล่มุ ทถ่ี ูกศึกษาวิจยั คณะวิจัยฯ จึงจัดทำสมรรถนะของเด็กตามช่วงอายุหน่ึงๆ และจัดเป็นควอไทล์ (Quartile) กล่าวคือ ช่วงอายุประมาณ 3 ปี ถงึ 3 ปี 11 เดือน 29 วัน ถา้ เดก็ ในสว่ นนส้ี ามารถ แสดงออกหรือปฏิบตั ไิ ด้ร้อยละ 25 ก็จัดว่าอยใู่ น Quartile ท่ี 1 แตถ่ ้าทำได้ร้อยละ 75 ข้นึ ไป ของ กลมุ่ อายุนี้ กจ็ ัดอยูใ่ น Quartile ที่ 4 3.7 เอกสารน้ีมีชื่อว่า เอกสารระดับร้อยละของจำนวนเด็กท่ีแสดงพฤติกรรมหรือที่ทำได้ พมิ พป์ ี 2554 ช่วงท่ี 4 3.8 งานวจิ ัยในช่วงที่ 4 ศึกษาเกีย่ วกับเด็กปฐมวัย 0 – 3 ปี คณะวจิ ัยฯ ไดว้ ิจยั ต่อเนอ่ื ง สำหรบั สมรรถนะของเดก็ 0 – 3 ปี ปรากฏผลวิจยั สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั 0 – 3 ปี แนวแนะสำหรับพอ่ แม่ ผู้ปกครอง ผดู้ ูแลเดก็ การวิจยั ฉบบั น้ี มสี มรรถนะ 286 ตวั สำหรบั เดก็ 0 – 3 ปี โปรดดูสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวัย (0 – 3 ปี) สเี ขียว 1-3

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี 3.9 สำหรับเอกสารฉบับนี้ คณะวิจัยฯ ได้เพ่ิมเติมแนวแนะ (Guidelines) สำหรับพ่อแม ่ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก ไว้ดว้ ย ชว่ งที่ 5 3.10 คณะวิจัยฯ และผู้ที่เกี่ยวข้องได้นำเอกสารทั้ง 4 เล่ม (ในข้อ 3.5 , 3.7 และ 3.9) ไปใชก้ บั เด็กปฐมวยั ในสถานรับเลยี้ งเด็ก ศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก โรงเรยี นอนบุ าล ทง้ั ภาครฐั และเอกชน สงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงมหาดไทย (องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ) กระทรวงการพัฒนา สังคมและความม่นั คงของมนษุ ย ์ กรุงเทพมหานคร เปน็ ต้น 3.11 คณะวิจัยฯ ได้จัดประชุมกับครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ท่ีได้นำสมรรถนะไปใช้เพื่อรับฟัง ผลการใช้ ความคดิ เห็น รวมทั้งข้อเสนอแนะเพ่ิมเตมิ เป็นระยะ ในชว่ งระหว่างปี 2554 – 2559 3.12 คณะวจิ ยั ฯ มคี วามเหน็ ว่า เอกสารทัง้ 4 เลม่ ควรไดร้ ับการปรบั ปรุงใหค้ รอบคลุมกับ การใช้ และตอบโจทยพ์ อ่ แม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ซ่ึงมคี ำถามเป็นจำนวนมาก จงึ ขอความรว่ มมือ จากสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาและองค์การทุนเพ่ือเด็กแห่งสหประชาชาติ (ยูนิเซฟ) ประเทศไทย และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ (ก.พ.ป.) ซึ่งมี รองนายกรฐั มนตรี พลอากาศเอกประจนิ จนั่ ตอง เปน็ ประธาน โดยจัดทำเปน็ โครงการวิจยั เพม่ิ เติม ใหแ้ ล้วเสร็จภายใน 14 เดอื น 3.13 โดยสรุปเอกสารทง้ั 5 เลม่ จดั พิมพโ์ ดยมีชอ่ื ดงั น ้ี 1) เอกสารสมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพัฒนาตามวัย 3 – 5 ปี : การศกึ ษาวจิ ัย เบ้ืองตน้ พิมพ์ ธันวาคม ปี 2552 2) เอกสารสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3 – 5 ปี แนวแนะ สำหรับพ่อแม่ ผู้ปกครอง Guidelines for Parents or Guardians พิมพ ์ ครัง้ ท่ี 1 กันยายน 2552 พมิ พค์ รงั้ ที่ 2 มกราคม 2553 3) เอกสารสมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพัฒนาตามวัย 3 – 5 ปี แนวแนะ สำหรบั ผดู้ แู ลเดก็ ครู และอาจารย์ Guidelines for Teachers and Caregivers พิมพ์ครัง้ ที่ 1 กนั ยายน 2552 พมิ พค์ รั้งที่ 2 มกราคม 2553 4) สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพฒั นาตามวัย 0 – 3 ปี แนวแนะสำหรบั พอ่ แม ่ ผ้ปู กครอง ผ้ดู แู ลเดก็ 5) เอกสารระดบั รอ้ ยละของจำนวนเดก็ ทแี่ สดงพฤตกิ รรมหรอื ทท่ี ำได้ พมิ พป์ ี 2554 1-4

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี 4. สรปุ ขัน้ ตอนการได้มาซึ่งสมรรถนะของเด็กปฐมวยั ในการพฒั นาตามวยั 0 – 3 ปี และ 3 – 5 ปี คณะวจิ ัยฯ ดำเนินการดังนี้ ชว่ งท่ี 1 : การจดั ทำ (รา่ ง) สมรรถนะ 4.1 เตรียมการจัดทำ ส่วนหลกั (Domain) , ส่วนย่อย (Sub domain) , ดา้ น (Area) , สมรรถนะ (Competency) และพฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) โดยคณะวิจัยฯ ไดศ้ กึ ษาทฤษฎีต่างๆ ที่เกี่ยวกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยโดยเน้นเฉพาะเด็กอายุ 3 – 5 ปี ทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมท้งั เอกสารคูม่ ือสำหรบั ดแู ลและเล้ยี งดเู ด็กปฐมวัยของกระทรวงตา่ งๆ เช่น กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรุงเทพมหานคร (รวมท้ังตำราวิชาการด้านการพัฒนาเด็กปฐมวัย ผลการศึกษาวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ การพฒั นาเดก็ ปฐมวัยจากมหาวทิ ยาลยั ทั้งในประเทศและต่างประเทศ) 4.2 คณะวิจัยฯ ได้จัดทำ (ร่าง) เอกสารประกอบด้วย ส่วนหลักด้านต่างๆ ส่วนย่อย สมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งช้ี ทค่ี รอบคลุมการพัฒนารอบดา้ นของเด็กตามวัย 4.3 คณะวจิ ยั ฯ ได้ประมาณอายุของเด็กสำหรับแต่ละพฤติกรรมบง่ ช้ี ซึง่ เป็นการประมาณ อายุอย่างคร่าวๆ โดยอาศัยข้อมูลพัฒนาการตามวัยของเด็ก หลักวิชา การวิจัย และประสบการณ์ ของผู้เช่ียวชาญ ผทู้ รงคุณวุฒิ ครูผ้ดู แู ลเด็ก 4.4 การประมาณอายเุ พ่ือชว่ ยผสู้ ังเกตพฤติกรรมเดก็ ในภาคสนาม ชว่ งอายุท่ใี ช้คอื ช่วง 1 ปี คือ 3 ป ี 4 ปี และ 5 ปี (3 ปี หมายถงึ 3 ปี 11 เดอื น 29 วัน , 4 ปี หมายถึง 4 ปี 11 เดอื น 29 วัน , 5 ปี หมายถึง 5 ปี 11 เดือน 29 วัน) 4.5 คณะวิจัยฯ ได้นำ (ร่าง) ท่ีปรับปรุง และมีการกำกับอายุโดยประมาณในทุกตัวบ่งชี้ เปน็ เอกสาร (รา่ ง) ครง้ั ท่ี 2 นำเสนอทปี่ ระชมุ ของคณะบคุ คลทมี่ ปี ระสบการณใ์ นการสอน การเลยี้ งดู เด็กปฐมวัย เพื่อให้วิพากษ์ความครอบคลุมของเนื้อหาสาระและการประมาณอายุโดยจัดให้มีการ ประชมุ 6 คร้ัง (ปี 2549 – 2550) พรอ้ มปรับแก้รว่ มกนั และจดั ทำเปน็ เอกสาร (ร่าง) ครง้ั ที่ 3 4.6 (ร่าง) ครั้งที่ 3 ได้นำเสนอในที่ประชุมใหญ่ มีผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 800 คน (เมืองทองธาน)ี เอกสารทนี่ ำเสนอประกอบด้วย ส่วนหลัก 7 หัวขอ้ สว่ นย่อย 25 หวั ข้อ 21 ดา้ น สมรรถนะ 38 ขอ้ และพฤติกรรมบง่ ชี้ 489 ขอ้ ท่ีประชุมไดใ้ ห้ขอ้ คิดเห็นเกีย่ วกับเนื้อหาสาระ และ ประมาณการเรื่องอายุหลายประการอันเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแก้ไข รวมทั้งความห่วงใยใน การนำไปใช้ทดสอบเดก็ ไปติวเดก็ บางทา่ นว่าพฤตกิ รรมบง่ ชม้ี ากเกนิ ไปหรือไม่ ในขณะเดยี วกนั บาง ท่านเหน็ ว่ายังมไี ม่ครอบคลุมและยงั ไม่เพยี งพอ 4.7 คณะวจิ ยั ฯ ไดน้ ำขอ้ คดิ เหน็ มาปรบั ปรงุ รวมทงั้ ปรบั ปรงุ คำชแี้ จงเพอื่ มใิ หม้ กี ารเขา้ ใจผดิ และให้เข้าใจชัดเจนยงิ่ ข้ึน จดั ทำเป็น (รา่ ง) ครัง้ ท่ี 4 1-5

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ช่วงท่ี 2 : การทดสอบความตรงด้านเน้ือหา (Content Validation) และความตรงด้าน อายุ (Age Validation) จากผเู้ ชย่ี วชาญ 4.8 คณะวจิ ยั ฯ ไดส้ ง่ (รา่ ง) ครง้ั ท่ี 4 ใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญดา้ นเดก็ ปฐมวยั ไดแ้ ก่ นกั วชิ าการทส่ี อน ด้านเด็กปฐมวัยในมหาวิทยาลัย กุมารแพทย์ ผู้เช่ียวชาญด้านเด็กปฐมวัย ผู้สอนเด็ก กลุ่มพ่อแม่ ผู้ปกครองท่ีสนใจการพัฒนาเด็กปฐมวัย ฯลฯ เพื่อทดสอบความตรงด้านเนื้อหา (Content Validation) และความตรงดา้ นอายุ (Age Validation) จำนวน 56 คน พบวา่ ระดบั ความเชือ่ ถอื ได้ ดา้ นเนอ้ื หาสาระ รอ้ ยละ 99.3 ส่วนความตรงดา้ นอายุ รอ้ ยละ 92.4 ของผูต้ อบท้งั หมด (โปรด ดเู อกสารสมรรถนะเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวัย 3 – 5 ปี : การศกึ ษาวิจยั เบื้องต้น ปี 2552) ชว่ งท่ี 3 : การเตรยี มการออกภาคสนาม 4.9 คณะวิจัยฯ เรียบเรียงตัวบ่งชี้ให้เป็นพฤติกรรมทั้งหมด ทุกพฤติกรรมบ่งชี้ จะต้องใช้ อปุ กรณ์หรอื เครอื่ งมือใดชว่ ย 4.10 จดั หาอุปกรณส์ ำหรับทดสอบแต่ละพฤติกรรม อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือทัง้ หมด 80 ชิน้ 4.11 จัดทำคำพูดที่เป็นมาตรฐานให้ผู้สังเกตสำหรับพฤติกรรมบ่งชี้แต่ละข้อ เพ่ือให้เป็น มาตรฐานเดยี วกัน (Standardized) หา้ มอธบิ ายเพิม่ เติม ห้ามช้ีแนะ 4.12 จัดทำแบบฟอร์มการกรอกข้อมูลและการจดข้อสังเกตต่างๆ โดยจัดพฤติกรรม ที่ไปสงั เกตเป็น 8 กลมุ่ เช่น กิจกรรมกลางแจ้ง กจิ วัตร กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ ทต่ี ้องสังเกตเด็กโดยตรง หรือที่ต้องถามเด็ก ถามครู ถามพ่อแม่ ผู้ปกครอง การรวมเป็นกลุ่มกิจกรรมเพื่อสะดวกในการ จัดเก็บข้อมลู 4.13 การจัดฝกึ อบรมโดยคณะวิจยั รว่ มทกุ ระยะ โดยการฝึกทดลองพดู ทดลองถาม และ ใชอ้ ุปกรณใ์ หเ้ ป็นไปตามลำดบั ขัน้ ตอนที่กำหนดจนเกดิ ความเชี่ยวชาญ ช่วงที่ 4 : การทดสอบคา่ ความเชื่อถือได้ของการทดสอบ (Reliability) 4.14 เพื่อให้การสังเกตของผู้เช่ียวชาญกับการสังเกตของผู้เก็บข้อมูลภาคสนาม เป็นไปใน ทางเดียวกัน หมายความว่า ผู้สังเกตพฤติกรรมมีความเช่ือถือได้ท่ีจะไปทำหน้าท่ีบันทึกพฤติกรรม เดก็ ในภาคสนามเปรยี บเทยี บกับผ้เู ชย่ี วชาญสงั เกตเอง (Reliability) 4.15 ค่าความสอดคล้องระหว่างผู้เช่ียวชาญกับผู้สังเกตพฤติกรรมส่วนใหญ่มีค่าความ สอดคล้องสูง มกี รณเี ดียวทม่ี คี า่ ความสอดคลอ้ งต่ำ แต่คณะวิจัยฯ ได้ฝึกอบรมเพิม่ เตมิ จนในทีส่ ุดมี คา่ ของความสอดคล้องสงู 4.16 การจดั ทำเรื่องคา่ ของความสอดคลอ้ งน้นั ใชก้ ารทดลองภาคสนามทก่ี รงุ เทพมหานคร และจงั หวัดภเู กต็ 1-6

แนวแนะวธิ กี ารเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ช่วงที่ 5 : การจัดเก็บข้อมลู ภาคสนาม 4.17 เกบ็ ขอ้ มูลภาคสนามชว่ งเดือนเมษายน – กันยายน 2550 โดยกลุ่มตวั อยา่ งของเดก็ ท่ใี ชใ้ นการเก็บขอ้ มูลภาคสนาม คอื เดก็ 3 – 5 ปี จำนวนท้ังส้นิ 600 คน สุ่มตัวอย่างจาก 7 จงั หวัด ไดแ้ ก่ จากจังหวดั ราชบุร ี ภเู ก็ต ฟังงา กระบี่ ขอนแกน่ เลย และเชยี งใหม ่ โดยสงั กัด สพฐ. สช. เทศบาล จังหวดั ละ 2 – 5 แห่ง 4.18 ส่วนหลัก (Domain) 7 ส่วนหลัก ด้านสมรรถนะ (Competency) 39 หัวข้อ พฤตกิ รรมบ่งช้ี 419 ตวั บ่งช ี้ โปรดดูเอกสารสีเหลอื ง 5. สมรรถนะคอื อะไร ใช้ทำอะไร 5.1 สมรรถนะคอื อะไร “สมรรถนะ” ในกระบวนการพฒั นาเด็กปฐมวยั กระบวนการพัฒนาคนเหมือนกระบวนการผลิตปลากระป๋อง และการทำอาหารรับ ประทาน เป็นกระบวนการท่ีคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ต้องมีปัจจัยนำเข้า (Input) ในการทำกับข้าว ก็คือ วัตถุดิบและเคร่ืองปรุง รวมท้ังฝีมือแม่ครัว กระบวนการ เช่น วิธีการผัด ลวก หุงต้ม และ ผลผลิตท่อี อกมา (Results ) ออกมาได้ 3 ระดบั คอื 1) ปจั จัยนำออก (Output) คือ จำนวนเมนอู าหารทอ่ี อกมา จำนวนปลากระป๋องท่ี ได้ หรอื จำนวนคนท่ีผลิตออกมา 2) ผลลัพธ์ (Outcome) ผลลพั ธ์ทีเ่ กย่ี วกับผลผลิต คือ คณุ ภาพของปลาในกระปอ๋ ง หรือคุณภาพของอาหารบนโต๊ะ หรือคุณภาพของเด็กปฐมวัยที่สามารถทำได้และระดับสุดท้ายคือ Impact หรือผลกระทบ เช่น อาหารกจ็ ะเปน็ คุณคา่ ทางโภชนาการ ปลากระป๋องที่มีคณุ ภาพมสี ว่ น แบ่งในตลาดสูงผลกระทบของคนคอื คณุ ภาพของเดก็ ผลที่เกิดข้ึนกบั ครอบครวั ตัวเด็กทจี่ ะไปเป็นผู้ มสี ว่ นทำใหส้ งั คมดีขนึ้ คุณค่าของเขาทมี่ ีต่อสังคม สมรรถนะคอื ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพทีต่ กอยู่กบั ตัวเด็ก เด็กไดร้ ับอะไรไป นั่นคือ สง่ิ ที่เด็ก ทำได้ แสดงออกได้ เป็นลักษณะคุณภาพจึงเรียกว่า “สมรรถนะ” “Competency” ถ้าเป็น สมรรถนะของรถยนต์ ก็คอื รถยนตม์ ีความเร็วสูงสุดเทา่ ไหร ่ เมือ่ สมรรถนะเป็นเรื่องทึ่สำคญั มาก จึงควรใหค้ วามสำคญั สงู สดุ 5.2 สมรรถนะใชท้ ำอะไร สมรรถนะใช้วัดคุณภาพ ผลลัพธ์ที่เกิดกับตัวเด็ก และอยู่กับตัวเด็ก ใช้เป็นเป้าหมาย เพ่ือให้มีการนำปัจจัยนำเข้า และปัจจัยกระบวนการไปในทิศทางที่ให้บรรลุถึงเป้าหมาย ในเอกสาร ฉบับน้ีจะเน้นเรื่องกระบวนการหรือ Process คือ วิธีการต่างๆ ที่ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ ผูด้ แู ลเดก็ ท่เี ป็นปัจจัยนำเข้า ใชก้ ระบวนการเพอ่ื ใหไ้ ด้เป้าหมาย 1-7

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี เอกสารฉบับนี้ไม่ครอบคลุมถึงลักษณะหรือคุณภาพของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก แต่จะทำเป็นแนวแนะ ส่วนหนึ่งของกระบวนการ เป็นตัวอย่างว่า ถ้าจะให้เด็ก มีคุณภาพ สามารถทำได้ตามวิธีการดังต่อไปน้ี เพื่อให้บรรลุสมรรถนะได้ โดยคำนึงถึงว่าไม่ทำร้าย ทำลายเด็ก กล่าวคอื ใช้วิธกี ารท่ถี กู ตอ้ ง วิธีการปรากฎในสว่ นที่ 3 ตวั อยา่ ง วิธกี ารใช้ “สมรรถนะ” ในการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ส่วนท่ี 4 ประเด็นคำถามเก่ียวกับการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั จากภาคสนาม (พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู อาจารย์ ผ้ดู ูแลเด็ก และผูท้ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง กับเด็ก) ส่วนที่ 5 วิธีการพื้นฐานในการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตาม “สมรรถนะ” ของเดก็ และเอกสารบทความท่ปี รากฏ ในสว่ นท่ี 7 ภาคผนวก 6. ข้อควรระวงั ในการใช้สมรรถนะ 1. สมรรถนะใช้เพื่อเป็นแนวแนะ (Guidelines) เพ่ือให้พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็กใช้ในการสังเกตและมีความพยายามท่ีจะให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ปฎิบัติได้ และนำไปสู่ สมรรถนะคือการทำได ้ (คำว่า แนวแนะ หมายถึง การช้ีแนะเป็นตัวอย่าง แต่ไม่ใช่การบังคับให้ต้องทำ เพ่ือ สร้างโอกาสให้กบั เด็ก) 2. เจตนาของเอกสารฉบับนี้คือ ให้เป็นไปตามข้อ 1. และห้ามมิให้นำไปเพื่อประเมินเด็ก “สอบได้” หรือ “สอบตก” และห้ามไปใช้ประเมิน พ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ ผู้ดูแลเด็ก ว่า “สอบได้” หรอื “สอบตก” 3. ใช้เปน็ วธิ กี ารเชิงบวกในการพัฒนาเดก็ ไม่ใช้การประนาม ว่า ดุ บงั คับ (โปรดดูวธิ กี าร พืน้ ฐานในสว่ นท่ี 5 ประกอบ) 4. ถา้ พบวา่ การพฒั นาเดก็ มลี กั ษณะผดิ สงั เกต ขอให้ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครู อาจารย์ ผดู้ แู ล เด็ก นำไปปรึกษาบุคลากรทางการแพทย์ หรือผู้เช่ียวชาญ เช่น นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ ฯลฯ เพื่อขอคำปรึกษา ช่วยหาทางเยียวยา แก้ไขให้ทันการ มิให้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับเด็กล่าช้าและ สะสม จนเกิดความเสียหายกับเด็ก 5. หา้ มมใิ ห้นำสมรรถนะเหล่าน้ีไปใช้ในรปู แบบของการ “กวดวิชา” เพอื่ ใหเ้ ดก็ ทำได้ โดย ไมไ่ ด้ใช้วธิ ีที่ถกู ตอ้ งและเหมาะสมกับวยั ของเดก็ 7. สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวัย (0 – 3 ปี) เอกสารแนบทา้ ยนี้ สฟี ้า หนา้ 1 – 9 ถงึ 1 – 28 8. สมรรถนะของเดก็ ปฐมวยั ในการพฒั นาตามวัย (3 – 5 ปี) เอกสารแนบท้ายน้ี สเี หลอื ง หนา้ 1 – 29 ถงึ 1 – 70 1-8

แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี สมรรถนะของเดก็ ปฐมวัยในการพัฒนาตามวยั (0 – 3 ป)ี Thailand Early Childhood Behavioral Competency (0 – 1 – 2 - 3 ป)ี 1-9

แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สว่ นหลกั 1 (Domain 1) : ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวและสขุ ภาวะทางกาย (Motor Development and Physical Well – Being) สว่ นยอ่ ย 1.1 (Sub – domain 1.1) : การเคลอื่ นไหวดว้ ยกลา้ มเนอื้ มดั ใหญ่ (Gross Motor) อายุ 0 – 3 เดือน (1) เคลือ่ นไหวแขนและขาท้งั ซ้ายและขวา (แรกเกิด) (2) หันหนา้ หรอื ศีรษะไดเ้ วลานอนหงายหรือนอนคว่ำ (1 เดือน) (3) เงยคางได้เล็กนอ้ ยเวลานอนควำ่ (1 เดอื น) (4) หนั หนา้ ตามเสยี งหรอื ที่มาของเสยี งทีอ่ ยู่ไกลออกไป (แรกเกิด - 1 เดอื น) (5) ยกศรี ษะหรอื ชันคอไดเ้ ลก็ น้อยเวลานอนคว่ำ (2 เดอื น) (6) กวาดแขนไปมาในทา่ อุ้มนงั่ (2 เดือน) (7) ยกคอตามตัว พยงุ ศรี ษะตรงได้ เมอ่ื ดงึ ตัวขึ้นจากท่านอนหงาย (2 เดือน) (8) ยกแขนยกขาขึน้ ลงเร็วๆ 2 ขา้ ง ได้ (3 เดอื น) (9) อุม้ พาดบ่า ศีรษะตง้ั ตรงได้ ไม่ตอ้ งซบบนไหล่ผอู้ ุม้ (3 เดอื น) อายุ 4 – 6 เดอื น (10) เวลานอนหรืออุ้มมีแรงเตะดว้ ยเทา้ ทงั้ สองข้าง (4 เดือน) (11) ขยับแขนขน้ึ ลงและขยับมอื ได้คล่องในท่าอ้มุ น่งั (4 เดือน) (12) เอย้ี วตวั ได้ในท่าอมุ้ นงั่ (4 เดือน) (13) บงั คบั ศีรษะใหต้ ั้งตรงและหันไปหนั มาได้ เม่อื อมุ้ นัง่ (4 เดือน) (14) นอนคว่ำ ศรี ษะตัง้ ตรง แลว้ ใช้ทอ่ นแขนท้งั สองข้างพยงุ ตวั ไว้ และชันคอและอก พน้ จากพน้ื ได้ (4 เดอื น) (15) จากทา่ นอนหงาย พลกิ ตะแคงได้ (4 เดือน) (16) จากท่านอนควำ่ พลิกตะแคงข้างได้ (5 เดือน) (17) นั่งโดยต้องคอยช่วยประคอง (5 เดอื น) (18) เวลาจบั ใต้รกั แรใ้ ห้ยืน เท้าทั้งสองขา้ งรบั นำ้ หนักไดบ้ ้างเล็กน้อย (5 เดอื น) (19) ในท่านอนควำ่ เด็กสามารถยืดตวั และเหยียดแขนเอ้อื มมอื ไปควา้ ของท่หี ่างออกไป เล็กนอ้ ยมาใกลต้ วั (5 เดือน) 1 - 10

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี (20) จากนอนคว่ำพลิกไปนอนหงายดว้ ยตนเองได้ (5 เดอื น) (21) ยนั อกดว้ ยมอื และแขนทัง้ สองข้างเมอ่ื นอนควำ่ และดนั ตัวด้วยขาและแขน (เร่มิ จะคบื ) (5 เดอื น) (22) จากนอนหงายพลกิ ไปนอนคว่ำดว้ ยตนเองได้ (6 เดอื น) (23) นั่งได้ตามลำพงั ระยะสนั้ มาก แล้วต้องเอามือตวั เองยันชว่ ย (6 เดอื น) (24) ใชม้ ือสองขา้ งยนั ยกหนา้ อกขนึ้ ได้เวลานอนควำ่ (6 เดอื น) (25) ทา่ ยนื โดยขาทงั้ สองขา้ งรับน้ำหนกั ได้ เมือ่ ช่วยจบั แขนไวท้ ั้งสองขา้ ง (6 เดอื น) อายุ 7 – 9 เดอื น (26) ทำทา่ จะคลาน โดยยกตวั ด้วยแขนและเขา่ อาจโยกไปมา (8 เดอื น) (27) ตัวหมุนไปรอบๆ หรอื บนพน้ื ราบ เพอื่ มงุ่ ไปยังจดุ ทตี่ อ้ งการ (28) ทรงตวั ไดด้ ใี นทา่ นงั่ หลงั ตรง ไมต่ อ้ งพยงุ เออ้ื มมอื หยบิ ของได/้ นง่ั ถอื ของมอื ละชน้ิ (8 เดอื น) (29) ใชม้ อื เหน่ยี วลกุ ขนึ้ เกาะยืนจากทา่ นั่ง แต่ยงั ไมม่ ัน่ คง ขายงั กางเลก็ นอ้ ย (9 เดือน) (30) ลุกข้นึ คุกเข่าจากท่าน่ัง โดยยงั ต้องเกาะ (เชน่ เกาะเตียง เกาะแม)่ (9 เดือน) อายุ 10 – 12 เดือน (31) ลกุ ขึน้ น่งั จากทา่ นอนดว้ ยตนเอง (10 เดือน) (32) เกาะตวั แม่เดนิ รอบเกา้ อ้ีหรอื โต๊ะ ได้ 3 – 4 กา้ ว (11 เดอื น) (33) เดินโดยผ้ใู หญ่ช่วยจงู มือ ทัง้ 2 ข้าง (11 เดือน) (34) ยืนเองไดน้ าน 2 วินาที (ตง้ั ไข)่ (12 เดอื น) อายุ 13 – 18 เดอื น (35) ยืนตามลำพังอย่างน้อย 5 วินาที (13 เดือน) (36) กา้ วเดนิ 2 – 3 ก้าว จากที่หนึ่งไปอีกทห่ี น่ึง (จากโต๊ะหรือตวั บคุ คล) (13 เดือน) (37) น่ังยองและลกุ ขึ้นเอง (14 เดอื น) (38) จากทา่ ยนื หย่อนตวั นงั่ ยอง (15 เดือน) (39) จากท่านั่งเกา้ อเ้ี ปล่ยี นเปน็ ลุกขน้ึ ยืนได้คล่องแคล่ว (15 เดือน) (40) คลานขนึ้ บนั ไดเองได้ 2 – 3 ข้ัน (15 เดือน) 1 - 11

แนวแนะวธิ กี ารเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี (41) เดนิ ถอยหลังได้ 2 – 3 กา้ ว แต่ไม่คลอ่ ง (17 เดอื น) (42) ก้มลงหยบิ ของท่ีพน้ื และลกุ ขึ้นโดยไม่ลม้ (18 เดือน) (43) เดนิ เองไปข้างหนา้ ไดค้ ลอ่ งประมาณ 10 กา้ ว (18 เดือน) (44) เดินลากจงู ของเลน่ โดยดงึ เชอื ก (18 เดือน) (45) เดนิ เร็วๆ คลา้ ยว่ิง (18 เดอื น) (46) ถอยหลงั ลงจากเตยี งหรอื เก้าอี้เตีย้ ๆ หรือท่สี งู ท่ีเปน็ ขนั้ เดียว (18 เดอื น) อายุ 19 – 24 เดือน (47) เดนิ กา้ วข้ามสงิ่ กีดขวางเตีย้ ๆ (19 เดอื น) (48) ว่งิ ไดแ้ ต่ยังไม่คลอ่ ง ยังมกี ารกางแขน กางขา เพื่อทรงตวั (20 เดือน) (49) เดนิ และหยดุ โดยไมล่ ้ม (20 เดือน) (50) เดิน หยดุ และหันกลบั ได้ตามเสยี งเรยี ก (24 เดอื น) (51) เดนิ ขนึ้ บันได โดยใชม้ อื จับราวบนั ไดขา้ งหนงึ่ และจบั มือผใู้ หญอ่ กี ข้างหนงึ่ ก้าวเท้าโดยมี 2 เท้า อยู่ในขน้ั เดยี วกนั (24 เดือน) (52) เตะลกู บอลลูกใหญแ่ ละเบา โดยเท้าทีเ่ ตะพน้ พืน้ ได้โดยไมล่ ม้ (24 เดอื น) (53) โยนลกู บอลลูกใหญไ่ ดด้ ว้ ยมือ 2 มอื (24 เดอื น) (54) ว่งิ ไดค้ ล่องแคลว่ (24 เดือน) อายุ 25 – 36 เดอื น (55) ก้าวเดนิ ตามจังหวะ 1 – 2 ได้ต่อเนอื่ ง 4 ชุด (25 เดอื น) (56) เปล่ียนอิรยิ าบถจากนง่ั แลว้ ลุกขึ้นยนื แลว้ เดนิ ได้คล่อง (25 เดอื น) (57) เดินหลบหลีกสง่ิ กีดขวางได้ดี เช่น โต๊ะ เก้าอี้ (30 เดือน) (58) วง่ิ แล้วหยดุ ไดท้ นั ที โดยไม่ลม้ (30 เดอื น) (59) กระโดดสองขาอยู่กับที่ได้แต่ไมด่ ีนัก (30 เดอื น) (60) กระโดดสองขาลงจากแทน่ หรอื บันไดขนั้ สุดทา้ ยได้ โดยมีคนชว่ ยจบั มอื ข้างเดยี ว (30 เดอื น) (61) เดนิ เขย่งด้วยปลายเท้าตนเองได้ 2 – 3 ก้าว (30 เดอื น) (62) เดนิ ได้ 1 เมตรครง่ึ ในชอ่ งระหวา่ งเสน้ ขนาน 1 ฟตุ (30 เดือน) (63) เดนิ ถอยหลังได้ 3 – 5 ก้าว ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ (30 เดอื น) 1 - 12

แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพ่ิมคุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี (64) เดินขึน้ บนั ไดเองโดยใช้มอื จบั ราวบันได และก้าวเท้าโดยมี 2 เท้าอยูใ่ นขั้นเดยี วกนั (30 เดือน) (65) เดนิ ขน้ึ บันได โดยใชม้ ือจบั ราวบนั ได ข้างหนง่ึ และจบั มอื ผู้ใหญอ่ ีกขา้ งหนึง่ กา้ วเท้าโดยสลบั เทา้ (33 เดือน) (66) กระโดดสองขาลงจากแทน่ หรือบนั ไดข้ันสุดทา้ ยได้เอง โดยไมต่ อ้ งมีคนช่วย (33 เดือน) (67) เดินขึ้นบันไดเองโดยใช้มอื จบั ราวบันได และก้าวเทา้ โดยสลับเทา้ ทลี ะขัน้ (36 เดือน) (68) ยนื บนขาขา้ งเดยี วได้ 3 วินาที (36 เดอื น) (69) ข่จี ักรยานสามลอ้ เลก็ (สังเกตเดก็ ) (36 เดือน) (70) โยนลกู บอลลกู ใหญล่ งตะกรา้ ในระยะหา่ ง 1 เมตร ได้ (36 เดือน) 1 - 13

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนหลกั 1 (Domain 1) : ความสามารถในการเคลอื่ นไหวและสขุ ภาวะทางกาย (Motor Development and Physical Well – Being) สว่ นยอ่ ย 1.2 (Sub – domain 1.2) : การเคลอ่ื นไหวดว้ ยกลา้ มเนอื้ มดั เลก็ (Fine Motor) อายุ 0 – 3 เดือน (71) ตาจอ้ งทส่ี ิ่งของได้ (แรกเกดิ - 1 เดือน) (72) กำมอื หรือจบั นว้ิ ของผู้ใหญ่ที่เล่นดว้ ย (Reflex) (ใชฝ้ ่ามือเดก็ ขา้ งขวา) (2 เดอื น) (73) กำมอื หรอื จบั นว้ิ ของผู้ใหญท่ เ่ี ล่นดว้ ย (Reflex) (ใชฝ้ า่ มอื เดก็ ขา้ งซ้าย) (2 เดอื น) (74) กำมอื หรอื จบั นว้ิ ของผู้ใหญท่ ีเ่ ล่นด้วย (แตะหลังมอื เด็กข้างซ้าย) (2 เดอื น) (75) กำมือหรอื จบั น้ิวของผใู้ หญท่ ี่เลน่ ด้วย (แตะหลังมอื เด็กข้างขวา) (2 เดือน) (76) มองตามของทเ่ี คล่อื นไหวขณะท่ีนอนหงายและวตั ถเุ คลือ่ นไหวอยู่ในระดับสายตา ข้ามเสน้ ก่งึ กลางลำตัวอยใู่ นระดับสายตา (2 เดือน) (77) เวลามอง ลูกตาสองขา้ งเคลอ่ื นไปในทศิ ทางเดียวกนั (2 เดือน) (78) กำมอื แล้วคลายมอื ทกี่ ำไว้ได้ (3 เดอื น) (79) กำวัตถทุ ่ใี ส่ให้ในมอื ได้ช่วั ครู่ (3 เดือน) (80) มองตามของทเี่ คลอื่ นไหวขณะทนี่ อนหงายและวัตถุเคลอ่ื นไหวอยใู่ นระดบั ก่งึ กลางลำตัว ซา้ ย - ขวา และ ขึน้ - ลง (3 เดอื น) อายุ 4 – 6 เดือน (81) เมื่อเอาของใส/่ ใกล้มอื เด็ก เดก็ สามารถถอื ของโดยใชท้ ั้งสองมอื (4 เดือน) (82) เล่นนิ้วตัวเอง (4 เดอื น) (83) เอามอื (อาจหลายๆ นิ้ว) เขา้ ปาก (4 เดอื น) (84) มองตาม 180 องศา (4 เดือน) (85) ควา้ ของเองและจบั ของด้วยสองมือชว่ ยกนั ได้ (5 เดอื น) (86) จับของเข้าปาก (5 เดอื น) (87) กัดของ (อาจเพราะฟนั ทำทา่ จะข้นึ ) (5 เดอื น) (88) ใช้ฝา่ มอื เดียวจับของ (6 เดอื น) (89) เปล่ียนมือถอื ของไดท้ ีละมอื (6 เดือน) (90) ดึงเท้าตนเองมาเขา้ ปากได้ (6 เดือน) 1 - 14

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพ่มิ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี อายุ 7 – 9 เดือน (91) เอือ้ มมอื จับของทเ่ี หน็ และตอ้ งการได้ โดยใชน้ ิ้วอื่นๆ และหวั แม่มือ (โดยใช้ฝ่ามือชว่ ย) (7 เดอื น) (92) กวาดสายตาหรือสอดสา่ ยสายตาสนใจส่งิ แวดล้อมอย่างมีจุดมงุ่ หมาย (7 เดอื น) (93) มองตามของตก (7 เดอื น) (94) ใชม้ ือถอื ของข้างละอัน แล้วจับมากระทบกนั ได้ (7 เดอื น) (95) เขยา่ ของเล่นอยา่ งคล่องแคล่ว (8 เดือน) (96) ใช้น้ิวมือเข่ยี ของชิน้ เล็กๆ (8 เดอื น) (97) ถือของเล่นมือละช้นิ ได้พรอ้ มกนั ทง้ั สองมอื ไดร้ ะยะหนึง่ (9 เดอื น) (98) ใชน้ ว้ิ หวั แมม่ ือ น้ิวชี้ และนิว้ กลางดว้ ยกันทง้ั สามนิ้ว หยบิ ของชนิ้ เล็กๆ ได้ (9 เดอื น) อายุ 10 – 12 เดือน (99) หยิบของช้ินเล็กๆ ดว้ ยปลายนวิ้ หัวแม่มือและนิ้วช้ีด้วยกนั ท้ังสองนิ้ว (10 เดือน) (100) หยิบของออกจากภาชนะได้ (11 เดอื น) (101) หยบิ ของใส่ถ้วยหรือขนั ได้ (12 เดอื น) อายุ 13 – 18 เดอื น (102) ผลัก ดึง หรือบิดหมุนวัตถุต่างๆ ดว้ ยการใชน้ ิว้ มือ (13 เดอื น) (103) ใช้นว้ิ ชี้ส่ิงท่ีตอ้ งการ (13 เดอื น) (104) ถอื ของ 2 ชิน้ ไดใ้ นมือเดยี ว (14 เดอื น) (105) เปิดฝากล่องท่ีครอบไว้ (15 เดอื น) อายุ 19 – 24 เดือน (106) ใชน้ ้วิ มือหยบิ ของออกจากกลอ่ ง (19 เดือน) (107) ใช้มอื ขา้ งทถ่ี นดั (ซา้ ยหรือขวา) ขดี เป็นเส้น (24 เดอื น) อายุ 25 – 36 เดอื น (108) กระดิกน้ิวหัวแม่มือขึ้นลงไดต้ ามแบบ (36 เดอื น) (109) กระดิกน้วิ หวั แมม่ อื ไปทางซ้ายขวาได้ตามแบบ (36 เดอื น) 1 - 15

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี สว่ นหลัก 1 (Domain 1) : ความสามารถในการเคลอื่ นไหวและสุขภาวะทางกาย (Motor Development and Physical Well – Being) ส่วนย่อย 1.3 (Sub – domain 1.3) : การชว่ ยเหลือและดแู ลตนเอง (Personal Care) อายุ 4 – 6 เดอื น (110) เริ่มเคี้ยวและกลืนอาหารทบ่ี ดละเอียดได้ (6 เดอื น) อายุ 7 – 9 เดือน (111) แสดงท่าทางอยากกนิ อาหาร (7 เดอื น) (112) เคี้ยวและกลืนอาหารทบี่ ดหยาบได้ (8 เดอื น) อายุ 10 – 12 เดอื น (113) ใช้นิว้ หยบิ ของกินเองได้ (12 เดือน) (114) เคย้ี วอาหารชน้ิ เล็กๆ ที่อ่อนนมุ่ ได้ (12 เดือน) (115) ประคองถว้ ยนำ้ และดืม่ นำ้ จากถว้ ยได้ โดยได้รบั การชว่ ยเหลือ (12 เดือน) อายุ 13 – 18 เดือน (116) ให้ความร่วมมือในการแต่งตวั โดยยกแขนยกขา เวลาถอดและใส่เส้ือ ใสก่ างเกง (13 เดือน) (117) ถอื ประคองถ้วยน้ำ และดมื่ เองได้ อาจหกบา้ ง (15 เดอื น) (118) ถือถ้วยนำ้ ด่ืมเองได้ (18 เดือน) (119) เลยี นแบบช่วยทำงานบา้ นง่ายๆ เช่น ชว่ ยกวาดบา้ น ใชผ้ า้ เชด็ หรอื ถพู นื้ จัดของเขา้ ที ่ (18 เดอื น) (120) ใชช้ ้อนกนิ อาหารเองได้ แตย่ งั หกบ้าง (18 เดอื น) 1 - 16

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี อายุ 19 – 24 เดอื น (121) ใช้ช้อนตกั กินอาหารเองได้ หกเพียงเล็กนอ้ ย (21 เดือน) (122) สวมรองเทา้ แตะเองได้ (22 เดือน) (123) แสดงท่าทางบอกเมื่อตอ้ งการปัสสาวะ (24 เดือน) (124) แสดงท่าทางบอกเมอื่ ต้องการอุจจาระ (24 เดอื น) (125) ถอดกางเกงขาส้นั เอวยางยดื ไดเ้ อง (24 เดอื น) (126) ล้างมือและเช็ดมอื ได้ โดยผใู้ หญ่ชว่ ย (24 เดอื น) อายุ 25 – 36 เดอื น (127) ใสเ่ สื้อผา่ หนา้ และกางเกงขาส้นั ได้ โดยมีคนชว่ ย (30 เดือน) โดยทวั่ ไปเด็กมกั จะถอด ถุงเท้า รองเทา้ กางเกง และเส้ือสวมศรี ษะไดเ้ องเมอ่ื อายุ 36 เดือน หากมีโอกาสหดั ทำ (128) แปรงฟันได้ โดยผูใ้ หญช่ ่วย (30 เดอื น) (129) บอกไดว้ า่ ตอ้ งการปัสสาวะ (30 เดือน) (130) บอกได้วา่ ตอ้ งการอุจจาระ (30 เดอื น) (131) ถอดกางเกงไดก้ ่อนขบั ถ่าย (36 เดือน) (132) เปิดกอ๊ กนำ้ เองได้ (36 เดอื น) (133) พฤติกรรมท่แี สดงวา่ ง่วงนอนคอื อะไร (36 เดอื น) 1 - 17

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี ส่วนหลกั 2 (Domain 2) : ความสามารถในการรับรู้และเรยี นร ู้ (Perception and Learning Development) อายุ 0 – 3 เดอื น (134) มองหน้าคนอ้มุ ทอ่ี ยหู่ า่ งประมาณ 9 – 10 นิ้ว (แรกเกิด) (135) หันหนา้ ตามเสียงพูดของแม่ (พ่อหรือคนค้นุ เคย) ท่ีอยใู่ กล้ (แรกเกิด - 1 เดือน) (136) หนั หนา้ ไป – มา เพือ่ ดูสงิ่ ต่างๆ รอบตวั (1 – 2 เดือน) อายุ 4 – 6 เดือน (137) แสดงความสนใจคนดว้ ยการมองตา จอ้ งหน้า และมองปากคนที่พูดดว้ ย ทำท่าทาง และสง่ เสยี งโตต้ อบ (4 เดือน) (138) สนใจแสงไฟ ของเล่น มือ น้วิ มือ ผม แว่นตา หรอื ต่างหู ของผู้ทม่ี าเลน่ ด้วย ด้วยการมองหรอื พยายามเอ้ือมมอื มาจบั ต้อง (5 เดือน) (139) ใชม้ ือแกว่ง ผลัก หรอื ตีของเล่นตา่ งๆ รวมทัง้ การใชม้ อื ตโี ต๊ะ หรือเคาะของ (4 เดอื น) (140) สนใจมองตวั เองในกระจกเงา (และบางทีเลน่ ดว้ ย โดยเอามอื ไปเคาะ เอาหน้าไปแนบ หรือทำท่าทาง) (6 เดอื น) (141) เร่ิมเล่นหรือ “ด”ู ของเลน่ แตล่ ะอยา่ งไดน้ านประมาณ 20 – 30 วนิ าที (6 เดือน) (142) จำหน้าพอ่ หรือแมห่ รือผดู้ ูแลใกล้ชิดได้ โดยแสดงอาการจำได้ เชน่ การย้ิม สง่ เสยี ง หรือแสดงความพอใจ กางแขนอ้ารับ (6 เดือน) (143) สนใจสิง่ เร้าใหมๆ่ เชน่ เล่นกบั ของเลน่ ใหม่ๆ หรอื อยากจับตอ้ งวตั ถอุ นื่ ๆ ท่ีวางอยูใ่ กล้เคียง (เชน่ ช้อนบนโต๊ะ ผา้ รองจาน เชือกผูก หมอนขา้ ง กระดาษสี กระดาษทม่ี เี สยี งตา่ งๆ) (6 เดือน) (144) เล่นเสียงพน่ นำ้ ลาย (6 เดอื น) 1 - 18

แนวแนะวิธีการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี อายุ 7 – 9 เดอื น (145) มองดูรปู ภาพกบั พอ่ แม่ จับหนงั สอื ช่วยเปิดหนงั สือ (8 เดอื น) (146) ทำท่าทางขดั ขนื เมือไม่ต้องการหรอื ไม่อยากทำ (ไมร่ วมเรอ่ื งกนิ ) (8 เดือน) (147) คน้ หาของท่ีซ่อนไวแ้ ตใ่ ห้เหน็ ครึง่ หนงึ่ โดยเดก็ ย้ายสง่ิ กีดขวางออก เพ่ือหยบิ ของ ที่ซ่อนนัน้ (9 เดอื น) (148) หยบิ ของส่งให้เมื่อขอ (9 เดอื น) อายุ 10 – 12 เดือน (149) คน้ หาของเล่นซ่อนใตผ้ ้าได้ (10 เดอื น) (150) เม่ือได้ยินเสยี งของหล่นใกล้ตัวเด็ก เร่ิมมองหาระยะสนั้ ๆ แตไ่ ม่จำเปน็ ตอ้ งเจอ (10 เดอื น) (151) เลียนแบบการเคล่ือนไหวหนา้ ตา แลบล้ิน ปากจู๋ (11 เดือน) (152) เมอ่ื เอย่ ชอ่ื คนหรอื สัตวท์ ีค่ นุ้ เคย เดก็ จะมองหา (12 เดอื น) อายุ 13 – 18 เดอื น (153) ต่อบล็อกไม้ 2 ชนั้ ได้ (15 เดือน) (154) ขดี เขยี นเสน้ ยงุ่ ๆ ได้ (17 เดือน) (155) เปิดหน้าหนงั สือไดท้ ลี ะหนา้ (18 เดือน) (156) ต่อบล็อกไม้ 4 ช้ันได้ (18 เดอื น) (157) หาของที่ซอ่ นไวท้ ซ่ี บั ซอ้ นข้นึ (ได้แก่ การย้ายท่ีซ่อน 2 คร้งั แล้วให้เดก็ หาว่าอยทู่ ี่ใด) (18 เดอื น) (158) ปิด – เปิดสวติ ซไ์ ฟและรวู้ า่ ทำใหไ้ ฟปดิ – เปิด (18 เดือน) (159) ปิด – เปดิ รโี มทและรู้วา่ ทำให้ปดิ – เปิดโทรทัศน์ หรือกดปมุ่ ปดิ – เปิด วทิ ยุได ้ (18 เดอื น) 1 - 19

แนวแนะวิธีการเลยี้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพมิ่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี อายุ 19 – 24 เดือน (160) เลียนแบบการต่อบล็อกไมเ้ รยี งต่อเป็นแถวยาว 4 ชิ้น (19 เดอื น) (161) รู้จกั เทของออกจากขวดปากแคบท่ีเด็กเอามอื ใสไ่ มไ่ ด้ (19 เดือน) (162) เลยี นแบบเทของออกจากขวดปากแคบที่เดก็ เอามือใสไ่ ม่ได้ (19 เดอื น) (163) ร้อยลกู ปดั ลูกใหญไ่ ด้ 5 ลูก (22 เดอื น) (164) เลยี นแบบรอ้ ยลูกปัดลูกใหญ่ได้ 5 ลกู (22 เดือน) (165) วาดเสน้ ตั้งฉากตามแบบไดแ้ ต่ไม่ตรง (22 เดอื น) (166) เสียบหมดุ ในกระดานปกั หมุดได้ (22 เดอื น) (167) สนใจ สำรวจ ทดลอง แสดงจนิ ตนาการกับของเล่น โดยนำมาสัมผสั จับต้อง ทดสอบ ต่อ สรา้ ง รื้อ และทลาย เช่น เล่นกับบล็อกไม้ ตุ๊กตา (22 เดอื น) (168) ฟังเพลงและแสดงความสนใจ อาจร้องคลอตามเพลงท่ีคนุ้ เคย (22 เดือน) (169) ใช้ของใชต้ า่ งๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง ในกิจวตั รงา่ ยๆ (24 เดอื น) (170) ร้องเพลงง่ายๆ ได้ 1 เพลง โดยไม่จำเปน็ ต้องจำเนอ้ื เพลงได้ถูกตอ้ ง (24 เดือน) (171) เลยี นแบบการตอ่ บลอ็ กไม้เรียงตอ่ เป็นแถวยาว 6 ชน้ิ (24 เดอื น) (172) จับคู่สเี หมือนกนั ได้ (จากตัวเลือก 3 ตัว ให้เลือก 1 ตวั จบั คูก่ บั โจทย)์ (24 เดือน) (173) จบั คู่รปู ทรงท่เี หมือนกนั ได้ (ทรงกลม) (จากตัวเลือก 3 ตวั ใหเ้ ลอื ก 1 ตัว จบั ค ู่ กับโจทย)์ (24 เดือน) (174) จบั คภู่ าพทีเ่ หมือนกันได้ (จากตัวเลอื ก 4 ตวั ให้เลอื ก 2 ตัว มาจบั 2 ค)ู่ (24 เดือน) (175) เจตนาแสดงพฤตกิ รรมทั้งพงึ ประสงค์และไม่พงึ ประสงค์เพื่อให้ผูใ้ หญส่ นใจ (เช่น เล่นกบั ของทีต่ กแตก รู้วา่ ไม่ควรเขา้ ใกลเ้ ตารอ้ นๆ) (24 เดือน) 1 - 20

แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี อายุ 25 – 36 เดือน (176) ใชข้ องใช้ต่างๆ ไดถ้ ูกต้องในกจิ วตั รที่ยากขน้ึ เชน่ ไมก้ วาดไว้กวาดบา้ น ร่มไว้กนั แดด หรอื กันฝน ฯลฯ) (30 เดอื น) (177) วาดหรอื ขดี เขียนเป็นภาพ (หรอื อาจดไู ม่เป็นภาพ) และอธบิ ายภาพได้ (30 เดือน) (178) เขา้ ใจเหตผุ ลมากขน้ึ เชน่ กวาดบา้ นเพอ่ื ใหบ้ า้ นสะอาด ลา้ งมอื เพอ่ื ใหม้ อื สะอาด (36 เดือน) (179) เขา้ ใจลำดบั ของเหตกุ ารณ์วา่ อะไรตอ้ งทำกอ่ น อะไรต้องทำทีหลัง (36 เดือน) (180) รู้จัก “อนาคต” และเขา้ ใจวา่ จะเกิดอะไรถดั ไป (36 เดอื น) (181) รู้จกั “ใกล”้ , “ไกล” (36 เดือน) (182) รู้จัก “บน” , “ลา่ ง” (36 เดอื น) (183) หมนุ เกลียวฝาขวดได้ (36 เดือน) (184) ลอกรปู เส้นแนวด่ิงตามแบบได้ (เตรยี มแบบ) (36 เดอื น) (185) ลอกรปู กากบาทตามแบบได้ (เตรียมแบบ) (36 เดอื น) (186) ลอกรูปวงกลมตามแบบได้ (เตรยี มแบบ) (36 เดือน) (187) เลยี นแบบขดี เสน้ แนวดง่ิ (เตรียมแบบ) (36 เดอื น) (188) เลียนแบบขีดเสน้ กากบาท (เตรยี มแบบ) (36 เดือน) (189) เลียนแบบวาดรปู วงกลม (เตรยี มแบบ) (36 เดอื น) (190) จบั คู่สีท่ีเหมือนกนั 3 คู่ (36 เดอื น) (191) จับคภู่ าพท่เี หมือนกัน 3 คู่ (36 เดอื น) (192) ลากเสน้ ภายในช่องรปู ตวั วีได้ เสน้ ห่าง 2 เซนตเิ มตร (เตรียมช่องรปู ตัวว)ี (36 เดือน) (193) จบั คู่สง่ิ ของประเภทเดยี วกัน 2 คู่ (36 เดอื น) (194) บอกไดว้ ่าเมื่อถงึ บ้านแล้วเอารองเท้าวางไวท้ ไ่ี หน (36 เดือน) (195) ช้ีไดว้ า่ บล็อกไมก้ องไหนมีชิ้นเดยี ว กองไหนมีหลายชนิ้ (36 เดอื น) (196) เด็กหยบิ ของตามคำสัง่ ไดห้ นง่ึ ชน้ิ (36 เดอื น) (197) เดก็ หยบิ ของตามคำสง่ั ไดส้ องชนิ้ (36 เดือน) (198) เดก็ หยบิ ของตามคำสงั่ ไดส้ ามช้นิ (36 เดือน) (199) ตอ่ ภาพตัดต่อทีม่ ีชนิ้ สว่ น 4 ชน้ิ ได้ (36 เดอื น) (200) ต่อภาพตดั ต่อทมี่ ีชนิ้ สว่ น 6 ชนิ้ ได้ (36 เดือน) (201) สามารถอธบิ ายลักษณะของส่งิ ตา่ งๆ โดยใชค้ ำขยายประกอบคำนามได้ เชน่ ลูกบอลสแี ดงลูกนแี้ ขง็ (36 เดือน) 1 - 21

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพม่ิ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ปี สว่ นหลกั 3 (Domain 3) : ความสามารถดา้ นภาษาและการส่อื ความหมาย (Language Development and Comprehension) อายุ 0 – 3 เดือน (202) ตอบสนองตอ่ เสยี งกระด่ิง (แรกเกดิ ) (203) ส่งเสยี งออกจากในคอ เช่น อือ ออ (2 เดอื น) (204) ส่งเสียงอู อา (3 เดอื น) (205) หัวเราะเสยี งดัง (เปล่งเสยี งอารมณด์ )ี (3 เดือน) อายุ 4 – 6 เดอื น (206) หนั และมองหาแหลง่ ทมี่ าของเสียง (5 เดอื น) (207) เปลง่ เสียงในลำคอ หรอื ทำเสียงสงู ๆ ต่ำๆ ได้ โดยเหมือนอยากคุยด้วย (5 เดอื น) (208) เปลง่ เสียงโต้ตอบผพู้ ูด เริม่ จะคยุ ดว้ ย เช่น อะกือ อะกือ (5 เดอื น) (209) เลยี นเสยี งผู้อ่ืน (6 เดอื น) อายุ 7 – 9 เดอื น (210) ทำเสยี งพยางค์เดยี ว โดยใชร้ ิมฝีปากออกเสียงตัว บ.ใบไม้ (7 เดือน) (211) ทำเสยี งพยางค์เดียว โดยใชร้ มิ ฝีปากออกเสยี งตัว ป. ปลา (9 เดอื น) (212) ขยบั ปากและใบหน้าเหมือนจะพยายามสอ่ื สารอะไรบางอยา่ ง (9 เดือน) (213) ปรบมือ (9 เดือน) (214) ทำเสยี งอนื่ ๆ ทีซ่ ับซอ้ น เชน่ ทำเสียงจากการเลน่ ลิ้น (9 เดือน) อายุ 10 – 12 เดอื น (215) เลียนเสยี งคำพูดบางคำได้อยา่ งใกล้เคยี ง (10 เดือน) (216) พดู เปน็ คำๆ ทช่ี ดั ขนึ้ และมีความหมาย เชน่ ไม่ ไป แม่ หม่ำ (11 เดือน) (217) ใชท้ า่ ทางหรอื ส่งเสียงเพือ่ เรียกรอ้ งความสนใจหรือบอกความต้องการ (10 เดอื น) (218) แสดงปฏิกริ ิยาตอบสนองต่อจังหวะและเสียงเพลง (11 เดือน) 1 - 22

แนวแนะวิธีการเล้ยี งดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี (219) หยดุ การกระทำเมือ่ ได้ยนิ เสยี งหา้ ม (12 เดอื น) (220) ช้อี วัยวะของคนอืน่ ได้ 1 ส่วน (12 เดือน) (221) เลียนเสยี งพูดคุยสงู ๆ ตำ่ ๆ แบบผใู้ หญ่ (12 เดือน) (222) หันตามเสียงเรียกชอื่ ตน (12 เดอื น) อายุ 13 – 18 เดือน (223) ทำตามคำบอกอย่างงา่ ยๆ ซ่ึงเปน็ เร่อื งในชีวติ ประจำวนั โดยไมต่ อ้ งทำใหด้ ู (13 เดือน) (224) บอกชอ่ื วตั ถงุ า่ ยๆ ทเี่ หน็ ในชวี ติ ประจำวนั ไดถ้ กู ตอ้ ง (บอกได้ 2 สง่ิ จาก 3 สง่ิ ) (15 เดอื น) (225) ใชค้ ำพดู บอกความต้องการหรือปฏิเสธ เชน่ ไม่ , ไป หรอื เอา , ไมเ่ อา (15 เดือน) (226) เลยี นคำทไ่ี ดฟ้ ังซ้ำๆ หรอื คำสดุ ทา้ ยของคำพดู ได้ (15 เดือน) (227) ชีอ้ วัยวะของตนเองได้ 2 ส่วน (18 เดอื น) (228) พูดเป็นคำท่มี ีความหมายได้อยา่ งน้อย 10 คำ (18 เดอื น) (229) เลอื กรปู ภาพสัตว์ตามคำสัง่ ได้ 2 รูป จาก 4 รปู (18 เดอื น) (230) เลอื กรปู ภาพสง่ิ ของตามคำส่งั ได้ 2 รปู จาก 4 รปู (18 เดือน) (231) หยบิ สงิ่ ของถูกต้อง เม่ือเอ่ยชอ่ื ทีละอยา่ ง (18 เดอื น) อายุ 19 – 24 เดือน (232) พูด 2 คำติดต่อกนั อยา่ งมคี วามหมาย เช่น กินข้าว (19 เดือน) (233) บอกช่อื ตนเองได้ (ชื่อจริงหรอื ช่ือเล่นกไ็ ด้) (22 เดือน) (234) เวลาตอ้ งการอะไรจะบอกช่ือของที่ต้องการน้นั ได้ (22 เดือน) (235) สนใจฟังนิทานง่ายๆ สนั้ ๆ (22 เดอื น) (236) พูดใหผ้ ทู้ ี่คนุ้ เคยเข้าใจได้ (24 เดือน) (237) บอกชอ่ื วตั ถไุ ด้ถกู ต้อง 6 ชนิด (24 เดือน) (238) ชอ้ี วยั วะของตนเองได้ 4 ส่วน (24 เดือน) 1 - 23

แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพ่ิมคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี อายุ 25 – 36 เดือน (239) รู้จกั ถามว่านอ่ี ะไร (ของทไี่ มร่ ้จู กั ) (25 เดอื น) (240) พูดคยุ โตต้ อบเป็นประโยคสนั้ ๆ (ถามพอ่ แม่ ผู้ดแู ลเดก็ (30 เดือน) (241) สอ่ื สารถงึ ความรู้สึกของตนเองได้ว่าหวิ อรอ่ ย รอ้ น หนาว ง่วง หรอื สนกุ (30 เดอื น) (242) เรียกชอ่ื ของใช้ สิง่ ของในบ้าน หรือส่ิงของรอบตัวได้ 10 อย่าง (30 เดือน) (243) บอกช่อื คนอ่ืนได้ 1 คน (ใครก็ได)้ (30 เดือน) (244) ทำเสียง เลยี นเสียงสตั ว์ได้ (เชน่ เสียงสุนขั เห่า เสียงไก่ ฯลฯ) (30 เดอื น) (245) ทำตามคำสงั่ (ทำตามคำสง่ั แสดงวา่ เขา้ ใจความหมายของคำ นง่ั ยนื เดนิ วง่ิ กระโดด ปรบมอื ) (30 เดอื น) (246) บอกชอื่ แม่สีได้ 3 สี (ใช้บล็อกสีทเ่ี ตรียมไปดว้ ย) (30 เดือน) (247) พูดและชบี้ อกส่วนต่างๆ ของร่างกายของตนเองได้ 10 สว่ น (36 เดือน) (248) ฟังนทิ านแลว้ ตอบคำถามสัน้ ๆ ได้ (ทดสอบโดยเลา่ นทิ านให้ฟงั ) (36 เดือน) (249) บอกลักษณะของของที่จบั หรอื คลำได้ (36 เดอื น) (250) สนใจดหู นังสอื นทิ านได้นาน 2 นาที (36 เดอื น) (251) สังเกตและเริม่ ถามคำถามตา่ งๆ รอบตวั โดยใช้คำถามว่า ทำไม เชน่ ทำไมต้องรดนำ้ ตน้ ไม ้ ทำไมตอ้ งปิดพดั ลม ทำไมใบไมส้ ีเขยี ว ฯลฯ (36 เดอื น) 1 - 24

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี สว่ นหลัก 4 (Domain 4) : ความสามารถด้านอารมณแ์ ละสงั คม (Emotional and Social Development) อายุ 0 – 3 เดือน (252) ย้ิมตอบ (แรกเกดิ – 1 เดอื น) (253) หยุดรอ้ งเมื่ออุ้ม (1 เดือน) (254) ยมิ้ ทักทายเม่ือเหน็ หนา้ คนทีค่ นุ้ เคย (2 เดอื น) (255) แสดงความร้สู ึก ชอบ ไมช่ อบ หงดุ หงิดหรอื ไม่พอใจ (2 เดือน) อายุ 4 – 6 เดือน (256) แสดงอาการกลวั เชน่ เบือนหนา้ หนี ห่อตัว ฯลฯ (4 เดือน) (257) เวลาต่ืนเต้นดีใจ ทำตวั สน่ั ๆ และส่งเสยี งสงู ๆ ตำ่ ๆ (ถามพอ่ แม่ ผูด้ ูแลเดก็ ) (4 เดือน) (258) ทำเสยี งบน่ หรอื ไม่พอใจในลำคอ เวลาไมส่ บอารมณ์ (5 เดอื น) (259) หัวเราะเอิก๊ อ๊ากเปน็ ระยะๆ เวลาทมี่ ีคนเล่นด้วยทถ่ี ูกใจ (5 เดอื น) (260) แสดงท่าทางไม่วางใจคนแปลกหนา้ เช่น อาจไมใ่ หอ้ ุ้มหรือเบอื นหน้าหนี หรือ ทำหนา้ เบะ เม่ือคนแปลกหนา้ เขา้ มาพดู คุยด้วย (6 เดอื น) (261) อา้ แขนรบั เตรยี มให้อมุ้ ไดถ้ ้าเปน็ ผูค้ นุ้ เคย (6 เดือน) (262) แสดงอารมณ์ดี ไมร่ ้องไห้ เชน่ เมอ่ื ตืน่ นอน (6 เดอื น) อายุ 7 – 9 เดือน (263) เลน่ เกมจ๊ะเอ๋ (7 เดอื น) (264) เปลีย่ นสีหนา้ ตอบสนองต่อการแสดงสีหน้าหรอื น้ำเสยี งท่ีนมุ่ นวล (9 เดอื น) (265) เปลี่ยนสหี นา้ ตอบสนองต่อการแสดงสีหนา้ หรือน้ำเสยี งโกรธของผใู้ หญ่ (9 เดือน) (266) นงั่ เลน่ ของเลน่ ตามลำพังได้ชว่ั ครู่ (9 เดอื น) 1 - 25

แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี อายุ 10 – 12 เดือน (267) เมอ่ื ไมพ่ อใจหรือไม่ไดด้ งั ใจแสดงทา่ ทางฮดึ ฮัด รอ้ งด้นิ เคาะ กระแทกหรือ ขว้างปาของเวลาเล่น (12 เดือน) (268) เม่อื ไมพ่ อใจ ร้องดิ้นปฏิเสธเมอื่ ไม่ตอ้ งการ (12 เดอื น) (269) แสดงพฤติกรรมเรยี กรอ้ งความสนใจ เช่น ทำเสยี งตา่ งๆ เพอ่ื เรียกความสนใจ จากผใู้ หญ่ (12 เดอื น) อายุ 13 – 18 เดือน (270) ย่นื ของเล่นให้ผูใ้ หญ่ท่แี บมือขอ (14 เดอื น) (271) เด็กแบมือรับของ และร้จู กั ขอบคุณ (18 เดอื น) (272) รู้จัดทำกริ ยิ าทักทาย เชน่ สาธุ ตอบสนองการบอกลาดว้ ยการโบกมือบายๆ ส่งจบู สาธุ (18 เดือน) (273) รจู้ กั ปฏิเสธดว้ ยท่าทางหรอื พูด (18 เดือน) (274) แสดงความดใี จเมอื่ ตนเองทำสงิ่ หนง่ึ ส่ิงใดได้สำเร็จ เชน่ หยิบของได้ กระโดดได้ วิง่ ถงึ เปา้ หมาย และเม่ือได้รบั ความสนใจหรือคำชมเชย เชน่ ตบมอื ดใี จ หวั เราะ กระโดดเข้าวง่ิ ใส่ วง่ิ เขา้ หา (18 เดอื น) (275) แสดงความสนใจเขา้ ไปใกล้เด็กอ่ืนท่ีกำลงั เล่นหรือจอ้ งมองเด็กอ่ืนท่กี ำลังเล่น หรืออยากร่วมเล่นดว้ ย (18 เดอื น) อายุ 19 – 24 เดอื น (276) เรยี กรอ้ งความสนใจจากผู้เลี้ยงดู เชน่ ร้องเรียกใหม้ าเลน่ ดว้ ย หรอื เวลาทำอะไรได้ จะเรยี กให้พ่อแม่มาดู หรอื รอ้ งขอให้ทำอะไรให้ (22 เดือน) (277) ชอบเฝ้าดกู ารกระทำของคนท่ีโตกว่า (22 เดอื น) (278) แยกกับแมช่ ั่วครู่ ประมาณ 5 นาที โดยไม่ร้องไห้ (ในสถานทที่ ่ีคุ้นเคย) (24 เดอื น) 1 - 26

แนวแนะวธิ ีการเลีย้ งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี อายุ 25 – 36 เดอื น (279) ทำทา่ ทางควบคมุ และออกคำสง่ั คนอื่นเม่อื เลน่ หรอื เม่ือตอ้ งการ (25 เดือน) (280) บอกความตอ้ งการของตนเองได้ เชน่ อยากกนิ นม อยากเล่นและบอกคนอน่ื ให้ทำสิ่งทีต่ นต้องการ (25 เดือน) (281) เล่นเลยี นแบบผใู้ หญ่ เช่น พูดโทรศพั ท์ ทำกับข้าว เปดิ เครอ่ื งเสยี ง เปดิ – ปดิ สวิตซไ์ ฟฟ้า (25 เดอื น) (282) แสดงความหวงของของตนเอง (25 เดือน) (283) พูดคยุ กับคนที่คุ้นเคยหรือเพ่ือนวัยเดก็ ด้วยกัน (30 เดอื น) (284) รูจ้ ักรอคอยไดน้ าน 1 - 3 นาที (36 เดอื น) (285) บอกไดว้ า่ ตนเองเปน็ ผ้หู ญงิ หรือผ้ชู าย (36 เดอื น) (286) เลา่ เรอื่ งเกย่ี วกบั ประสบการณ์ท่ีไดร้ ับ (36 เดอื น) 1 - 27

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี 1 - 28

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี สมรรถนะของเด็กปฐมวัยในการพฒั นาตามวยั (3 – 5 ป)ี Thailand Early Childhood Behavioral Competency (3 - 4 - 5 ปี) 1 - 29

แนวแนะวธิ ีการเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี สว่ นหลกั 1 (Domain 1) : การเคลื่อนไหวและสุขภาวะทางกาย (Motor Development and Physical Well – Being) สว่ นยอ่ ย 1.1 (Sub-domain 1.1) : การเคล่อื นไหว (Motor Skill Development) ด้าน (Area) : 1.1.1 การเคลอ่ื นไหวและการทรงตวั โดยใช้ กล้ามเนื้อมดั ใหญ่ (Gross Motor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 1 : เด็กสามารถแสดงความแขง็ แรงและประสาน การทำงานของกล้ามเน้ือมัดใหญ่ (Children demonstrate strength and coordination of movements using large muscles) พฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) (1) ว่งิ ไดต้ รงไม่โซเซ และหยดุ เองได้ (3 ป)ี (2) กระโดด 2 เท้าอยกู่ บั ที่ (3 ปี) (3) เดินตามเสน้ เปน็ วงกลม ขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 2 เมตร (3 ปี) (4) วงิ่ ตามเส้นเปน็ วงกลม ขนาดเส้นผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 2 เมตร (3 ป)ี (5) เดนิ ข้ึนบนั ไดสลบั เท้าได้ (3 ปี) (6) ขว้างลกู บอลไปข้างหนา้ ได้ แมน่ ยำพอควร (3 ปี) (7) เตะลกู บอลไปขา้ งหน้าให้เขา้ ชอ่ งทกี่ ำหนด (3 ปี) (8) กระโดด 2 เท้าข้ามส่ิงของเลก็ ๆ โดยไมเ่ ซ (3 ปี) (9) ยืนขาเดียวโดยไมเ่ ซ ประมาณ 3 วินาที (3 ปี) (10) เดินต่อเทา้ ไปข้างหน้าเป็นเส้นตรงโดยไมต่ อ้ งกางแขน (4 ปี) (11) ปนี ป่ายเครื่องเลน่ (4 ป)ี (12) เดินลงบันไดสลับเทา้ ได้ (4 ป)ี (13) กระโดดขาเดียวอย่กู ับท่ี (4 ปี) (14) กระโดดขาเดยี วไปขา้ งหน้าอย่างตอ่ เนือ่ งได้ (4 ป)ี (15) วิ่งแบบก้าวกระโดด (Skipping) หรือว่ิงแบบมา้ ควบ (Galloping) (5 ป)ี (16) เดนิ ตอ่ เทา้ ถอยหลงั เปน็ เส้นตรง โดยไมต่ อ้ งกางแขน (5 ป)ี 1 - 30

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 1.1.2 การเคลอื่ นไหวโดยใชก้ ลา้ มเนอ้ื มดั เลก็ (Fine Motor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 2 : เดก็ สามารถแสดงความแข็งแรงและประสาน การทำงานของกล้ามเน้ือมัดเล็ก (Children demonstrate strength and coordination of movements using small muscles) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (17) ใช้มือจับดนิ สอหรอื อุปกรณ์อน่ื อย่างถูกวิธีในการขดี เขยี น (3 ปี) (18) วาดรูปวงกลมตามวธิ ีที่มีผ้ทู ำให้ดู (3 ป)ี (19) วาดรูปวงกลมตามรูปตัวอย่าง (3 ป)ี (20) วาดรปู คนท่มี ีส่วนประกอบอยา่ งนอ้ ยสามส่วน (3 ปี) (21) จับและใช้กรรไกรเลก็ ท่ีปลายมนตัดกระดาษได้ (3 ป)ี (22) ปกั หมดุ ในช่อง ขนาดหมดุ ใหญ่ 1– 2 ช่องได้ (3 ปี) (23) รอ้ ยลูกปัดขนาดเลก็ ประมาณเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 1 ซม. (3 ปี) (24) วาดรปู สีเ่ หล่ยี มตามวิธีทม่ี ีผู้ทำให้ดู (4 ป)ี (25) วาดรปู สเ่ี หล่ยี มตามรปู ตัวอย่าง (4 ปี) (26) วาดรปู คนท่ีมสี ว่ นประกอบหา้ ส่วน (4 ป)ี (27) ใชก้ รรไกรเลก็ ตดั กระดาษเปน็ เส้นตรงยาว 6 นิ้ว ได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง (4 ป)ี (28) พบั กระดาษเปน็ รปู รา่ งต่างๆ โดยมีผู้ใหญช่ ว่ ย (4 ปี) (29) ผูกเชอื กรม่ เป็นปม 1 ช้นั (4 ปี) (30) แกป้ มเชือกรม่ 2 ชน้ั ได้ (4 ป)ี (31) วาดรปู สามเหลี่ยมตามวิธที ่มี ผี ทู้ ำให้ดู (5 ป)ี (32) วาดรูปส่ีเหลีย่ มข้าวหลามตัดตามวธิ ที มี่ ผี ูท้ ำใหด้ ู (5 ปี) (33) วาดรปู สามเหล่ียมตามรูปตัวอย่าง (5 ป)ี (34) วาดรูปส่เี หลี่ยมข้าวหลามตดั ตามรปู ตวั อย่าง (5 ป)ี (35) วาดรปู คนที่มีส่วนประกอบหกสว่ น (5 ปี) (36) วาดรปู คนทม่ี ีส่วนประกอบสิบส่วน (5 ป)ี (37) ใชก้ รรไกรตัดกระดาษตามรอยเส้นโคง้ หรอื เป็นรปู ร่างง่ายๆ (5 ปี) (38) พับกระดาษ เป็นรูปรา่ งต่างๆ ดว้ ยตนเอง (5 ปี) 1 - 31

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ดา้ น (Area) : 1.1.3 ประสาทสัมผสั กับการเคลื่อนไหว (Sensorimotor) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 3 : เด็กสามารถใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ (เช่น การเห็น ได้ยนิ กายสัมผัส ฯลฯ) เป็นการนำ ในการเคลื่อนไหว (Children are able to use their senses. (e.g: sight, hearing, touch etc.) to guide their movement) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (39) ยอ่ เขา่ เวลากระโดดลงบนั ไดข้นั สุดท้าย (3 ป)ี (40) ว่งิ รอบโตะ๊ โดยไม่ชนโตะ๊ (3 ปี) (41) มุดอุโมงค์ หรอื ลอดใตโ้ ต๊ะ โดยหัวไม่ชน (3 ป)ี (42) รนิ นำ้ จากขวดใสถ่ ว้ ยหรือขนั โดยไม่หก (3 ปี) (43) จัดวางสง่ิ ของหรอื วัสดซุ ้อนหรอื ตอ่ กนั ใหเ้ ป็นรปู รา่ งตา่ งๆ ตามตัวอยา่ งทต่ี งั้ ให้ด ู โดยวางของซอ้ นสับหว่างให้เปน็ สะพาน (ดว้ ยของ 3 ชน้ิ ) (3 ปี) (44) รับลูกบอลขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง 8 นิว้ ทีโ่ ยนมาจากระยะ 2 เมตร โดยรบั ดว้ ยสองมือ (3 ปี) (45) เดินถือถ้วยใส่น้ำคอ่ นถว้ ยโดยไม่หก จากดา้ นหนึง่ ของห้องไปอีกดา้ นหน่ึง ระยะทางประมาณ 4 เมตร (3 ป)ี (46) ยนื่ มอื รับถ้วยใส่น้ำคอ่ นถว้ ย (3/4 ถ้วย) แลว้ ส่งต่อใหเ้ พ่อื นไดโ้ ดยไม่หก (3 ปี) (47) รบั ลกู บอลขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 8 นิ้ว ที่กระดอนขน้ึ จากพน้ื ได้ดว้ ยมอื ท้งั สอง (4 ปี) (48) เคลือ่ นไหวร่างกายตามที่ตกลงกนั ให้คู่กับสัญญาณเสยี งทีผ่ ใู้ หญท่ ำขึน้ โดยเด็กไม่เห็นตน้ เสยี ง (4 ป)ี (49) จัดวางส่งิ ของหรือวัสดซุ ้อนหรือต่อกันใหเ้ ปน็ รูปรา่ งต่างๆ ตามตัวอยา่ งทีต่ ้ังให้ดู โดยวางของซ้อนเปน็ บนั ได 3 ข้ัน (ด้วยของ 6 ชนิ้ ) (4 ปี) (50) เคล่ือนไหวรา่ งกายตามทีต่ กลงกันใหค้ ู่กบั สญั ญาณเสียง ทผี่ ใู้ หญ่ทำขึ้น โดยเด็กเคล่ือนไหวร่างกาย 2 แบบตอ่ กัน เมอ่ื ได้ยนิ สัญญาณเสียง 2 ชนิดตอ่ กนั (4 ปี) (51) จดั วางสิ่งของหรือวสั ดซุ ้อนหรือต่อกนั ให้เป็นรปู ร่างตา่ งๆ ตามตวั อย่างทตี่ ้งั ใหด้ ู โดยวางของซอ้ นเป็นบนั ได 4 ข้นั (ดว้ ยของ 10 ชิน้ ) (5 ป)ี 1 - 32

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ส่วนยอ่ ย 1.2 (Sub-domain 1.2) : สุขภาวะทางกาย (Physical Well – Being) ด้าน (Area) : 1.2.1 โภชนาการ (Nutrition) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 4 : เด็กรบั ประทานอาหารหลาย ๆ ชนิดที่ม ี ประโยชนแ์ ละปลอดภยั (Children eat a variety of nutritious and safe food) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (52) กินอาหารหลากหลายท่ีมปี ระโยชน์ครบ 5 หมู่ และดื่มนำ้ อยา่ งเพยี งพอ โดยมผี ู้ใหญ่ช่วยเหลอื แนะนำ (3 ป)ี (53) มีสว่ นรว่ มในการเตรยี มอาหารทีม่ ีประโยชน์ (เชน่ เด็ดผกั ตีไข่ ฯลฯ) (4 ปี) (54) แยกของทีก่ ินไดอ้ อกจากของท่ีกนิ ไมไ่ ด้ (4 ป)ี (55) บอกไดว้ า่ อาหารใดไม่ควรกิน (5 ปี) (56) ใชช้ ้อนกลางตกั อาหารท่ีเปน็ สำรบั รวม (5 ปี) 1 - 33

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่ือเพ่มิ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี ด้าน (Area) : 1.2.2 สมรรถภาพทางกาย (Physical Fitness) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 5 : เด็กแสดงความแข็งแรงและความทนทาน ทางร่างกาย (Children demonstrate physical strength and endurance) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (57) ทำกิจกรรมท่ีมีการเคลอื่ นไหวอยา่ งต่อเนอ่ื งอย่างนอ้ ย 10 – 15 นาที วนั ละ 2 – 3 รอบ (3 ปี) (58) นอนหลบั ไดเ้ พยี งพอ ตนื่ นอนตอนเชา้ อยา่ งสดชน่ื และพรอ้ มทจ่ี ะทำกจิ กรรมตา่ งๆ (3 ป)ี (59) ไมง่ ว่ งเหงาหาวนอนในเวลากลางวนั ยกเว้นเวลาที่กำหนดใหน้ อนพกั (3 ปี) (60) เล่นออกกำลงั กายอยา่ งอิสระหรอื ทกี่ ำหนดให้รวมกนั อยา่ งนอ้ ย 60 นาทีต่อวนั โดยแต่ละช่วงสามารถทำติดตอ่ กนั ได้ 15 นาที (เชน่ วิ่ง เต้น ป่ันจักรยาน เล่นกฬี า ฯลฯ) (3 ป)ี (61) หิว้ ยก หรอื แบกของน้ำหนักประมาณ 1 กิโลกรมั ในระยะทางสนั้ ๆ (3 ป)ี (62) มีแรงในการฝกึ ทกั ษะหลายคร้ัง (3 ปี) (63) ชวนเพอื่ นเล่นกิจกรรมทีต่ ้องมกี ารเคลอื่ นไหว (3 ป)ี (64) สามารถวิ่งติดตอ่ กันในระยะทาง 400 – 500 เมตร (5 ป)ี 1 - 34

แนวแนะวิธีการเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิม่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี ด้าน (Area) : 1.2.3 ความปลอดภยั (Safety) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 6 : เด็กแสดงออกว่ามคี วามเข้าใจเกี่ยวกับ ความปลอดภัย (Children express understanding of safety) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (65) เลน่ อย่างปลอดภยั ตามคำแนะนำของผใู้ หญ่ (3 ป)ี (66) ไมล่ งเล่นนำ้ ตามลำพงั (เช่น อ่าง สระน้ำ ฯลฯ) (3 ปี) (67) รจู้ ักใชส้ ายตาอย่างเหมาะสม หลกี เล่ียงการใชส้ ายตาในทส่ี ว่างจ้าหรอื มืดเกนิ ไป (เช่น ไม่อ่านหนังสอื กลางแดดหรือทแ่ี สงไมพ่ อ ไมด่ โู ทรทศั น์ คอมพวิ เตอรใ์ นระยะใกล้ และนานเกินไป ไม่อา่ นหนังสอื ขณะท่ีรถแล่น ฯลฯ) (3 ปี) (68) รู้จักถอื ของแหลมหรอื มีคมทกุ ชนดิ อย่างปลอดภัย โดยไม่วิ่ง (เชน่ กรรไกร ไม้เสยี บลกู ชิ้นหรอื ดนิ สอแหลม ฯลฯ) (3 ป)ี (69) ไม่ไปกบั คนแปลกหนา้ (3 ปี) (70) รู้วา่ เมือ่ ตอ้ งการความชว่ ยเหลือจะตดิ ต่อกับใคร (3 ป)ี (71) บอกไดว้ ่าสภาพใดเป็นอนั ตรายต่อตนเอง ไม่เล่นในบรเิ วณทเี่ สี่ยงตอ่ อนั ตราย (4 ปี) (72) บอกผู้ใหญ่หรอื เตอื นเพ่อื นเม่ือเห็นเหตกุ ารณท์ เี่ ปน็ อนั ตราย (4 ปี) (73) บอกได้วา่ สง่ิ ใดเป็นอนั ตรายต่อตนเอง (5 ปี) (74) เข้าใจเครื่องหมายสญั ลักษณ์ท่ีบอกอนั ตราย และที่บอกความปลอดภยั (5 ป)ี (75) รจู้ กั ขา้ มถนนเฉพาะเมอื่ มผี ู้ใหญ่อยู่ดว้ ย และไมข่ ้ามถนนตามลำพัง (5 ปี) (76) บอกเลขหมายโทรศัพทเ์ ม่ือเกิดเหตฉุ กุ เฉิน (5 ป)ี (77) รู้จักสถานท่ตี ้ังของบา้ นตนเอง (5 ปี) (78) รู้จักวธิ ีปฏิบัติตนอยา่ งปลอดภัยขณะเดนิ ทาง (5 ปี) 1 - 35

แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ดา้ น (Area) : 1.2.4 การช่วยเหลือและดแู ลตนเอง (Autonomy and Personal Care) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 7 : เดก็ สามารถชว่ ยและพ่งึ ตนเองไดใ้ นกจิ วัตร ของตน (Children demonstrate autonomy in daily living) พฤติกรรมบ่งช้ี (Indicators) (79) แปรงฟันเองแต่ผูใ้ หญย่ ังต้องช่วย (3 ป)ี (80) รจู้ กั แปรงฟันด้วยตนเอง (3 ปี) (81) ทำความสะอาดร่างกายหลงั ปัสสาวะและอจุ จาระ โดยมีคนชว่ ย (3 ปี) (82) ทำความสะอาดรา่ งกายหลงั ปัสสาวะและอจุ จาระ ไดด้ ้วยตนเอง (3 ปี) (83) สระผมโดยมคี นชว่ ย (3 ปี) (84) ร้จู กั หวผี ม (3 ป)ี (85) บอกไดว้ ่าต้องการจะถา่ ยอจุ จาระ (3 ป)ี (86) บอกได้ว่าต้องการจะปัสสาวะ (3 ปี) (87) ใส่รองเท้าชนิดสวมได้ แต่อาจจะสลับข้าง (3 ป)ี (88) ใสร่ องเท้าชนิดสวมไดถ้ ูกข้าง (3 ปี) (89 ใชช้ อ้ นตักอาหารกนิ ไดด้ ว้ ยตนเอง โดยไม่หก (3 ปี) (90) กินอาหารและน้ำดม่ื ท่ีสะอาด (3 ป)ี (91) ช่วยเกบ็ ทน่ี อน ของใช้ส่วนตวั ไว้ในท่ีเหมาะสม (3 ปี) (92) ดืม่ นำ้ หรอื นมจากถ้วยที่ถอื ยกขนึ้ ดม่ื ดว้ ยตนเองโดยไมห่ ก (3 ป)ี (93) อาบนำ้ และทำความสะอาดตนเองได้ (4 ปี) (94) สระผมไดเ้ อง (4 ปี) (95) ตดิ กระดมุ ทีม่ รี ังดมุ ซึ่งอย่ดู ้านหน้าของเส้อื ตนเองไดเ้ อง (4 ป)ี (96) ใส่เส้ือไดเ้ อง โดยร้จู กั ดา้ นหน้าด้านหลงั ของเสื้อ (4 ปี) (97) รู้จกั ปิดปากเวลาจามหรือไอ (4 ป)ี (98) รจู้ กั ลา้ งผลไม้ ให้สะอาดก่อนกนิ (4 ป)ี (99) ใชส้ ้วมเป็นและทำความสะอาดตนเองได้ (4 ปี) (100) ใช้ชอ้ นและสอ้ มกินอาหารได้ (5 ป)ี (101) ล้างมอื /มือทีเ่ ปื้อน หลังเข้าห้องสว้ ม และก่อนกนิ อาหารไดเ้ องโดยไมต่ อ้ งเตอื น (5 ปี) 1 - 36

แนวแนะวธิ ีการเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี สว่ นหลัก 2 (Domain 2) : พฒั นาการดา้ นสังคม (Social Development) สว่ นย่อย 2.1 (Sub-domain 2.1) : การมปี ฏิสัมพันธ์กบั ผใู้ หญ่ (Interaction with Adults) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 8 : เดก็ แสดงทักษะในการมีปฏสิ ัมพันธ์กับผูใ้ หญ่ (Children interact with adults with appropriate social skills) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (102) ทกั ทาย พดู คยุ ถามตอบกบั ผูใ้ หญ่โดยมีผ้ใู หญช่ ่วย (3 ปี) (103) ขอความช่วยเหลอื จากผ้ใู หญ่ (3 ป)ี (104) ทำส่งิ ต่างๆ เพอื่ เอาใจผ้ใู หญ่ (3 ปี) (105) มคี วามเช่อื ม่นั ในการปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผใู้ หญค่ นอนื่ ทีไ่ ม่ใชเ่ ป็นพอ่ แม่ (เช่น ครู หมอ ฯลฯ) (3 ป)ี (106) มีปฏสิ มั พนั ธก์ บั ผู้ใหญ่อย่างเหมาะสมและมสี ัมมาคารวะ (3 ปี) (107) ชว่ ยเหลือผใู้ หญ่ทำงานบา้ นตามสมควร (3 ปี) (108) ไม่มพี ฤตกิ รรมกา้ วร้าวกับผใู้ หญ่ (3 ป)ี (109) ร้จู ักปรบั น้ำเสยี งและความดงั ตามสถานการณ์ต่างๆ โดยมผี ใู้ หญ่แนะนำ (3 ป)ี (110) สนใจฟังผูอ้ ืน่ พูดขณะสนทนา (3 ป)ี (111) รู้จกั ผลัดกันพดู ผลัดกันฟังในกลุม่ สนทนา (3 ป)ี (112) ใชถ้ อ้ ยคำและน้ำเสยี งท่ีอ่อนโยน (3 ป)ี (113) ทักทาย พดู คุยถามตอบกบั ผใู้ หญ่ด้วยตนเอง (4 ปี) (114) ชวนผใู้ หญ่เลน่ ด้วย (4 ปี) (115) ร้จู กั ต่อรองและประนปี ระนอมกบั ผใู้ หญเ่ มื่อมขี ้อขดั แย้งกนั (4 ป)ี (116) เสนอตวั ช่วยเหลอื ผใู้ หญ่ (4 ปี) (117) การมสี ว่ นร่วมกับผ้ใู หญ่ในการตัดสนิ ใจ หรือแสดงความเหน็ ของตนในเรอ่ื งตา่ งๆ (4 ป)ี (118) รูจ้ กั ปรับนำ้ เสยี งและความดงั ตามสถานการณ์ตา่ งๆ (4 ป)ี (119) ถ่ายทอดขอ้ ความท่ีไดร้ บั จากคนหน่ึงไปยังอกี คนหน่งึ ได้ถกู ตอ้ ง (4 ป)ี 1 - 37

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี สว่ นยอ่ ย 2.2 (Sub-domain 2.2) : การมีปฏิสมั พนั ธก์ บั เพ่อื นเดก็ (Interaction with Peers) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อที่ 9 : เดก็ แสดงทกั ษะทางสงั คมเชงิ บวกกับ เพอื่ นเด็กดว้ ยกนั (Children demonstrate positive social skills with peers) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (120) แสดงความสนใจเด็กคนอน่ื (3 ปี) (121) พูดคุยและเล่นกบั เพือ่ นเดก็ ดว้ ยกัน (3 ป)ี (122) เข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ ได้ (3 ปี) (123) เลน่ อสิ ระกบั เพอื่ นเด็กจำนวน 2 คนขน้ึ ไป (3 ป)ี (124) ไม่แสดงพฤติกรรมก้าวรา้ วกบั เพอ่ื น (3 ปี) (125) ยอมรับความช่วยเหลือจากเพอ่ื น (3 ปี) (126) บอกชื่อเพ่ือนอย่างน้อย 1 ชื่อ (3 ป)ี (127) ยอมรบั กฎ กตกิ า เวลาเล่นกบั เพ่ือน (3 ป)ี (128) สร้างความสมั พนั ธ์ที่ดอี ยา่ งตอ่ เน่อื งกบั เพือ่ น เช่น บอกว่าคดิ ถึงเพื่อน คอยให้ มาเล่นด้วยกัน เก็บของหรอื ขนมไว้ใหเ้ พ่ือน (4 ปี) (129) ฟงั เพอื่ นและแสดงความคดิ เห็น (4 ปี) (130) ชว่ ยเหลอื เพ่อื น (4 ปี) (131) รว่ มกิจกรรมกล่มุ กบั เพ่ือนจนกิจกรรมนนั้ แล้วเสรจ็ (4 ปี) (132) เมอื่ มปี ัญหาขัดแย้งกับเพอ่ื น รจู้ กั ต่อรองหรอื ประนีประนอม (4 ปี) (133) ชวนเพอ่ื นมาเลน่ ด้วยกนั โดยกำหนดสถานท่ี (5 ปี) 1 - 38

แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพือ่ เพมิ่ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนยอ่ ย 2.3 (Sub-domain 2.3) : พฤติกรรมการปรับตัวทางสงั คม (Adaptive Social Behavior) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 10 : เด็กแสดงความตระหนกั รวู้ า่ พฤตกิ รรม มผี ลกระทบตอ่ บคุ คลและส่ิงแวดลอ้ ม (Children demonstrate awareness of their own behavior and its effect on other people and environment) พฤตกิ รรมบ่งชี้ (Indicators) (134) แบง่ ปนั กบั เพื่อน และผลดั กนั เลน่ โดยมผี ู้ใหญ่คอยชว่ ยเหลอื แนะนำ (3 ป)ี (135) เมอ่ื เผชญิ สภาพแวดลอ้ มทีแ่ ปลกใหม่ก็กล้าที่จะลองทำส่งิ ใหมๆ่ ทท่ี า้ ทาย (3 ปี) (136) ถามผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง (เช่น ถ้าหนูพูดเสยี งดัง ทำไมเพื่อนตอ้ งโกรธ) (4 ป)ี (137) ปรบั เปลย่ี นบทบาทได้ในโอกาสท่เี หมาะสม (4 ป)ี (138) ขอเขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั กลุ่มเพ่ือน ในขณะทีก่ ลุม่ กำลงั ทำกิจกรรมอยู่ (4 ป)ี (139) ปลอบเม่อื เหน็ เพ่อื นเจบ็ หรือไมส่ บายใจ (4 ปี) (140) ปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบยี บของสงั คมอยา่ งงา่ ยๆ ในครอบครวั /โรงเรยี น/ชมุ ชน (4 ปี) (141) ใชท้ า่ ทางและภาษาท่เี หมาะสมเม่ือมคี วามขดั แยง้ ภายในกลมุ่ (4 ปี) (142) บอกพฤตกิ รรมท่ดี ีของเด็กคนอน่ื (5 ปี) (143) บอกไดว้ า่ การกระทำของตนเองมผี ลตอ่ ความรสู้ กึ และพฤตกิ รรมของผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งไร (5 ป)ี 1 - 39

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดแู ล และพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพมิ่ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี สว่ นย่อย 2.4 (Sub-domain 6) : เหน็ คุณคา่ ของความแตกต่าง (Appreciating Diversity) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 11 : เดก็ ตระหนกั รู้ เหน็ คณุ คา่ และยอมรบั นบั ถอื ในความเหมือนและความแตกตา่ งระหวา่ ง บคุ คล (Children recognize, appreciate, and respect similarities and differences in people of diversity) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (144) เลน่ เลยี นแบบและแสดงความช่นื ชมวัฒนธรรมและความเปน็ อยทู่ ี่แตกต่างไปจากตน (3 ป)ี (145) ปฏบิ ัตติ นอย่างสุภาพกับทุกคน รวมถงึ คนทมี่ ีสถานภาพทางสงั คม เศรษฐกิจ และวฒั นธรรมทต่ี ่างไปจากตน (3 ปี) (146) บอกได้วา่ บุคคลแตล่ ะคนมคี วามเหมอื นและความตา่ ง (5 ป)ี (147) เลน่ กับกลุ่มเดก็ ท่ีแตกต่างไปจากตน (เชน่ ตา่ งภาษา ต่างเชือ้ ชาติ ตา่ งชาติพันธุ์ ตา่ งพ้ืนเพทางเศรษฐกิจสังคม หรอื มคี วามบกพร่องทางกายและอ่ืนๆ ฯลฯ) (5 ปี) (148) บอกไดว้ า่ คนแตล่ ะคนมคี วามสามารถทแ่ี ตกต่างกนั (5 ปี) (149) รจู้ ักถามเกย่ี วกบั ความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (เช่น ทำไม หนหู นา้ ตาเหมือนแม)่ (5 ป)ี (150) ถามคำถามเก่ยี วกบั คำท่ใี ช้หรือความเปน็ อยู่ หรือลกั ษณะของกลมุ่ คนทแี่ ตกต่างกัน (5 ป)ี (151) ถามหรือแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับความเปน็ ธรรมในกลมุ่ เพื่อน (5 ป)ี (152) บอกได้ว่าคนแต่ละคนมีความชอบและไม่ชอบที่แตกต่างกนั (5 ป)ี 1 - 40

แนวแนะวิธกี ารเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอ่ื เพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี ส่วนหลกั 3 (Domain 3) : พฒั นาการด้านอารมณ์ (Emotional Development) ส่วนย่อย 3.1 (Sub-domain 3.1) : ความคดิ เกยี่ วกับตนเอง (Self Concept) สมรรถนะ (Competency) : หวั ข้อท่ี 12 : เด็กสามารถรบั รู้เก่ยี วกับตนเอง และ ตระหนักรวู้ า่ ตนชอบหรือไมช่ อบอะไร (Children are able to perceive themselves as unique individuals and demonstrate awareness of preference) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (153) แสดงท่าทางหรือวาจาบอกความร้สู กึ รกั และผกู พนั กับพอ่ แมแ่ ละคนใกล้ชิด (3 ปี) (154) บอกได้วา่ ตนเองชอบหรือไมช่ อบ สงิ่ ของและ/หรือกจิ กรรมใด (4 ปี) (155) บอกความรสู้ ึกของตนเองท้งั ทางบวกและทางลบตอ่ สงิ่ ของ บคุ คล หรอื สภาพต่างๆ ได้ (4 ปี) (156) บอกความรสู้ กึ ของตนเองต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดขน้ึ ได้ (4 ป)ี (157) บอกความรู้สึกหรอื แสดงทา่ ทางผูกพนั กับสิ่งของท่ีตนรัก (4 ปี) (158) บอกลักษณะทางกายของตนเอง (5 ปี) (159) บอกความรสู้ กึ หรอื แสดงพฤติกรรมไมส่ บายใจ กังวลใจในบางเหตกุ ารณ์ (5 ปี) 1 - 41

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ส่วนย่อย 3.2 (Sub-domain3.2) : การควบคุมอารมณต์ นเอง (Emotional Self -Control) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 13 : เดก็ ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบและกจิ วัตร และคุมอารมณ์ได้ตามสมควร (Children follow rules and daily routine and demonstrate appropriate level of emotional control) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (160) ควบคุมอารมณ์ของตนเองไดเ้ ม่ือประสบเหตุการณ์ท่ไี มพ่ อใจหรือเมือ่ ทำกจิ กรรมท่ยี าก โดยมีผูใ้ หญช่ ่วย (3 ป)ี (161) ไมแ่ สดงความกลัวหรอื วิตกกงั วลกบั สภาวการณ์หรือสงิ่ ที่ไมม่ ีเหตุต้องกลัว โดยมผี ใู้ หญ่ ชว่ ย (3 ปี) (162) ไมแ่ สดงความกลวั หรอื วติ กกังวลกบั สภาวการณห์ รอื สง่ิ ทไ่ี ม่มเี หตตุ อ้ งกลัว (เช่น สระผม พบแพทย์ กลัวความมืด) (3 ป)ี (163) ไมใ่ หค้ วามสนทิ สนมกบั คนแปลกหนา้ โดยมีผู้ใหญบ่ อกหรือใหเ้ หตผุ ล (3 ปี) (164) ไมใ่ หค้ วามสนิทสนมกบั คนแปลกหน้า (3 ป)ี (165) ไม่แสดงอาการหงดุ หงดิ จนเกินไปเม่ือตอ้ งทำกิจกรรมทย่ี าก โดยมีผูใ้ หญช่ ว่ ย (3 ป)ี (166) ไม่แสดงอาการหงุดหงดิ จนเกินไปเมอ่ื ตอ้ งทำกจิ กรรมท่ยี าก (3 ป)ี (167) ไมแ่ สดงอารมณโ์ กรธหรอื ไม่พอใจจนเกนิ กว่าเหตุ (3 ปี) (168) หยุดหรือสงบอารมณ์ไมด่ ีลงไดบ้ า้ งเมอ่ื ผใู้ หญ่แนะนำ (3 ป)ี 1 - 42

แนวแนะวิธกี ารเล้ยี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพิ่มคุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี สว่ นยอ่ ย 3.3 (Sub-domain 3.3) : สมรรถนะของตนเอง (Self-Efficacy) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 14 : เด็กแสดงความเช่อื ม่ันในความสามารถ ของตน (Children demonstrate belief in their abilities) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (169) แสดงความดีใจโดยทา่ ทางหรอื วาจา เม่ือทำอะไรได้หรอื สำเรจ็ (3 ป)ี (170) อวดผลงานของตนเพอื่ ให้ตนเองรสู้ ึกดี และรสู้ ึกว่าตนเองมคี วามสามารถ (3 ปี) (171) ทำกิจกรรมใหม่ๆ เพ่อื ได้แสดงความสามารถ (3 ป)ี (172) แสดงทา่ ทางพอใจเมอื่ ตนเองมโี อกาสไดก้ ระทำกจิ กรรมหนง่ึ ๆ ทอ่ี ยากพดู อยากทำ (3 ป)ี (173) อาสาทจี่ ะทำกิจกรรมเพอ่ื แสดงความสามารถของตน (4 ปี) (174) บอกได้ว่าตนเองมีความสามารถในเรอื่ งใด (4 ปี) 1 - 43

แนวแนะวิธกี ารเลยี้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพื่อเพม่ิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ป ี สว่ นหลกั 4 (Domain 4) : พัฒนาการดา้ นการคดิ และสติปญั ญา (Cognitive Development) ส่วนยอ่ ย 4.1 (Sub-domain 4.1) : ความจำ (Memory) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ท่ี 15 : เดก็ สามารถแสดงการจำเบอ้ื งตน้ (Children demonstrate basic memory skills) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (175) ร้องเพลงจนจบได้ (3 ป)ี (176) ทอ่ งคำคล้องจองหรอื คำกลอนส้นั ๆ ได้ (3 ป)ี (177) บอกชือ่ วันในหนงึ่ สปั ดาห์ (4 ปี) (178) ฟงั นทิ านแลว้ เลา่ ไดพ้ อสังเขป (4 ปี) (179) บอก / เล่าไดว้ ่าวนั น้ที ำอะไรท่โี รงเรยี น (4 ป)ี (180) ฮมั ทำนองเพลง (รอ้ งทำนองเพลงในลำคอ) ท่คี ุ้นเคยได้ (5 ปี) (181) บอกช่ือวันในหนง่ึ สัปดาหโ์ ดยเรียงลำดับได้อย่างถูกต้อง (5 ปี) (182) บอกและเรยี กชอ่ื เดอื นได้ (ไมจ่ ำเป็นต้องทุกเดอื นและไมเ่ รียงลำดบั ) (5 ปี) (183) บอกหมายเลขโทรศพั ทท์ บี่ ้านได้ (5 ป)ี (184) ฟงั นิทานแล้วเล่ารายละเอยี ดไดถ้ ูกตอ้ ง (5 ปี) (185) บอก / เลา่ ไดว้ ่าเม่ือวานน้ีทำอะไร (ทโ่ี รงเรยี น หรอื ทีบ่ ้าน) (5 ปี) 1 - 44

แนวแนะวธิ กี ารเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิม่ คณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ส่วนย่อย 4.2 (Sub-domain 4.2) : การสรา้ งหรือพัฒนาความคิด (ท่ีเป็นการคดิ เบ้อื งต้น) (Concept Formation) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อท่ี 16 : เดก็ สามารถแสดงความคิดพน้ื ฐานในเรอื่ ง เก่ยี วกับเวลา ชอ่ งว่าง (Space) ตำแหน่ง แหล่งท่ี คณุ ลักษณะ ฯลฯ รวมท้งั การจดั กลมุ่ สง่ิ ต่างๆ ทอ่ี ยู่แวดลอ้ ม (Children demonstrate understanding about time, space, positioning, etc., including grouping objects in the environment) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (186) ถามว่า “อะไร” และ “ท่ไี หน” (4 ปี) (187) บอกหรอื ใชค้ ำทบี่ อกช่วงเวลาของวนั ไดถ้ กู ตอ้ ง (เช่น เช้า กลางวนั เยน็ ) (4 ปี) (188) บอกลักษณะหรอื คณุ ลักษณะเบื้องต้นของส่ิงของ (เชน่ รอ้ น ยาว หนัก ใหญ ่ ขรขุ ระ แหง้ ) (5 ปี) (189) บอกไดว้ า่ ส่งิ ของทีว่ างอยนู่ ั้น อยูด่ ้านซ้ายหรอื ขวาของเด็ก (5 ปี) (190) บอกไดว้ า่ ส่ิงของทว่ี างอยนู่ ้ัน อยดู่ า้ นซา้ ยหรอื ขวาของผทู้ ี่พดู ดว้ ย (หันหนา้ เขา้ หากัน) (5 ปี) (191) บอกไดแ้ ละใช้คำวา่ “เมอื่ วานน”ี้ “วนั น้ี” “พรุ่งนี”้ อยา่ งถูกตอ้ ง (5 ปี) (192) บอกหรือเรียกช่ือประเภท คน สัตว์ สง่ิ ของ พชื (เชน่ เด็ก ผ้ใู หญ่ คนแก่ / สตั วเ์ ลย้ี ง สตั วป์ า่ / ผกั ผลไม้) (5 ป)ี (193) วาดแผนท่ีจากบา้ นมาโรงเรยี นหรอื วาดแผนผังของหอ้ งเรียน/หอ้ งนอน (5 ปี) 1 - 45

แนวแนะวธิ ีการเลยี้ งดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ป ี ส่วนย่อย 4.3 (Sub-domain 4.3) : ตรรกวิทยา และความมเี หตุผล (Logic and Reasoning) สมรรถนะ (Competency) : หัวข้อที่ 17 : เดก็ แสดงความเข้าใจเกี่ยวกับเหตแุ ละผล (Children demonstrate understanding of reasoning) พฤติกรรมบง่ ชี้ (Indicators) (194) บอกเหตุผลเกย่ี วกับการปฏิบัตกิ ิจวัตร (เช่น เหตุผลทีต่ ้องลา้ งมอื กอ่ นรบั ประทาน อาหารและหลังเขา้ ห้องนำ้ แปรงฟันตอนเชา้ กอ่ นนอน และหลังอาหาร) (3 ปี) (195) บอกความสัมพันธ์ ความเก่ยี วข้องระหวา่ งส่ิงตา่ งๆ และปรากฏการณ์ทเี่ กิดข้นึ ได ้ หรอื ใช้คำวา่ “ถ้า...แลว้ จะ...” (เชน่ ฝนตกเราเปยี ก วันหยดุ ไม่ต้องไปโรงเรียน กินพริกจะรูส้ ึกเผ็ด) (3 ป)ี (196) ถามวา่ “ทำไม” และ “อยา่ งไร” (เช่น ทำไมน้ำเกาะท่ีข้างแก้วเมอื่ มนี ้ำแข็งอยใู่ นแกว้ ทำไมมีกลางวนั กลางคนื ) (4 ปี) (197) ใช้คำว่า “เพราะ” เพ่อื อธิบายเหตุและผลได้ในเรื่องทัว่ ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องเป็น เหตุผลทีถ่ ูกตอ้ ง) (4 ปี) (198) บอกเหตผุ ลเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ นด้านความปลอดภัย (เช่น เหตุผลทต่ี อ้ งไมเ่ ล่น บริเวณรมิ น้ำ ไม่เล่นไม้ขดี ไฟ) (4 ป)ี (199) บอกเหตุผลในการปฏบิ ัตติ นในดา้ นทเ่ี ก่ียวกับการรักษาสิ่งแวดลอ้ ม (เชน่ บอกเหตุผล ทต่ี อ้ งไมท่ ิ้งขยะตามถนน ไมเ่ ด็ดดอกไม้ ไม่ทำลายของสาธารณะ) (4 ป)ี (200) บอกได้วา่ สว่ นประกอบทสี่ ำคญั อะไรไมป่ รากฏหรอื หายไปในรปู (4 ปี) (201) เปรียบเทยี บความแตกตา่ งท่ีเกิดจากการกระทำต่างกันกบั สิ่งเดยี วกัน (เช่น ข้าวสาร-ขา้ วสวย หรอื ข้าวตม้ ไขต่ ้ม ไข่เจียว ไขต่ ๋นุ ) (5 ป)ี (202) เรยี งลำดับภาพหรือเหตุการณ์ในภาพและอธบิ ายได้ (5 ปี) (203) บอกได้ว่าเรื่องทไ่ี ดฟ้ งั หรอื เห็นจะจบอย่างไร โดยให้เหตผุ ลประกอบ (เช่น เวลาฟงั นิทาน หรือเห็นเหตุการณ์ต่างๆ) (5 ปี) (204) บอกได้วา่ ในรูปภาพมอี ะไรที่ผิดปกตหิ รืออยู่ผิดทห่ี รอื ดแู ล้วเปน็ ไปไม่ได้ (5 ป)ี (205) บอกหรือเข้าใจในเนื้อหาสาระของเร่อื งทขี่ ำขนั ได้ (เชน่ บอกเรอ่ื งทไ่ี ด้ยนิ หรอื ภาพ ทเ่ี หน็ น้ันตลกหรอื ขำขนั ตรงไหน หรอื บอกเหตุทีท่ ำใหข้ ำขัน) (5 ป)ี (206) บอกไดว้ ่าของบางอย่างใช้แทนกนั ได้ (เชน่ ใบตอง ใบบัวใช้แทน ถงุ กระดาษ ถงุ พลาสตกิ ถว้ ยหรอื ชามใชแ้ ทนกันได้) (5 ปี) 1 - 46

แนวแนะวิธีการเลย้ี งดู ดูแล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี สว่ นยอ่ ย 4.4 (Sub-domain 4.4) : การคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) สมรรถนะ ก. (Competency A) : หวั ข้อที่ 18 : เดก็ สามารถเปรยี บเทียบ แยกแยะ ความเหมอื น ความแตกตา่ ง และประเมิน สถานภาพ (Children are able to compare and separate similarities, differences and evaluate the situation) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (207) จดั กลุม่ สิ่งของตามประเภทโดยใชเ้ กณฑ์เดียวในการจัด (เชน่ ตามสี หรือตามรูปทรง หรือตามขนาด) (3 ป)ี (208) จับคภู่ าพทส่ี ัมพันธ์กนั (เชน่ ของทเ่ี หมอื นกัน ของท่ีใชค้ กู่ ัน ของท่เี ปน็ ประเภทเดยี วกนั ) (4 ป)ี (209) จดั กล่มุ สิง่ ของตามประเภทลกั ษณะ 2 เกณฑ์ (เช่น จำแนกตามสแี ละรปู ทรง) (4 ปี) (210) บอกคำทีม่ คี วามหมายตรงขา้ มเก่ียวกบั สง่ิ หรอื สภาพทเี่ ด็กพบเห็น (เชน่ ช้างตวั ใหญ ่ หนตู วั ... พระอาทติ ย์ขึ้นตอนกลางวัน-พระจนั ทรข์ นึ้ ตอน... ไฟรอ้ น นำ้ แขง็ ...) (4 ป)ี (211) บอกไดว้ า่ สง่ิ ทเ่ี หน็ 2 อยา่ ง เหมอื นและตา่ งกนั อยา่ งไร (เชน่ สนุ ขั 2 ตวั เปน็ คนละพนั ธ ุ์ มะม่วง มะละกอ) (5 ป)ี (212) บอกความคดิ ของตนเกี่ยวกบั สภาพหรือลกั ษณะท่ีพบ (เชน่ รอ้ น หนาว สนุก) (5 ป)ี (213) รูจ้ กั ใชข้ อ้ มูล/คำทเ่ี รียนรู้ใหมม่ าใชก้ ับเหตุการณ์ สภาพแวดล้อม หรอื กจิ กรรมอื่นๆ (เชน่ เมอ่ื เรียนรู้รปู ส่เี หลย่ี ม เด็กสามารถช้ีบอกไดว้ ่า ประตู หนา้ ตา่ งเป็นรปู ส่เี หล่ียม ดว้ ย) (5 ป)ี 1 - 47

แนวแนะวธิ กี ารเลี้ยงดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพม่ิ คณุ ภาพเด็กตามวยั 0-5 ป ี ส่วนย่อย 4.4 (Sub-domain 4.4) : การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) สมรรถนะ ข. (Competency B) : หัวขอ้ ที่ 19 : เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ (Children are able to solve problem) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (214) แกป้ ัญหาในชวี ติ ประจำวันได้ โดยการลองผิดลองถกู (เชน่ การสวมรองเทา้ การสวมเสื้อกลบั ดา้ น ติดกระดุมเสอ้ื เหลือ่ ม) (3 ป)ี (215) รู้จกั ถามเพอื่ ให้ไดว้ ิธีการแก้ปัญหา (3 ป)ี (216) แก้ปญั หาโดยใชอ้ ปุ กรณ์ช่วย (เช่น ใช้ไม้เข่ยี ส่ิงของท่ีเออ้ื มไม่ถงึ ) (4 ป)ี (217) แกป้ ญั หาได้หลายวธิ ี และรจู้ ักเลือกวธิ ีที่เหมาะสม (5 ป)ี 1 - 48

แนวแนะวธิ ีการเล้ยี งดู ดูแล และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่ือเพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี สว่ นย่อย 4.5 (Sub-domain 4.5) : ความต้งั ใจจดจอ่ (Concentration) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 20 : เด็กสามารถจดจอ่ กบั การทำกิจกรรม ดว้ ยความต้ังใจ (Children are able to concentrate on doing activities) พฤติกรรมบง่ ช้ี (Indicators) (218) เปิดหนังสือดูภาพอย่างต่อเนอ่ื งนานประมาณ 3-5 นาที หรอื จนจบ โดยมีผ้ใู หญ ่ ช่วยเหลอื (3 ปี) (219) ฟงั คนอน่ื พดู ขอ้ ความสน้ั ๆ จนจบแล้วโตต้ อบดว้ ยวาจาหรือการกระทำจนจบ (3 ป)ี (220) มสี มาธใิ นการเลน่ หรือมีความตงั้ ใจจดจอ่ ในการทำกิจกรรมหนง่ึ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง 5-10 นาที หรือจนเสร็จ (3 ปี) (221) เปิดหนงั สือดูภาพด้วยตนเองอยา่ งต่อเน่อื งนานประมาณ 5-10 นาที หรือจนจบ (4 ป)ี (222) มีสมาธใิ นการเล่นหรือมีความต้งั ใจจดจอ่ ในการทำกิจกรรมหนึ่งไดอ้ ย่างต่อเนื่อง 10-15 นาที หรอื จนเสรจ็ (4 ปี) (223) เปดิ หนังสือดภู าพดว้ ยตนเองอย่างต่อเนอ่ื งนานประมาณ 10-15 นาที หรอื จนจบ (5 ปี) (224) มคี วามต้ังใจจดจอ่ และทำกิจกรรมหน่ึงไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง 15-20 นาที หรอื จนเสรจ็ (5 ป)ี 1 - 49

แนวแนะวธิ กี ารเล้ียงดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพือ่ เพิม่ คุณภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี ส่วนยอ่ ย 4.6 (Sub-domain 4.6) : การคิดดา้ นคณติ ศาสตร์ (Mathematics) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 21 : เดก็ สามารถอา่ นตวั เลข นบั เลข และรจู้ ำนวน (Children are able to read, count, and understand numbers) พฤตกิ รรมบง่ ชี้ (Indicators) (225) พดู คำว่า 1 ถงึ 10 เรียงลำดบั ได้โดยไมจ่ ำเปน็ ต้องทราบความหมาย (3 ป)ี (226) พูดคำว่า 1 ถงึ 20 เรยี งลำดบั ได้โดยไม่จำเป็นตอ้ งทราบความหมาย (4 ปี) (227) อ่านตัวเลข 1 ถงึ 10 ได้ (ตัวเลขอารบิค) (4 ป)ี (228) หยบิ ของตามจำนวน 1 ถึง 5 ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (4 ปี) (229) หยิบของตามจำนวน 6 ถึง 10 ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง (4 ป)ี (230) หยิบของตามจำนวน 1 ถงึ 5 ไดแ้ ละบอกจำนวนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง (4 ป)ี (231) หักลบโดยนับนิ้วหรือสงิ่ ของออกจากจำนวนไม่เกิน 5 ได้ (หักลบ 1 ครั้ง เชน่ 5-3 / 4-3) (4 ปี) (232) บอกจำนวนส่งิ ของทีเ่ ท่ากนั (เช่น ขนม 3 ช้นิ มีจำนวนเท่ากับกล้วย 3 ลูก) (4 ป)ี (233) บอกจำนวนท่ีมากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ของสง่ิ ของประเภทเดยี วกันภายในจำนวน 5 (เช่น สุนัข 5 ตวั มจี ำนวนมากกว่าสุนขั 2 ตวั / ดินสอ 2 แทง่ มจี ำนวนน้อยกว่า ดนิ สอ 5 แทง่ ) (4 ป)ี (234) บอกจำนวนของสิ่งของ หรือจำนวนครัง้ ของกจิ กรรมในชวี ติ ประจำวันของตน (เชน่ แปรงฟนั อาบนำ้ กินขา้ ว ดืม่ นมวนั ละกีค่ รง้ั ) (4 ปี) (235) หยบิ ของตามจำนวน 6 ถงึ 10 ได้และบอกจำนวนได้อย่างถูกตอ้ ง (5 ปี) (236) เรียงลำดบั ตัวเลขอารบคิ จาก 1 ถงึ 10 ได้ (เช่น โดยใชบ้ ัตรตวั เลขพลาสติก/ไม)้ (5 ปี) (237) นบั ถอยหลงั เรียงลำดบั จาก 10 ไปถงึ 1 (5 ป)ี (238) รวมสงิ่ ของ หรอื นบั นิว้ รวมกัน โดยใชจ้ ำนวน 1-5 ได้ (รวม 1 คร้ัง เช่น 1+2 / 5+5) (5 ปี) (239) รวมสง่ิ ของหรือนบั นิ้วรวมกนั โดยใชจ้ ำนวน 1-10 ได้ (รวม 1 ครงั้ เช่น 4+2 / 8+8) (5 ป)ี (240) บวกเลข 1 หลกั หรอื 2 หลกั โดยไมต่ ้องทด (5 ปี) (241) หักลบโดยนับน้ิวหรอื สิง่ ของออกจากจำนวนไม่เกนิ 10 ได้ ( หกั ลบ 1 ครั้ง เช่น 8-3 / 6-2) (5 ปี) 1 - 50

แนวแนะวิธกี ารเล้ียงดู ดแู ล และพฒั นาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่มิ คุณภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี (242) เขียนตวั เลขได้ 1-10 (เลขอารบคิ ) (5 ปี) (243) เขยี นตวั เลขไทย ๑-๑๐ ได้ (5 ป)ี (244) จดั สิง่ ของเปน็ จำนวนคู่ จำนวนคี่ภายในจำนวน 10 ได้ (5 ป)ี (245) บอกตวั เลขทเี่ ป็นเลขคู่ และเลขค่ภี ายในจำนวน 10 ได้ (5 ป)ี (246) บอกความคงที่ของเลข 1 หลัก ท่เี ปน็ ผลรวมของเลข 2 จำนวนได้หลายแบบ (เชน่ เม่ือมกี ารสลบั ท่ี 2+3 หรือ 3 + 2 กเ็ ท่ากับ 5 การเปล่ยี นองค์ประกอบ 4+1 เทา่ กับ 3 + 2 ) (5 ป)ี 1 - 51

แนวแนะวิธกี ารเลี้ยงดู ดแู ล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพม่ิ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี สว่ นย่อย 4.7 (Sub-domain 4.7) : ความเขา้ ใจปรากฏการณ์ และวิธกี ารแสวงหาข้อเท็จจรงิ ทางวิทยาศาสตร์ (Sciences) ดา้ น (Area) : 4.7.1 สง่ิ แวดลอ้ มที่มชี วี ิต (Living Things) สมรรถนะ (Competency) : หวั ขอ้ ที่ 22 : เด็กแสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดย การมอง การฟงั การถามจับต้อง และ ลงมอื ทำเกี่ยวกบั สิง่ แวดล้อมทม่ี ีชีวติ ตา่ งๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about living things) พฤตกิ รรมบง่ ช้ี (Indicators) (247) บอกช่ือสัตวต์ ่างๆ ไดอ้ ยา่ งน้อย 3 ชือ่ (เชน่ แมว ไก่ นก) (3 ป)ี (248) ทำกจิ กรรมทเ่ี กยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ชี วี ติ (เชน่ ดแู ลและใหอ้ าหารสตั ว์ รดนำ้ ตน้ ไม)้ (3 ปี) (249) บอกชอ่ื ต้นไมต้ า่ งๆ ได้อย่างน้อย 3 ชอ่ื (4 ป)ี (250) บอกช่ือผลไม้ตา่ งๆ ได้อย่างนอ้ ย 3 ชือ่ (4 ปี) (251) บอกชอ่ื และอธบิ ายหนา้ ท่ีของสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายไดโ้ ดยสังเขป อยา่ งนอ้ ย 3 อย่าง (เช่น ตาไว้ดู หูไว้ฟงั ) (4 ปี) (252) อธิบายลกั ษณะเฉพาะด้านรูปรา่ ง ท่าทาง พฤติกรรม และท่อี ยอู่ าศัยของสง่ิ ท่มี ีชีวติ ได้อย่างนอ้ ย 1 อย่าง (เชน่ นกมีปกี อย่บู นต้นไม้ / ปลามีหางอยู่ในน้ำ) (4 ปี) (253) บอกชอ่ื ผกั ต่างๆ ได้อยา่ งนอ้ ย 3 ชอ่ื (5 ปี) (254) บอกเล่าลำดบั ขั้นของพัฒนาการตามธรรมชาตโิ ดยสังเขป ของคน สตั ว์ พชื เชน่ การเตบิ โตของพชื ของคน (เชน่ เดก็ -ผู้ใหญ-่ คนแก่ / ไข่ เปน็ ไก่-นก- เป็ด / เมลด็ พืชเป็นต้นไม้ / วงจรชวี ิตกบ ผเี ส้ือ ) (5 ป)ี (255) บอกปัจจัยท่ีทำให้คน สัตว์ พืช เจริญเติบโต (เชน่ ตน้ ไมต้ ้องการนำ้ หรอื ปยุ๋ / คนตอ้ งการอาหาร อากาศ และนำ้ ) (5 ปี) (256) บอกชอ่ื และอธบิ ายหนา้ ทขี่ องสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกายไดโ้ ดยสงั เขป อยา่ งนอ้ ย 6 อยา่ ง (5 ปี) (257) พูดถงึ หรือถามเกี่ยวกบั การเปลยี่ นแปลงของรา่ งกายบางสว่ นได้ (เชน่ ผมยาว เล็บยาว ทำไมเป็นแผลแลว้ หายได)้ (5 ป)ี (258) บอกไดว้ ่าส่ิงใดมีชีวติ และอธิบายลกั ษณะของสงิ่ ท่มี ชี ีวิตนน้ั ๆ ได้ (เช่น หายใจ ต้องกินอาหาร) (5 ปี) 1 - 52

แนวแนะวิธกี ารเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวยั ตามสมรรถนะ เพ่อื เพมิ่ คณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ป ี (259) บอกความแตกต่างระหว่างคน พืช สตั ว์ (5 ป)ี (260) บอกความสมั พันธร์ ะหว่างคน สัตว์ พชื และส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพอืน่ ๆ (เช่น คนทิ้งขยะลงนำ้ / นำ้ เนา่ ปลาตาย / ปลูกต้นไม้ทำให้รม่ รนื่ ) (5 ป)ี 1 - 53

แนวแนะวธิ กี ารเลย้ี งดู ดูแล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพเดก็ ตามวัย 0-5 ปี ดา้ น (Area) : 4.7.2 สิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวติ ในธรรมชาติ (Non-living Things) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ที่ 23 : เดก็ แสดงพฤตกิ รรมอยากรู้ อยากลอง โดย การมอง การฟงั การถาม จบั ตอ้ ง และ ลงมอื ทำเกยี่ วกบั สงิ่ แวดลอ้ มทไี่ มม่ ชี วี ติ ตา่ งๆ (Children express eagerness to learn and experiment by observing, listening, asking, touching, and experimenting about non-living things) พฤตกิ รรมบ่งช้ี (Indicators) (261) บอกการปฏบิ ัติตัวในเรอ่ื งการแตง่ ตัวหรือการใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสมในสภาพอากาศ ทแ่ี ตกตา่ งอย่างน้อย 1 อยา่ ง (เช่น รม่ กันแดด เส้ือกันฝน เส้ือกันหนาว) (3 ปี) (262) บอกไดว้ ่าสงิ่ ของทำจากอะไรโดยสังเขป (เชน่ ไม้ เหลก็ พลาสติก แกว้ ฯลฯ) (4 ปี) (263) บอกไดถ้ งึ การแปรสภาพของนำ้ (เชน่ นำ้ แขง็ ละลายเปน็ นำ้ / นำ้ ตม้ เดอื ดกลายเปน็ ไอ / นำ้ แชแ่ ขง็ กลายเปน็ นำ้ แข็ง) (4 ปี) (264) บอกชือ่ วัตถุท่ีจมและลอยในนำ้ ได้ (เช่น ขันลอยในน้ำ ถ้าขนั มีนำ้ จะจม) (4 ปี) (265) บอกชือ่ และการใช้งานของอปุ กรณต์ า่ งๆ ในชีวติ ประจำวันอย่างน้อย 3 ชอื่ (เช่น ไม้กวาด-กวาดบา้ น / ขัน-ตักน้ำ / จาน-ใสข่ ้าว / แก้ว-ใส่นำ้ / เครอื่ งใช้ในบ้าน-ในครวั ในหอ้ งน้ำ) (4 ป)ี (266) บอกสง่ิ ท่ีไม่มีชวี ิตที่อยรู่ อบตัวอย่างนอ้ ย 3 อยา่ ง (เช่น หนิ ดิน ทราย ไม้ น้ำ) (5 ป)ี (267) บอกได้วา่ สงิ่ ใดจะเกดิ ขนึ้ เม่อื นำของอย่างน้อย 2 สิ่งผสมกัน (เช่น ผสมแม่สี, ปรุงอาหารโดยมีส่วนผสม) (5 ปี) (268) บอกส่งิ ทีเ่ หน็ บนทอ้ งฟ้าได้อยา่ งนอ้ ย 3 อยา่ ง (เช่น ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ เมฆ สายรงุ้ ฝน ดาว) (5 ป)ี (269) ชท้ี ิศทางทด่ี วงอาทติ ยข์ ้นึ และตก (5 ปี) (270) บอกชื่อเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ที่เปน็ เทคโนโลยใี นชวี ิตประจำวันได้อย่างนอ้ ย 3 ชอ่ื (เชน่ โทรศพั ท์ (บา้ น มอื ถอื สาธารณะ) คอมพิวเตอร์ โทรทศั น์ ต้เู ยน็ พดั ลม วิทย)ุ (5 ป)ี 1 - 54

แนวแนะวธิ ีการเล้ียงดู ดูแล และพัฒนาเด็กปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพ่อื เพ่ิมคณุ ภาพเด็กตามวัย 0-5 ปี ส่วนยอ่ ย 4.8 (Sub-domain 4.8) : ความเข้าใจเกี่ยวกบั สงั คมรอบตัว (Social Studies) ดา้ น (Area) : 4.8.1 ครอบครวั (Family) สมรรถนะ (Competency) : หัวขอ้ ท่ี 24 : เด็กแสดงออกถึงความตระหนักรู้เก่ียวกับ คุณลกั ษณะของครอบครวั และบทบาท ของครอบครัว (Children demonstrate awareness of characteristics and roles of the family) พฤติกรรมบ่งชี้ (Indicators) (271) บอกชอื่ จรงิ หรอื ชอื่ เลน่ ของพอ่ แม่ พ่ีน้อง (3 ป)ี (272) ใช้คำทถี่ ูกตอ้ งในการเรียกสมาชกิ ภายในครอบครวั (เชน่ ปู่ ยา่ ตา ยาย ลงุ ป้า นา้ อา ฯลฯ) (3 ปี) (273) บอกได้วา่ สมาชิกในครอบครัวใครเปน็ ผู้ชาย ใครเปน็ ผูห้ ญงิ (3 ปี) (274) เล่นบทบาทสมมติเป็นสมาชกิ ในครอบครวั (เชน่ เลน่ พอ่ แม่ลูก) (3 ป)ี (275) เล่าถงึ การมสี ว่ นร่วมในกิจวัตรของครอบครวั ให้ผู้อืน่ ฟังได้ (3 ป)ี (276) บอกลักษณะบางประการของสมาชกิ ในครอบครวั ได้ (เช่น คณุ ตาผมขาว ใสแ่ วน่ / คุณยายชอบไปวดั ) (5 ปี) (277) บอกไดว้ า่ ตนเองเป็นส่วนหนง่ึ ของสมาชกิ ในครอบครัว (เช่น หนูเปน็ ลูกคนเล็ก ของพอ่ แดง / บ้านเรา...ใจดที ุกคน) (5 ป)ี (278) วาดรปู “ครอบครวั ของฉัน” หรือ “บา้ นของฉัน” ได้ (5 ปี) (279) บอกได้วา่ ครอบครวั ของตนเองเปรียบเทียบกับเพ่ือนบางคน หรือของผู้อ่นื มีสมาชิกใน ครอบครัวที่ต่างกันอย่างไร (เช่น บ้านเราไมม่ ีคุณยาย / บ้าน...ไมม่ คี ณุ พ่อมีแตค่ ณุ แม่) (5 ปี) 1 - 55

แนวแนะวิธีการเลีย้ งดู ดแู ล และพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ตามสมรรถนะ เพื่อเพิม่ คณุ ภาพเดก็ ตามวยั 0-5 ปี 7 - 120

Meg 2 The Trench มาวันไหน

The Meg 2: The Trench หรือ เม็ก 2: อภิมหาโคตรหลาม ร่องนรก มีกำหนดเข้าฉายในโรงภาพยนตร์ในวันที่ 2 สิงหาคม ที่จะถึงนี้ สำหรับแฟนหนังเมเจอร์ ห้ามพลาดกับบัตรดูหนังสุดคุ้ม M PASS ที่จะทำให้คุณคุ้มเต็มอิ่มกับการดูหนังตลอดทั้งปี เตรียมไปมันส์กับกองทัพหนังดังมากมาย สมัครง่ายๆเพียงแค่คลิก ที่นี่

ฉลามที่ใหญ่ที่สุดในโลกมีชื่อว่าอะไร

เม็กกาโลดอน เป็นฉลามขนาดใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยปรากฏบนโลก และเป็นหนึ่งในนักล่าแห่งท้องทะเลขนาดใหญ่ที่สุด

เมกาโลดอนสูญพันธุ์เพราะอะไร

ปัจจุบัน เม็กกาโลดอนได้สูญพันธุ์ไปหมดแล้วราว 3.6 ล้านปีก่อน คาดว่าอาจมาจากหลายสาเหตุ เช่น สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว แหล่งอาหารลดน้อยลง รวมถึงการถูกแย่งอาหารโดยบรรพบุรุษของปลาฉลามขาว โดยมีบางทฤษฎีระบุว่าบรรพบุรุษของวาฬเพชฌฆาต เป็นสาเหตุที่ทำให้เม็กกาโลดอนสูญพันธุ์ แต่จากการวิจัยภายหลังพบว่าบรรพบุรุษของวาฬเพชฌฆาต ...

เมกาโลดอนมีความยาวกี่เมตร

ฟอสซิลเม็กกาโลดอนชี้ให้เห็นถึงมหึมาของมัน ร่างกายที่ยาวได้ถึง 18 เมตร ซึ่งยาวกว่าฉลามขาวตัวใหญ่ที่สุดในปัจจุบัน 3 เท่า