Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

บริษัท สมาร์ทเอไอโซลูชั่น จำกัด รับก่อสร้างฟาร์ม โรงเรือนระบบปิด ระบบเปิด ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ plant factory โรงเรือนอัจฉริยะ ฟาร์มระบบอัตโนมัติและรับติดตั้งระบบควบคุมสมองกลอิเล็กทรอนิกส์ ทั้ง Industrial และ Non Industrial, Smart Farm ฟาร์มพืช ฟาร์มสัตว์ สำหรับเกษตรยุคใหม่ นอกจากนี้ยังจำหน่ายอุปกรณ์ ให้คำปรึกษา ออกแบบ แผนผังระบบฟาร์ม โรงเรือน งานจัดสวน งานออกโชว์ งานโมเดล ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และจำหน่ายอุปกรณ์สินค้าทางการเกษตร อุปกรณ์เทคโนโลยีในงานเกษตร ต่างๆ สมาร์ทฟาร์มดีไอวาย เลขที่ประจำตัวผู้เสียภาษี : 0105560177872 LINE ID: @smartfarmdiy LINE ID: @smartfarmin

เบอร์โทร : 020779707 อีเมล : [email protected]

อุปกรณ์ที่ต้องใช้ใน บทความ สอนใช้งาน ESP8266 Smart IOT วัดอุณหภูมิและความชิ้นในดินรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ

  • NodeMCU ESP8266 V2 CP2102 LUA based ESP8266-12E
  • สาย Micro USB Type B to USB 2.0 Type A ยาว 1 เมตร
  • Power Adapter micro usb 5V 2A อะแดปเตอร์ 5V กระแส 2A
  • MB-102 บอร์ดทดลอง Breadboard โฟโต้บอร์ด Protoboard 830 Point MB-102
  • สายไฟจัมเปอร์ ผู้-ผู้ ยาว 20cm. จำนวน 40 เส้น
  • สายไฟจัมเปอร์ ผู้-เมีย ยาว 20cm. จำนวน 40 เส้น
  • สายไฟจัมเปอร์ เมีย-เมีย ยาว 20cm. จำนวน 40 เส้น
  • MAX485 module RS485 module TTL turn RS - 485 module
  • Power Adapter 12v 5A อะแดปเตอร์ 12v กระแส 5A หัวแจ็ค 5.5x2.5mm
  • DC Jack หัวแจ็ค ตัวเมีย female Adapter Jack plug 2.1 x 5.5 mm
  • RS485 Soil Temperature and Humidity Sensor เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชิ้นในดิน PR-3000-TH-N01
  • บอร์ด Relay 1ช่อง 5V Relay Module 5V 1 Channel isolation control Relay Module Shield 250V/10A
  • ปั๊มน้ำขนาดเล็ก ปั๊มน้ำ mini ปั๊มน้ำ มินิ 3v-5v DC
  • สายยาง ขนาด 6*8 mm ยาว 1m
  • NodeMCU ESP8266 Smart IOT บอร์ดขยาย NodeMCU V2 V3 Shield Relay 4ch Wi-Fi App Blynk

วิธีการต่ออุปกรณ์ สอนใช้งาน ESP8266 Blynk IOT โปรเจค ควบคุมการจ่ายน้ำและแสดงค่าความชื้นในดินผ่านแอป Blynk

1.เชื่อมต่ออุปกรณ์ตามด้านล่าง

ESP8266 -> บอร์ดขยาย บอร์ดขยาย -> RS485 • Vin(5V) -> VCC • GND -> GND • D1 -> DI • D2 -> RO • D5 -> RE • D6 -> DE

RS485 -> PR-3000-TH-N01 • GND -> สายสีดำ • A -> สายสีเหลือง • B -> สายสีน้ำเงิน

PR-3000-TH-N01 -> แหล่งจ่ายไฟ 12V DC • ไฟบวก -> สายสีน้ำตาล • ไฟลบ -> สายสีดำ

บอร์ดขยาย -> Relay 5V 1 Ch • Vin(5V) -> VCC • GND -> GND • D0 -> IN1

Relay 5V 1Channel -> แหล่งจ่ายไฟ 5V DC -> ปั้มน้ำ 5V DC • COM -> แหล่งจ่ายไฟ 5V DC -> ปั้มน้ำ 5V DC (สายใดสายหนึ่ง)

Relay 5V 1Channel -> ปั้มน้ำ 5V DC • NO -> ปั้มน้ำ 5V DC (สายใดสายหนึ่ง)

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

2. เมื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์เรียบร้อยแล้ว ให้ทำการดาวน์โหลด Library จากลิ้งค์ข้างล่าง

ดาวน์โหลด Library

  • https://www.mediafire.com/file/eqljrwfzqk23kzx/Blynk_2023.rar/file

วิธีลง Library ให้ดูตัวอย่างในบทความนี้

  • สอนใช้งาน Arduino ติดตั้ง Library ในโปรแกรม Arduino IDE เชื่อมต่อกับ Sensor ต่างๆ
    Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

3. ทำการแยก ไฟล์ออกมาและให้ Copy โฟลเดอร์ไปไว้ในโฟลเดอร์ libraries ของโปรแกรม Arduino IDE ตัวอย่าง Location : This PC > Document > Arduino > libralies *** สำหรับการแยกไฟล์นั้นจำเป็นที่จะต้องมีโปรแกรม WinRAR หรือ WinZip ติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ***

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

4. จากนั้นเปิดโปรแกรม Arduino IDE ขึ้นมา

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

5. จากนั้นทำการ Copy โค๊ดตัวอย่างด้านล่างไปวางไว้ในโปรแกรม Arduino IDE

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

6. ให้ผู้ใช้งานเลื่อนโค๊ดตัวอย่างขึ้นไปด้านบนและทำการแก้ไขในส่วนของ char auth [ ], char ssid [ ] และ char pass [ ] โดย - auth คือ Token ที่ได้รับจาก blynk.cloud (ในบทความนี้จะสอนในขั้นตอนถัดไป) - ssid คือ ชื่อ WiFi ที่ต้องการให้ ESP8266 เชื่อมต่อ (2G เท่านั้น) - pass คือ รหัส WiFi

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

7. จากนั้นให้ผู้ใช้งานทำการดาวน์โหลดและติดตั้งแอพฯ Blynk IOT ในโทรศัพท์มือถือ, แท็บเล็ต หรืออุปกรณ์อื่นๆที่รองรับตามต้องการ

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

8. . เมื่อทำการติดตั้งแอพฯ Blynk เสร็จแล้ว ให้ผู้ใช้งานเข้าไปยังแอพฯ ได้เลย ซึ่งเมื่อเข้ามาแล้วให้ผู้ใช้งานกดไปยังเมนู Sign Up เพื่อทำการสมัครใช้งาน

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

9. จากนั้นให้ผู้ใช้งานใส่อีเมลที่ต้องการสมัครลงไปและเลือกเมนู I agree to… และเลือกเมนู Continue เพื่อให้แอพฯ ส่งเมลยืนยันไปยังอีเมลของผู้ใช้งาน

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

10. เมื่อทำการกด Continue แล้ว ให้ผู้ใช้งานเปิดเข้าไปยังเมลที่ผู้ใช้งานลงทะเบียนไว้ ซึ่งเมื่อเข้ามาแล้วจะมีเมลของ Blynk ปรากฏขึ้นมา

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

11. จากนั้นให้ผู้ใช้งานเข้าไปยังเมลเมลที่ Blynk ส่งมา แล้วกดไปยังเมนู Create Password เพื่อทำการสร้างรหัสผ่าน

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot
12. หลังจากที่กดเมนู Create Password แล้วอุปกรณ์ของผู้ใช้งานจะทำการลิ้งค์เปิดแอพฯ Blynk IOT ที่ติดตั้งอยู่ในอุปกรณ์ของผู้ใช้งานอัตโนมัติ โดยจะปรากฏหน้า Set A Password ขึ้นมา เพื่อให้ผู้ใช้งานตั้งรหัสผ่านขึ้นมา

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

13. เมื่อผู้ใช้งานทำการตั้งรหัสผ่านเสร็จเรียบร้อยแล้วให้กดไปยังเมนู Continue

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

14. ต่อมาทางแอพฯจะให้ผู้ใช้งานตั้งชื่อโปรไฟล์ของผู้ใช้งาน ในส่วนนี้ผู้ใช้งานสามารถตั้งชื่อได้ตามต้องการ

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

15. เมื่อทำการตั้งชื่อเสร็จแล้วให้กดไปยังปุ่ม Next เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการลงทะเบียนกับแอพฯ Blynk

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

16. ต่อมาให้ผู้ใช้งานเข้าไปยังเว็บไซต์ blynk.cloud ซึ่งเมื่อเข้ามาแล้วให้ผู้ใช้งานทำการ Log in เข้าระบบด้วย EMAIL และ PASSWORD เดียวกันกับที่ได้ลงทะเบียนไว้ในแอพฯ Blynk

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

17. เมื่อเข้าระบบมาแล้ว ระบบจะให้ผู้ใช้งานเลือกว่าผู้ใช้งานจะใช้งาน Blynk ลักษณะใดเป็นหลัก Personal project (ใช้งานส่วนตัว) หรือ Business (ใช้งานแบบธุรกิจ) หลังจากเลือกแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการเตรียมการแล้ว

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

18. ต่อมาให้ผู้ใช้งานคลิ๊กไปยังเมนู +New Template เพื่อเริ่มขั้นตอนการสร้างโครงสร้างของโปรเจค

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

19.หลังจากที่เข้ามาในเมนู +New Template แล้ว หน้าเว็บไซต์จะปรากฏหน้าต่าง Create New Template ขึ้นมา ในส่วนนี้ให้ผู้ใช้งานทำการตั้งค่า Hardware เป็น ESP8266 และ Connection Type เป็น WiFi สำหรับส่วนอื่นๆผู้ใช้งานสามารถตั้งค่าได้ตามต้องการ หลังจากที่ตั้งค่าเสร็จให้กดไปที่เมนู Done

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

20. หลังจากที่สร้าง Template เสร็จ หน้าเว็บไซต์จะนำผู้ใช้งานเข้ามายังภายใน Template ที่ผู้ใช้งานทำการสร้างไว้

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

21. จากนั้นให้ผู้ใช้งานเลือกไปยังแถบเมนู Datastreams และเลือกเมนู +New Datastreams เพื่อเริ่มต้นการสร้างฐานข้อมูล โดยในส่วนนี้ให้ผู้ใช้งานเลือก Virtual Pin และทำการตั้งค่าต่างๆ ตามต้องการ และเมื่อทำการตั้งค่าเสร็จแล้ว ให้กดไปยังปุ่มเมนู Create ซึ่งเมื่อกดไปแล้วจะปรากฏ Datastream ขึ้นมา โดยในบทความนี้จะใช้ Datastreams ทั้ง 3 ตัว

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

22. ต่อมาให้ผู้ใช้งานเข้าไปยังแถบเมนู Web Dashboard เพื่อสร้างฟังชั่นการทำงาน ซึ่งเมื่อเข้ามาแล้วให้ผู้ใช้งานทำการคลิ๊กลากเครื่องมือ Switch และ Gauge จาก Widget Box ลงมาวางในพื้นที่ว่างของ Dashboard

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

23. ต่อมาให้ผู้ใช้งานเลื่อนเมาส์ไปยังเครื่องมือที่อยู่ใน Dashboard ซึ่งเมื่อเลื่อนเข้าไปแล้วจะเห็นได้ว่าจะมี Icon ปรากฏขึ้นมา 3 ตัว ให้ผู้ใช้งานเลือกไปยัง Icon รูปฟันเฟือง

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

24. เมื่อเข้ามาแล้วจะปรากฏหน้าต่าง Setting ขึ้นมา ให้ผู้ใช้งานทำการตั้งค่าให้เรียบร้อยแล้วกดไปยังปุ่ม Save

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

25. หลังจากตั้งค่าทุกอย่างเสร็จสิ้นแล้ว ให้ผู้ใช้งานกดไปยังปุ่ม Save ที่อยู่ทางมุมขวาบนของหน้าเว็บไซต์อีกครั้ง เมื่อกดแล้วหน้าเว็บไซต์จะกลับมายังหน้า Web Dashboard อีกครั้ง

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

26. จากนั้นให้ผู้ใช้งานกดเลือกไปยังเมนู Search (รูปแว่นขยายทางซ้ายมือ) และเลือกไปที่เมนู + New Device

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

27. เมื่อเข้ามาแล้วจะปรากฏหน้าต่าง New Device ขึ้นมา ในส่วนนี้ให้ผู้ใช้งานเลือก From template และทำการเลือกใช้งาน Template ที่สร้างไว้เมื่อครู่ เสร็จแล้วกด Create

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

28. ต่อมาให้ผู้ใช้งานทำการ Copy เฉพาะในส่วนของ Token ไว้ และนำไปวางไว้ในโค๊ดตัวอย่าง

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

29. เลือก port ที่ต้องการ upload โดยไปที่แถบเมนูด้านบนแล้วเลือก Tools -> Port แล้วเลือก Port ที่เชื่อมต่อกับบอร์ด

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

30. เลือกประเภทของบอร์ด โดยไปที่แถบเมนูด้านบนแล้วเลือก Tools -> Board แล้วเลือกประเภทของบอร์ดที่ใช้งาน

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

31. อัพโหลดโค๊ดลงบอร์ดโดยเลือกเมนู Upload ที่อยู่ในแถบเมนู Sketch

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

32. เมื่อเลือกเข้าไปที่เมนู Upload โปรแกรมจะแสดงหน้าต่างการบันทึกโค๊ดขึ้นมา หากผู้ใช้งานไม่ต้องการที่จะบันทึกโค๊ดก็ให้ปิดหน้าต่างนี้ไปได้เลย

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

32. รอจนกว่าโปรแกรมจะทำการอัพโหลดโค๊ดจนเสร็จ

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

33. เมื่อโปรแกรมทำการอัพโหลดโค๊ดเสร็จแล้วก็จะปรากฏข้อความ Done Uploading ขึ้นมา

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

34. ต่อมาให้ผู้ใช้งานกลับเข้ามาในแอพฯ Blynk เมื่อเข้ามาแล้วให้ผู้ใช้งานกดไปยังโปรเจคที่ได้สร้างไว้ (โปรเจคนี้ทาง blynk.cloud จะสร้างขึ้นให้เอง โดยจะอ้างอิงจาก template ที่ผู้ใช้งานสร้างไว้)

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

35. จากนั้นเลือกไปที่เมนูเครื่องหมายประแจเพื่อเริ่มต้นการตั้งค่า

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

36. เลือกไปที่เมนูเครื่องหมาย + ที่อยู่ด้านบนเพื่อทำการสร้าง widget ขึ้นมา สำหรับบทความนี้จะใช้ widget 3 ตัวคือ Button 1 ตัว และ Gauge 2 ตัว

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

37. จากนั้นทำการจัดเรียง widget ตามต้องการ ซึ่งเมื่อทำการจัดเรียงเสร็จแล้ว ให้ผู้ใช้งานกดเข้าไปยังwidget Button เพื่อตั้งค่า

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

38. เมื่อเข้ามาแล้วให้ผู้ใช้งานทำการกำหนด Data Stream สำหรับ widget Button ให้เลือกใช้ V0 จากนั้นทำการกำหนด Mode การใช้งานซึ่งจะมี Push และ Switch ในส่วนนี้ผู้ใช้งานสามารถกำหนดได้ตามต้องการ และเมื่อตั้งค่าเสร็จแล้วให้กดกากบาทเพื่อย้อนกลับ

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

39. จากนั้นทำการตั้งค่า widget Gauge ทั้ง 2 ตัว โดยการเลือกใช้งาน Data Stream ของ widget Gauge นั้น ผู้ใช้งานจะต้องเลือก Data Stream ให้ widget Gauge แต่ละตัว โดยทั้ง 2 ตัวจะต้องเลือก Virtual Pin คนละตัวกัน ซึ่งเมื่อเลือก Data Stream แล้ว ให้กดกากบาทเพื่อย้อนกลับ

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

Projectว ด อ ณหภ ม และ ความช นiot

40. จากนั้นกดไปที่รูปลูกศรด้านบนเพื่อย้อนกลับอีกครั้ง เพียงเท่านี้ผู้ใช้งานก็จะสามารถดูค่าอุณหภูมิและความชื้นในดินที่เซ็นเซอร์ตรวจวัดได้ พร้อมทั้งยังสามารถกดปุ่มเพื่อควบคุมการจ่ายน้ำผ่านแอปฯ Blynk ได้แล้ว