ใบงานที่ 5.5 ปัญหาเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อม ของทวีปอเมริกาใต้

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

           สิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบตัวที่มีการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือสร้างขึ้นใหม่ และมีผลต่อการดำเนินชีวิตวิถีชีวิตของคนในพื้นที่

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

            ตัวชี้วัด

                 ส 5.2 ม. 3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้

                 ส 5.2 ม. 3/2 สำรวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้            

            จุดประสงค์การเรียนรู้

                 1.  นักเรียนสามารถบอกปัจจัยที่ก่อให้เกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมของทวีปอเมริกาใต้ได้อย่างถูกต้อง                          

                 2.  นักเรียนสามารถยกตัวอย่างผลดีผลเสียของการเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริกาใต้ได้

                 3.  นักเรียนสามารถวิเคราะห์สถานการณ์สิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมในทวีปอเมริกาใต้ได้

                 4.  นักเรียนตระหนักและเห็นคุณค่าสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุง หรือสร้างขึ้นใหม่ ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์

1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน

ผ่านเกณฑ์ในระดับพอใช้ ขึ้นไป

2. ทำใบงานที่ 11 เรื่อง สิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้

ใบงานที่ 11 เรื่อง สิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้

3. ถาม – ตอบ

คำถาม

ตอบคำถามถูกต้อง

ใบงานที่ 5.4

การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1

ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้วเปรียบเทียบความแตกต่างจากสิ่งแวดล้อมเดิมกับสิ่งแวดล้อมใหม่

สิ่งแวดล้อมเดิม สิ่งแวดล้อมใหม ่ ผลการเปรียบเทียบ

1.

2.

3.

415

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

 การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชากรในภูมิภาคอย่างไร

416

ใบงานที่ 5.4 การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ในทวีปอเมริกาใต้

ตอนที่ 1
ค าชี้แจง ให้นักเรียนดูภาพ แล้วเปรียบเทียบความแตกต่างจากสิ่งแวดล้อมเดิมกับสิ่งแวดล้อมใหม่

สิ่งแวดล้อมเดิม สิ่งแวดล้อมใหม ่ ผลการเปรียบเทียบ

1. แต่เดิมประชากรส่วนใหญ่ประกอบ

อาชีพเกษตรกรรมเพื่อยังชีพ ปัจจุบันไดมีการ

ขยายทางด้านอุตสาหกรรม โดยเฉพาะตาม

เมืองใหญ่ในอาร์เจนตินา บราซิล

2. ประชากรส่วนใหญ่ของทวีปนับถือศาสนา

คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ปัจจุบันมีการ

ขยายตัวของชุมชนอินเดีย มีการสร้าง
ศาสนสถานเพื่อประกอบพิธีทางศาสนา

3. ป่าแอมะซอนมีความอดมสมบูรณ์ของป่าไม้

มากที่สุดของโลก ปัจจุบันมีการบุกรุกพื นที่
เพื่อท าการเพาะปลูกเพิ่มขึ น

417

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามต่อไปนี

 การเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชากรในภูมิภาคอย่างไร

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

418

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 37

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและสังคมในทวีปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด


ทวีปอเมริกาใต้มการเปลี่ยนแปลงทั งทางด้านธรรมชาติและสังคม ส่งผลให้เกิดสิ่งแวดล้อมใหม่และเกิดปัญหา
ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/1 วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และทาง
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- บอกวิถีชีวิตของคนในทวีปอเมริกาใต้ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและสังคมได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

- ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.2 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน

419

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้
เพื่อเป็นการทบทวนความรู้

2. ครูให้นักเรียนดูวีดิทัศน์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของคนในทวีปอเมริกาใต้ เช่น ชีวิตความเป็นอยู่ของคนพื นเมืองกับการ
ปรับตัวเข้ากับโลกยุคปัจจุบัน หรือวิถีชีวิตของความเป็นเมือง แล้วให้นักเรียนเขียนเป็นแผนผังความคิด เรื่อง
วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปในทวีปอเมริกาใต้

3. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด

วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงในทวปอเมริกาใต้เป็นผลมาจากปัจจัยใด

(สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีจ านวนประชากรมากขึ น ชุมชนเมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีการ
ติดต่อกับประเทศอื่น มีการรับข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่)

4. ครูสุ่มตัวแทนนักเรียน 4-5 คน ออกมาน าเสนอแผนผังความคิด เรื่อง วิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปในทวีปอเมริกา
ใต้ หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง
5. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปความรู้เกี่ยวกับลักษณะการเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็นผลมาจากการ

เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ประชากร สังคม และวัฒนธรรม
6. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าแบบฝึกกิจกรรมตามตัวชี วัด กิจกรรมที่ 3.10 จากแบบวัดฯ เป็นการบ้าน

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.3
2) วีดิทัศน์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้
8.2 แหล่งการเรียนรู้

420

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 38

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด


ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขนในทวีปอเมริกาใต้มีสาเหตุส าคัญหลายประการ ส่งผลกระทบต่อวิถีการด าเนิน

ชีวิตของประชากร จึงมีความจ าเป็นในการร่วมมอกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ี่
ส 5.2 ม.3/3 ส ารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทเกิดขึ นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ นในทวีปอเมริกาใต้
3.2 สาระการเรยนรู้ท้องถิ่น

(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการท างาน

421

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูเล่าถึงการขยายตัวของเมืองใหญ่ เช่น ในประเทศบราซิล อาร์เจนตินา ว่ามีการขยายตัวทางด้านการ
ท่องเที่ยว อุตสาหกรรม แล้วให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์จากเหตุการณ์ดังกล่าวว่า เกิดปัญหาใดตามมาบ้าง

2. ครูสรุปประเด็นว่า ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมก าลังเป็นปัญหาที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้
3. ครูเตรียมกรณีตัวอย่างปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้มาให้นักเรียนศึกษา
4. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษากรณีตัวอย่างปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

ของทวีปอเมริกาใต้ เช่น ภาวะโลกร้อน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน การลดลงของป่าแอมะซอน มลพิษ
ทางสิ่งแวดล้อมจากใบความรู้
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์กรณีตัวอย่างในใบงานที่ 5.5 เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีป
อเมริกาใต้ แล้วตอบค าถาม


6. นักเรียนแต่ละกลุ่มศกษาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้
จากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอค าตอบในใบงานที่ 5.5 หน้าชั นเรียน ครูตรวจสอบความถูกต้อง
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 5.5 ใบงานที่ 5.5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม

- สุนันท์ วิทิตสิริ. (2554). วิทยาการโลกร้อน (SCIENCE GLOBAL WARMING). กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3) ใบความรู้เกี่ยวกับกรณีตัวอย่างปัญหาสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

4) วีดิทัศน์สารคดีเรื่อง ปัญหาสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้
5) ใบงานที่ 5.5 เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- http://www.greentheearth.info/
- http://www.pcd.go.th/contact/FAQs_pol.html

422


ใบความร้

เถ้าถ่านภูเขาไฟชิลีป่วนข้ามแปซิฟิก! “ออสเตรเลีย” ระงับเที่ยวบนสู่แดนกีวีหลายสิบ

เอเอฟพี - เถ้าถ่านจากภูเขาไฟปูเยอวยของชิลี ลอยข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกไปจนถึงแดนจิงโจ้และนิวซีแลนด์แล้ว ท าให้สาย
การบินแควนตัสต้องสั่งระงับเที่ยวบินภายในประเทศบางเที่ยว ตลอดจนเที่ยวบินสู่นิวซีแลนด์ทั งหมดในวันนี
หลังจากที่ภูเขาไฟปูเยอวยเกิดปะทุขึ นเมื่อราว 1 สัปดาห์ก่อน จนสร้างความปั่นป่วนให้แก่การสัญจรทางอากาศในชิลีและ
ประเทศในอเมริกาใต้มาแล้ว ล่าสุดกระแสลมได้หอบเอาเถ้าถ่านภูเขาไฟลอยข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกเป็นระยะทางกว่า 9,400
กิโลเมตร จนถึงน่านฟ้านิวซีแลนด์
สายการบินแควนตัสประกาศยกเลิกเที่ยวบินทั งหมดจากเกาะแทสเมเนีย รวมถึงเที่ยวบินจากนครซิดนีย์และเมลเบิร์น สู่
ปลายทางเมืองไครสต์เชิร์ช ควีนส์ทาวน์ และเวลลิงตันของนิวซีแลนด์ โฆษกแควนตัสแถลง
“การยกเลิกเที่ยวบินมีผลส าหรับวันนี เท่านั น” โฆษกหญิงเผย พร้อมระบุว่ามีผู้โดยสารที่ได้รับผลกระทบราว 1,500 คน
ด้านสายการบินเจ็ตสตาร์ของออสเตรเลียก็สั่งระงับเที่ยวบินกว่า 20 เที่ยว ซึ่งมีก าหนดเดินทางสู่เกาะแทสเมเนีย และ
นิวซีแลนด์ในวันนี (12) ขณะที่สายการบินเวอร์จิน ออสเตรเลีย และแอร์นิวซีแลนด์ เพียงตรวจสอบสถานการณ์อย่างใกล้ชิด ทว่ายัง
ท าการบินตามปกติ
แอร์นิวซีแลนด์ระบุว่า จะเปลี่ยนแปลงเส้นทางบินและระดับความสูงเพื่อหลีกเลี่ยงเถ้าถ่านภูเขาไฟ ซึ่งส านักการบินพลเรือน
นิวซีแลนด์เตือนว่า จะลอยอยู่ในระดับความสูงประมาณ 20,000-30,000 ฟุต
ทั งนี ส านักการบินพลเรือนนิวซีแลนด์ระบุด้วยว่า การจราจรทางอากาศในแดนกีวีจะได้รับผลกระทบต่อไปอีก อย่างน้อย 1
สัปดาห์ เนื่องจากภูเขาไฟปูเยอวยยังไม่หยุดปะทุ

ที่มา : http://www.manager.co.th/around/ViewNews.aspx?NewsID=9540000071499

423

แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในโลกที่เมืองวัลดีเบีย ประเทศชิลี

แผ่นดินไหวครั งรุนแรงที่สุดในโลกเกิดที่ เมืองวัลดีเบีย (Valdivia) ทางตอนใต้ของประเทศชิลี (อยู่ตรงชายฝั่งตะวันออกของ
ทวีปอเมริกาใต้ ติดกับประเทศอาร์เจนตินา) ห่างจากเมืองหลวงคือซานติอาโกประมาณ 700 กม. วัดความแรงได้ถึง 9.5 ตามมาตรา
ริกเตอร์ ไหวอยู่นานถึง 5 นาทีกว่า เมืองใหญ่ๆ ถล่มทลายไปสามเมือง ไม่นับเมืองเล็กเมืองน้อยและหมู่บ้านตามแนวชายฝั่ง พวกท ี่
รอดจากแผ่นดินไหวมาได้ต้องเจอกับคลื่นสึนามิสูงถึง 24 เมตร (ประมาณตึก 7 ชั น) คลื่นนี แผ่ออกไปถึงชายฝั่งอีกด้านหนึ่งของ
มหาสมุทรแปซิฟิกอย่างญี่ปุ่นหรือเกาะฮาวายที่อยู่ระหว่างทางเสียหาย ไปด้วย (ตาย 61 รายในฮาวาย 122 รายในญี่ปุ่น)
รวมยอดผู้เสียชีวิตทั งจากแรงไหว คลื่นยักษ์ หินร่วง และแผ่นดินถล่มได้กว่า 5,700 ราย เกือบครึ่งอยู่ในชิลี ค่าเสียหายเฉพาะ
ในชิลี ประเมินตามค่าเงินในปีที่เกิดเหตุ คือ ประมาณ 550 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ จุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหวครั งนี อยู่ในมหาสมุทร
แปซิฟิก ตรงรอยต่อของแผ่นสมุทรนาซกากับแผ่นทวีปอเมริกาใต้ เรื่องของเรื่อง คือ แผ่นนาซกานั นพยายามจะดันตัวเองไปทาง
ตะวันออก แต่เจอแผ่นอเมริกาใต้สกัดเอาไว้จนเกิดอาการล็อกกันขึ น เมื่อแผ่นนาซกายังคงดึงดันกลับไปให้ได้ ก็เกิดแรงกดดันสะสม
ขึ นตรงรอยต่อมากขึ นเรื่อยๆ จนกระทั่งเวลาบ่ายสองสิบเอ็ดนาทีของวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1960 แผ่นอเมริกาใต้ก็ทนไม่ไหว
เขยิบถอยไปหน่อย แผ่นนาซกาก าลังดันอยู่เพลินๆ ไม่ทันได้ยั งเลยไถลพรวดไปข้างหน้า ส่วนหนึ่ง (ประมาณ 20 เมตร) มุดเข้าไปใต้
แผ่นอเมริกาใต้ ท าให้เกิดรอยแยกในทะเลเป็นแนวเหนือ-ใต้ ขนานไปกับชายฝั่งประเทศชิลี ยาวถึง 1,094 กม. แรงดันที่ถูกสะสมมา
ทั งหมดถูกปลดปล่อยออกมาในคราวเดียว ท าให้แผ่นดินไหวอย่างรุนแรง และเนื่องจากแผ่นดินแถวชายฝั่งอุ้มน าไว้มาก คลื่นความ
สั่นสะเทือนจึงถูกขยายให้แรงขึ น บางส่วนยุบตัวลงดึงเอาตึกรามบ้านช่องลงไปด้วย ส่วนที่ยุบลงไปต่ าหน่อยถูกน าทะเลไหลท่วม ท า
ให้ภูมิประเทศชายฝั่งของชิลีเปลี่ยนไปอย่างเห็นได้ชัด ที่ร้ายคือแผ่นดินไหวดังกล่าวท าให้ภูเขาไฟปูเยเวซึ่งอยู่ใกล้ๆ ระเบิดตูม
หลังจากแผ่นดินไหวครั งใหญ่เพียง 19 วัน ชิลีเป็นประเทศที่คุ้นชินกับแผ่นดินไหว เพราะแผ่นนาซกากับแผ่นอเมริกาใต้มีพฤติกรรม
เช่นนี มานาน และจะยังคงมีอยู่ต่อไปอีกนานจนนับไม่ได้
ก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวครั งนี ชิลีเจอแผ่นดินไหวหนักๆ มาหลายครั ง ขนาดวันนั นยังไหวตั งหลายหนมาแต่เช้า จนผู้คนชัก
จะหวาดๆ ส่วนใหญ่เลยออกมายืนคุยกันอยู่ตามถนนหรือนอกอาคารซึ่งนับว่าคิดถูกเพราะไม่งั นคงตาย มากกว่าน ี

ที่มา : http://mrvop.wordpress.com/2011/05/

424

ผืนป่าแอมะซอนจะเหลือไมถึงครึ่งภายในปี 2030

ี่
ป่าแอมะซอน ผืนป่าฝนเขตร้อนทกว้างใหญ่ที่สุดในโลก จะเสียหายอย่างรุนแรงหรือหายไปกว่าครึ่งหนึ่ง ภายในปี 2030
เพราะผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะภูมิอากาศโลกและการท าลายป่าไม้ของมนุษย์
นักวิทยาศาสตร์ให้ความสนใจต่อป่าแอมะซอนอย่างมาก เพราะผืนป่าแห่งนี มีความส าคัญต่อการรักษาเสถียรภาพของสภาวะ
ภูมิอากาศโดยการท าหน้าที่ดูดกลืนพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ประมาณครึ่งหนึ่ง ท าให้โลกเย็นลง ประการที่สอง เป็นแหล่ง
ดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขนาดใหญ่ของโลก และประการที่สามเป็นแหล่งน าจืดที่ส าคัญของโลกแม่น าหลายสายไหลลง
มหาสมุทรแอตแลนติก
แดน เนปสตัด นักวิทยาศาสตร์อาวุโสของศูนย์วิจัย Woods Hole Research Center ของ WWF ผู้เขียนรายงานฉบับนี
กล่าวว่าความส าคัญของป่าแอมะซอนไม่เพียงท าให้อุณหภูมิของโลกลดลงเท่านั น แต่ยังเป็นแหล่งน าจืดขนาดใหญ่ซึ่งมีอิทธิพลต่อ
กระแสน าในมหาสมุทร และเหนือสิ่งอื่นใดคือเป็นแหล่งเก็บกักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ขนาดใหญ่ รายงานฉบับนี คาดการณ์ว่า
ภาวะโลกร้อนจะท าให้ปริมาณน าฝนบริเวณป่าแอมะซอนลดลงมากกว่า 20% โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางตะวันออกของป่าแอมะซอน
และอุณหภูมิบริเวณป่าแอมะซอนจะสูงมากกว่า 2 องศาเซลเซียส
การเปลี่ยนแปลงพื นที่ป่าไม้เพื่อใช้ในการเกษตรและท าฟาร์มปศุสัตว์จะมีอัตราเร่งเพราะความต้องการถั่วเหลือง น ามันไบโอ
ดีเซลและเนื อสัตว์ของตลาดโลกสูงขึ น รวมทั งการเปลี่ยนแปลงพื นที่ป่าเป็นทุ่งหญ้าเลี ยงสัตว์เพื่อเป็นแนวป้องกันไฟป่าด้วย รายงาน
ฉบับนี ระบุว่า แนวโน้มการขยายตัวของเกษตรกรรม การท าฟาร์มปศุสัตว์ไฟป่า ความแห้งแล้งและอุตสาหกรรม
ป่าไม้ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันจะท าความเสียหายให้กับป่าอะเมซอนประมาณ 55% ของพื นที่ป่าทั งหมดภายในปี 2030
และจากนี ไปจนถึงปี 2030 การท าลายป่าแอมะซอนจะก่อให้เกิดการปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 55.5 ถึง 96.9
พันล้านตัน ซึ่งมากกว่าปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่โลกปล่อยสู่ชั นบรรยากาศภายในระยะเวลา 2 ปี แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่
เกิดจากการเผาป่า ฟาร์มปศุสัตว์ และการเกษตรในบริเวณป่าแอมะซอนของบราซิลมีปริมาณเท่ากับ 0.2 ถึง 0.3 พันล้านตันต่อปีและ
อาจจะเพิ่มขึ นเป็นสองเท่าเพราะความแห้งแล้งจะท าให้เกิดไฟป่ามากขึ น ปัจจุบันพื นท ป่าแอมะซอนถูกท าลายไปแล้วประมาณ 10
ี่

ถึง 12% พื นที่ส่วนใหญ่ถูกใช้เป็นทุ่งเลี ยงสัตว์ขนาดใหญ่และขนาดกลาง ประมาณ 20% ของพื นที่ปาไม้ที่ถูกท าลายเป็นทรัพย์สินของ
เอกชนและได้รับอนุญาตจากทางการอย่างถูกต้องตามกฎหมาย การท าลายป่าแอมะซอนท าให้สัตว์ป่าหลายสปีชีส์สูญเสียที่อยู่อาศัย
เกิดความสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ท าลายแหล่งเก็บกักแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั งวัฏจักรของน าที่เกิดการการคาย
น าของพืช ท าให้เกิดความแห้งแล้งตามมา
ในด้านสังคม ท าให้ประชาชนที่ใช้ประโยชน์จากป่าในการด ารงชีวิตยากจนลง และในบางกรณี เมื่อปาไม้เหลือน้อยลง ก็จะท า

ให้ประชาชนบุกรุกป่ามากขึ น รัฐบาลบราซิลเพิ่งแถลงถึงความส าเร็จตามมาตรการป้องกันการ ตัดไม้ท าลาย ป่าแอมะซอน ซึ่งเป็น
ผลท าให้ตัวเลขพื นที่ป่าที่ถูกท าลายลดลง 20% ในระหว่างเดือนสิงหาคม ปี 2006 ถึงเดือนกรกฎาคม ปี 2007 อย่างไรก็ตามพื นที่ป่า
แอมะซอนที่ถูกท าลายก็ยังมีจ านวนมากอยู่ คือมากกว่า 11,000 ตารางกิโลเมตร (4,250 ตารางไมล์) พอ ๆ กับพื นที่เกาะจาเมกาเลย
ทีเดียว

ที่มา : หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันเสาร์ที่ 15 ธันวาคม พุทธศักราช 2550 หน้า 19

425

ใบงานที่ 5.5

ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้จากใบความรู้ แล้วตอบค าถาม

กรณีตัวอย่างที่ 1
เรื่อง เถ้าถ่านภูเขาไฟชิลีป่วนข้ามแปซิฟิก! “ออสเตรเลีย” ระงับเที่ยวบินสู่แดนกีวีหลายสิบ

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ
ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง

426

กรณีตัวอย่างที่ 2
เรื่อง แผ่นดินไหวครั งรุนแรงที่สุดในโลกที่เมืองวัลดีเบีย ประเทศชิลี

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ

ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง

427

กรณีตัวอย่างที่ 3
เรื่อง ผืนป่าแอมะซอนจะเหลือไม่ถึงครึ่งภายในปี 2030

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ

ประเทศไทยอย่างไร


4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแกปัญหาได้อย่างไรบ้าง

428

ใบงานที่ 5.5 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

ค าชี้แจง ให้นักเรียนวิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้จากใบความรู้ แล้วตอบค าถาม

กรณีตัวอย่างที่ 1
เรื่อง เถ้าถ่านภูเขาไฟชิลีป่วนข้ามแปซิฟิก! “ออสเตรเลีย” ระงับเที่ยวบินสู่แดนกีวีหลายสิบ

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ
ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

429

กรณีตัวอย่างที่ 2
เรื่อง แผ่นดินไหวครั งรุนแรงที่สุดในโลกที่เมืองวัลดีเบีย ประเทศชิลี

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ

ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

430

กรณีตัวอย่างที่ 3
เรื่อง ผืนป่าแอมะซอนจะเหลือไม่ถึงครึ่งภายในปี 2030

1. ข้อมูลดังกล่าวเป็นปัญหาเกี่ยวกับอะไร

2. นักเรียนคิดว่า มีสาเหตุมาจากอะไร

3. ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อการด ารงชีวิตของประชากรในทวีปอเมริกาใต้อย่างไร และส่งผลกระทบต่อ

ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนคิดว่า มีแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างไรบ้าง

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

431

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 39

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

ื่
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจะต้องได้รับความร่วมมือจากประชาชน ภาครัฐ และเอกชนเพอให้
เกิดผลส าเร็จ

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ี่
ส 5.2 ม.3/3 ส ารวจ อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทเกิดขึ นในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- บอกแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการท างาน

432

6. กิจกรรมการเรียนรู้

1. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ พร้อมทั งบอกวิธีการแก้ปัญหา
เพื่อเป็นการทบทวนความรู้

ี่
2. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ศึกษาความรู้เพิ่มเติมเกยวกับแนวทางการอนุรักษ ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ จากหนังสือเรียน
3. ครูและนักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างความร่วมมือขององค์กรนานาชาติในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

สิ่งแวดล้อม เช่น อนุสัญญาว่าด้วยการค้าสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์

4. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคด ข้อ 1-2
1) นักเรียนคิดว่าปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรงที่สุดที่ยากต่อการป้องกันและแก้ไข ในทวป

อเมริกาใต้ คืออะไร อธิบายเหตุผล

2) นักเรียนคิดว่าประชากรทั่วโลกควรมีส่วนร่วมป้องกันและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น
ในทวีปอเมริกาใต้ได้อย่างไรบ้าง
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันจัดท าแผ่นป้ายเชิญชวนให้ร่วมมอกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

จากนั นให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงาน

6. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและแนวทางในการอนุรักษ ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ แล้วเขียนเป็นผังมโนทัศน์ส่งครูผู้สอน
7. ครูตรวจผลงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แล้วคัดเลือกผลงานของกลุ่มที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ที่ก าหนดติดป้าย
นิเทศหน้าชั นเรียน

8. ครูให้นักเรียนแต่ละคนท าแบบฝึกกิจกรรมตามตัวชี วัดกิจกรรมที่ 3.11-3.12 จากแบบวัดฯ
เป็นการบ้าน

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์

ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.3
8.2 แหล่งการเรียนรู้

433

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 40

ี่
วิชา ส23101 สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีท 3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาใต้ เวลา 1 ชั่วโมง
เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ต่อประเทศไทย
ผู้สอน นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด

การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ส่งผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม

ในประเทศไทย

2. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนร ู้

2.1 ตัวชี้วัด
ส 5.2 ม.3/4 วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ และ
อเมริกาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์สาเหตุและผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมของทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
ได้

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

4. สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้

2. มุ่งมั่นในการท างาน

434

6. กิจกรรมการเรียนรู้


1. ครูน าตัวอย่างข่าวเกี่ยวกับน าท่วมหรือภาวะภัยแล้งที่เกิดขนในประเทศไทยมาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์
สภาพอากาศ และผลกระทบที่เกิดจากสภาพอากาศดังกล่าว เช่น ผลผลิตทางการเกษตรเสียหายจากการขาด

น า เกษตรกรไม่สามารถท าการเพาะปลูกได้
2. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างสภาพอากาศของไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด เช่น การเกิดน าท่วม
ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ช่วงเดือนเมษายน พ.ศ. 2554 แล้วให้นักเรียนวิเคราะห์ถึงสาเหตุของการเกิดฝนตก

หนัก ซึ่งเหตุการณ์ดังกล่าวเป็นผลกระทบมาจากการเกิดปรากฏการณ์ลานีญา
3. นักเรียนกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อมต่อประเทศไทย จากหนังสือเรียน ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลสารสนเทศ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้ลง
ในแบบบันทึกการอ่าน

4. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับลักษณะภูมิอากาศที่ส าคัญของทวีปอเมริกาใต้ และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่
ส าคัญ ผลกระทบต่อประชากรในทวีป ภาวะโลกร้อน และปรากฏการณ์ต่างๆ พร้อมวิเคราะห์ผลกระทบต่อ
ประชากรโลกให้นักเรียนฟัง
5. ครูถามค าถามเพอให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิด เช่น การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้
ื่
ส่งผลกระทบต่อประเทศต่างๆ ในโลกหรือไม่ อย่างไร
6. ครูอธิบายปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาที่เกิดขึ นในทวีปอเมริกาใต้ และให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์

ผลกระทบจากปรากฏการณ์ดังกล่าวต่อประเทศไทย พร้อมทั งยกตัวอย่างจากเหตุการณดังกล่าว วิเคราะห์ถึง
ความเสียหายที่เกิดขึ นต่อสิ่งแวดล้อม

7. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มท าใบงานที่ 5.6 เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาต่อประเทศ
ไทย
8. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยค าตอบในใบงานที่ 5.6 จากนั นให้นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิด

ข้อ 1-2
1) ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวปอเมริกาใต้อย่างไรบ้าง

(ส่งผลต่อสภาพภูมิอากาศของประเทศไทยที่เกิดจากปรากฏการณ์เอลนีโญ และปรากฏการณ์ลานีญา)
2) นักเรียนมีส่วนร่วมในการป้องกันแก้ไขภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้อย่างไรบ้าง
9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในทวีปอเมริกาใต้ที่มี

ต่อประเทศไทย
10. นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบทความ เรื่อง ลักษณะทางสงคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของ

ี่
ทวีปอเมริกาใต้ โดยให้ครอบคลุมประเด็นตามทก าหนด ดังนี
1) การวิเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้
2) การวิเคราะห์ลักษณะส าคัญทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
3) การเสนอแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

435

7. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 5.6 ใบงานที่ 5.6 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจแบบบันทึกการอ่าน แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการน าเสนอผลงาน แบบประเมินการน าเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

สังเกตการใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นในการท างาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ตรวจบทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม แบบประเมินบทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
และเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้ วัฒนธรรม และเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.3
2) ตัวอย่างข่าวเกี่ยวกับน าท่วมที่เกิดขึ นในประเทศไทย

3) ใบงานที่ 5.6 เรื่อง ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาต่อประเทศไทย
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

- http://www.tmd.go.th/NCCT/article/LaNina.pdf กรมอุตุนิยมวิทยา
- http://www.tmd.go.th/info/info.php?FilelD=18 กรมอุตุนิยมวิทยา
- http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=7&ID=462 หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์
- http://www.tistr.or.th/t/publication/page_show_bc.asp?i1=86&i2=6

กระทรวงวิทยาศาสตร์

436

การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)

แบบประเมินบทความ เรื่อง ลักษณะทางสังคม วัฒนธรรม และเศรษฐกิจ

ของทวปอเมริกาใต้

ระดับคะแนน
ล าดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1

การวิเคราะห์ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
1
วัฒนธรรมของทวีปอเมริกาใต้

การวิเคราะห์ลักษณะส าคัญทางเศรษฐกิจและการ
2
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของทวีปอเมริกาใต้
การเสนอแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
3
สิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาใต้

รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............../.................../................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ดีมาก = 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ดี = 3 คะแนน
พอใช ้ = 2 คะแนน 11 - 12 ดีมาก
ปรับปรุง = 1 คะแนน 9 - 10 ดี
6 - 8 พอใช้

ต ากว่า 6 ปรับปรุง

437


ขาวท่น่าสนใจ

ข่าวเกี่ยวกับน้ าท่วมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย

ศอส. รายงานยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยใน 25 จังหวัด พร้อมเตือน 8 จังหวัด ได้แก่ อุทัยธานี ชยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง

สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรีรับมือภาวะน าล้นตลิ่งที่เพิ่มสูงขึ น รวม 11 จังหวัดและภาคใต้ฝั่งตะวันตก
ระมัดระวังอันตรายจากน าท่วมฉับพลัน น าป่าไหลหลาก โดยเฉพาะพื นที่ภาคตะวันออก ให้ระวังน าที่ล้นมาจากจังหวัดนครนายก
ตลอดจนขอให้จังหวัดที่มีพื นที่ประสบภัยเข้าหลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือ 5,000 บาท ซึ่งไม่ได้อยู่ในกรอบที่ได้รับอนุมัติจาก
คณะรัฐมนตรีในรอบแรก และประสงค์ขอรับความช่วยเหลือเพิ่มเติมเร่งส ารวจข้อมูลให้แล้วเสร็จภายใน 26 กันยายน 2554
นายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะรองผู้อ านวยการศูนย์สนับสนุนการอ านวยการและ
การบริหารสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม (ศอส.) เปิดเผยว่า ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์อุทกภัยใน 25 จังหวัด ได้แก่
สุโขทัย พิจิตร พิษณุโลก นครสวรรค์ อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบรี สระบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม

ปทุมธานี นนทบุรี อุบลราชธานี ยโสธร เลย ขอนแก่น มหาสารคาม ศรีสะเกษ ฉะเชิงเทรา นครนายก ตาก และปราจีนบุรี รวม 153
อ าเภอ 1,131 ต าบล 7,497 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับความเดือดร้อน 470,415 ครัวเรือน 1,567,158 คน ผู้เสียชีวิต 132 ราย สูญหาย
2 ราย พื นที่การเกษตร 5,110,327 ไร่ พื นที่เพาะเลี ยงสัตว์น า บ่อปลา 60,124 ไร่ กุ้ง/ปู/หอย 933 ไร่ สัตว์ได้รับผลกระทบ
3,954,046 ตัว น าท่วมเส้นทางไม่สามารถสัญจร ผ่านได้ แยกเป็นทางหลวง 27 สาย ใน 9 จังหวัด ทางหลวงชนบท 76 สาย ใน 19
จังหวัด ส าหรับสถานการณ์น าในลุ่มน าต่างๆ ที่ยังต้องเฝ้าระวัง เนื่องจากมีปริมาณน ามากและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ น ได้แก่ ลุ่มน าน่าน

ที่อ าเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์ ลุ่มน าปราจีนบุรี ที่อ าเภอกบินทร์ จังหวัดปราจีนบุรี ลุ่มน ามูล ที่อ าเภอพิมาย จังหวด
นครราชสีมา อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อ าเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ อ าเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด อ าเภอห้วยทับทัน
ราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ อ าเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ลุ่มน าชี ที่อ าเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ อ าเภอจังหาร ทุ่งเขาหลวง จังหวัด
ร้อยเอ็ด อ าเภอเมือง จังหวัดหนองบัวล าภู อ าเภอเมือง มหาชนะชัย จังหวัดยโสธร อ าเภอเมือง มัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น ลุ่มน าโขง
ที่อ าเภอบ้านม่วง จังหวัดสกลนคร ลุ่มน าสะแกกรัง ที่อ าเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ลุ่มน าท่าจีน ที่อ าเภอบางปลาม้า จังหวัด
สุพรรณบุรี อ าเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ขณะที่ลุ่มน าเจ้าพระยา มีปริมาณน าไหลผ่านจังหวัดนครสวรรค์ 3,986 ลบ.ม./วินาท ี
เขื่อนเจ้าพระยาปริมาณน าไหลผ่าน 3,715 ลบ.ม./วินาที ส่งผลให้มีน าล้นตลิ่งในพื นที่ลุ่มต่ าบริเวณ 8 จังหวัด ได้รับผลกระทบ ได้แก่
อุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี ในส่วนของสถานการณ์น าในเขื่อนต่างๆ
อยู่ในเกณฑ์ที่ต้องเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ โดยเฉพาะเขื่อนขนาดใหญ่ ได้แก่ เขื่อนภูมิพล มีปริมาณน าร้อยละ 88 ของความ
จุอ่างฯ เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน าร้อยละ 96 ของความจุอ่างฯ เขื่อนแควน้อยบ ารุงแดน มีปริมาณน าร้อยละ 99 ของความจุอ่างฯ และ
เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์มีปริมาณมากเกินความจุ ร้อยละ 111 ของความจุอ่างฯ ซึ่งต้องปล่อยน าออกจากเขื่อนอย่างต่อเนื่องเพื่อเร่ง
ระบายน า ส่งผลให้พื นที่ท้ายเขื่อนและชุมชนริมฝั่งแม่น าได้รับผลกระทบจากระดับน าที่เพิ่มสูงขึ น จึงขอแจ้งเตือนประชาชนที่อาศัย
อยู่บริเวณพื นทดังกล่าวให้ขนย้ายสิ่งของขึ นที่สูงและเสริมแนวกระสอบทรายกั นน า
ี่

ที่มา : http://www.ryt9.com/s/prg/1240097

438

ใบงานที่ 5.6

ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและ

ลานีญาต่อประเทศไทย
ตอนที่ 1
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนีโญ

1. ปรากฏการณ์เอลนีโญเกิดขึ นได้อย่างไร

2. ปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโลกอย่างไร

3. ปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนมีวิธีป้องกันและรับมือจากปรากฏการณ์เอลนีโญอย่างไร

439

ตอนที่ 2
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์ลานีญา

1. ปรากฏการณ์ลานีญาเกิดขึ นได้อย่างไร

2. ปรากฏการณ์ลานีญาส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโลกอย่างไร

3. ปรากฏการณ์ลานีญาส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนมีวิธีป้องกันและรับมือจากปรากฏการณ์ลานีญาอย่างไร

440

ใบงานที่ 5.6 ผลกระทบจากปรากฏการณ์เอลนีโญและลานีญาต่อ

ประเทศไทย

ตอนที่ 1
ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับปรากฏการณ์เอลนีโญ

1. ปรากฏการณ์เอลนีโญเกิดขึ นได้อย่างไร

การไหลย้อนกลับของผิวน าทะเลที่อุ่นในช่วงเวลาหนึ่ง จากบริเวณเส้นศูนย์สูตร ทางมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก
(ประเทศเปรูและประเทศเอกวาดอร์) ไปแทนที่กระแสน าเย็นทไหลอยู่เดิมตามบริเวณเส้นศูนย์สูตรทางมหาสมุทร
ี่
แปซิฟิกตะวันตก และบริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ อุณหภูมิผิวน าทะเลได้แผ่ขยายกว้าง
ส่งผลกระทบต่อการหมุนเวียนของบรรยากาศแผ่ขยายกว้างออกไป

2. ปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโลกอย่างไร
1) สัตว์ทะเลมีโอกาสสูญพันธุ์สูงมาก เมื่อเกิดภาวะการไหลของกระแสน าอุ่นผิดทิศทางไป ซึ่งกระทบกระเทือน

ต่อการขยายพันธุ์ของปลาและแหล่งอาหาร
2) สัตว์ป่าต้องพบกับภาวะแห้งแล้ง หาอาหารได้ยากขึ น และล้มตายจ านวนมากด้วยไฟป่า

3) แมลงและสัตว์ขนาดเล็กซึ่งเป็นพาหะของโรคต่างๆ มีจ านวนมากขึ น
4) แมลงศัตรูพืชเพิ่มจ านวนขึ น เช่น ตั๊กแตน เพราะสภาพอากาศเอื ออ านวยต่อการขยายพันธ ุ์

3. ปรากฏการณ์เอลนีโญส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร
เกิดภาวะแห้งแล้ง ผลผลิตทางการเกษตรเสียหาย เกิดไฟป่าในหลายพื นที่ ท าให้ป่าไม้ถูกท าลาย

สัตว์ป่าไร้ที่อยู่อาศัย ขาดแคลนน า

4. นักเรียนมีวิธีป้องกันและรับมือจากปรากฏการณ์เอลนีโญอย่างไร

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

441

ตอนที่ 2

ค าชี้แจง ให้นักเรียนตอบค าถามเกี่ยวกับปรากฏการณลานีญา

1. ปรากฏการณ์ลานีญาเกิดขึ นได้อย่างไร

เป็นปรากฏการณ์ที่อุณหภูมิของผิวน าทะเลมีค่าต่ ากว่าปกติ ซึ่งพบบริเวณตอนกลางและทางตะวันออกของ
มหาสมุทรแปซิฟิก (ประเทศเปรู และประเทศเอกวาดอร์) อันเนื่องมาจากลมตะวันออกเฉียงใต้มีก าลังแรงมากกว่าปกติ

จนพัดพาผิวน าทะเลอุ่นจากตะวันออกไปอยู่ทางแปซิฟิกตะวันตกและฝั่งเอเชียแทน จนท าให้ฝั่งแปซิฟิกตะวันออกจะมี
อุณหภูมิลดลงและต่ ากว่าปกติอย่างรุนแรง ขณะที่ฝั่งตะวันตกซึ่งปกติมีน าทะเลสูงอยู่แล้ว ก็จะยิ่งเพิ่มสูงมากขึ นอีก

รวมถึงอุณหภูมิด้วย จึงท าให้อากาศบริเวณนั นมีการกลั่นตัวเป็นน าฝน

2. ปรากฏการณ์ลานีญาส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโลกอย่างไร

1) ท าให้เกิดความแห้งแล้งทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต้ และเกิดฝนตกหนักในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2) ท าให้ระดับน าทะเลบริเวณทางซีกตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิกสูงกว่าปกติ

3) จากการที่ลมค้ายกตัวเหนือประเทศอินโดนีเซีย ท าให้เกิดฝนตกอย่างหนัก
4) จากที่น าเย็นใต้มหาสมุทรยกตัวขึ นแทนที่กระแสน าอุ่นพื นผิวมหาสมุทรแปซิฟิกทางซีกตะวันตกก่อให้เกิด

ธาตุอาหารท าให้มีปลาชุกชุมบริเวณชายฝั่งประเทศเปรู

3. ปรากฏการณ์ลานีญาส่งผลกระทบต่อประเทศไทยอย่างไร

1) ฤดูฝน ฝนจะตกหนักติดต่อกันท าให้หลายพื นที่ต้องประสบภัยน าท่วม ดินถล่ม
2) ฤดูหนาว หลังเกิดลานีญาจะมีอุณหภูมิต่ ากว่าปกติ

4. นักเรียนมีวิธีป้องกันและรับมือจากปรากฏการณ์ลานีญาอย่างไร

(พิจารณาตามค าตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

442

ความเห็นผู้บังคับบัญชา


หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒนธรรม

(ลงชื่อ) .....................................................................

(นางไพรจิตร บ้านเหล่า)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

(ลงชื่อ) .....................................................................
(นางพรพิรุณ แจ้งใจ)

หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ผู้บริหารโรงเรียน

(ลงชื่อ) .....................................................................

(นางลัดดา ผาพันธุ์)

ผู้อ านวยการโรงเรียนโคกโพธิ์ไชยศึกษา

443


แบบบนทึกหลังแผนการสอน

 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปัญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

ลงชื่อ
(นายไกรวุฒิ เกรียรัมย์)
ต าแหน่ง ครู

444

445