ใบงานที่ -3.5 เรื่อง โครงสร้าง ภายใน ดวงอาทิตย์

นายอดุล ดือราแม
ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ

โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษายะลา

นายอดุล ดือราแม
ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครชู านาญการ

โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวัดยะลา
สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษายะลา

คำนำ

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ เร่อื ง ดาวฤกษแ์ ละ
ระบบสรุ ยิ ะ กล่มุ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จดั ทาขึน้ เพ่ือมุ่งเนน้
ให้นักเรยี นสามารถศกึ ษาหาความรู้ และสามารถทดสอบความเขา้ ใจก่อนเรียน และหลังเรยี นไดด้ ว้ ย
ตนเอง ภายในเลม่ จะมีใบกิจกรรม ใบความรู้ท่ีให้ความรู้ด้านเนื้อหาแกน่ ักเรียน เม่ือศึกษาเน้อื หาเข้าใจ
แลว้ จะมใี บงาน ใหน้ ักเรียนฝกึ คดิ และแบบทดสอบหลงั เรียน เพอ่ื ทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจ อีกทงั้
ยังสามารถตรวจคาตอบจากเฉลยได้ด้วยตนเอง และนักเรียนจะได้ฝึกฝนทกั ษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และการนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ โดยครผู สู้ อนเปน็ ผใู้ ห้
คาปรึกษา แนะนา และคอยอานวยความสะดวก ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ผจู้ ัดทาเป็นอยา่ งย่ิงวา่ เอกสารประกอบการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ดาวฤกษแ์ ละระบบ
สุรยิ ะ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 หนว่ ยท่ี 6 โครงสร้างและ
ปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์ชุดน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียน และครูผปู้ ฏบิ ตั กิ ารสอนกลุ่มสาระ การ
เรียนร้วู ิทยาศาสตรส์ ามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการจัดกระบวนการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกับนักเรียนได้ดี
ยง่ิ ขึ้น

อดลุ ดอื ราแม

สำรบญั ข

คานา หน้า
สารบัญ ค
คาชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียน ง
คาแนะนาการใชส้ าหรับครู 1
คาแนะนาการใช้สาหรับนักเรียน 2
ขน้ั ตอนการจดั เอกสารประกอบการเรียนรแู้ บบวัฏจกั ร 7 ข้ัน (7E) 3
ขัน้ ตอนการใช้เอกสารประกอบการเรียน 4
มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตวั ช้ีวดั 5
สาระสาคญั 6
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 6
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 7
ขนั้ ที่ 1 ข้ันตรวจสอบความรูเ้ ดมิ 8
12
ใบคาถาม 13
ขั้นที่ 2 ขน้ั เร้าความสนใจ 14
15
ใบกจิ กรรมที่ 1 17
ข้นั ท่ี 3 ขน้ั สารวจและคน้ หา 18
19
ใบกิจกรรมท่ี 2 25
ใบความรู้ที่ 1 26
ขน้ั ท่ี 4 ขนั้ อธิบาย 30
ใบกิจกรรมท่ี 3 31
ขั้นท่ี 5 ขน้ั ขยายความคิด 33
ใบกจิ กรรมที่ 4
ใบความรู้ที่ 2

สำรบญั ค

. หน้า
36
ขั้นท่ี 6 ข้นั ประเมนิ ผล 37
ใบงาน 43
44
ขัน้ ที่ 7 ขนั้ นาความรู้ไปใช้ 46
ใบกจิ กรรมท่ี 5 50
แบบทดสอบหลังเรยี น 51
52
บรรณานกุ รม 53
ภาคผนวก 60
เฉลยแบบทดสอบก่อนและเรียน
เฉลยกิจกรรม
เฉลยใบงาน

1

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 รหสั วิชา ว33194
เรอื่ ง ดาวฤกษแ์ ละระบบสุรยิ ะ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6
หน่วยท่ี 6 โครงสร้างและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์ ประกอบด้วย

1. คาแนะนาสาหรับครู
2. คาแนะนาสาหรับนกั เรยี น
3. แผนผังมโนทัศน์ขนั้ ตอนการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
5. แบบทดสอบก่อนเรยี น
6. ใบกิจกรรม
7. ใบความรู้
8. ใบงาน
9. แบบทดสอบหลงั เรยี น
10. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
11. เฉลยใบงาน
เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 รหัสวิชา ว33194
เรอ่ื ง ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
เลม่ น้ี เปน็ หน่วยที่ 6 โครงสรา้ งและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์ ใช้เวลาในการเรียน 4 ชว่ั โมง มี
วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อใหน้ กั เรยี นมีความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั โครงสร้างดวงอาทติ ย์ ปรากฎการณ์บนดวง
อาทติ ย์ การเกดิ ลมสุริยะและพายสุ ุริยะ โดยการพัฒนาการเรยี นรใู้ นรูปแบบเอกสารประกอบการเรยี น
เพ่อื สะดวกในการใชท้ ง้ั ครแู ละนักเรยี นตามเจตนารมณ์และเป้าหมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษา
ข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560)

2

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ 1 รหัสวชิ า ว33194
เรอื่ ง ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6
เลม่ นี้ เป็นหน่วยที่ 6 โครงสรา้ งและปรากฎการณบ์ นดวงอาทติ ย์ ครูควรเตรียมความพรอ้ ม และปฏบิ ตั ิ
ตามคาแนะนา ดังต่อไปนี้

กอ่ นการจัดการเรยี นการสอน ครูผู้สอนควรดาเนนิ การ ดงั นี้
1. ศึกษาแผนการจัดการเรยี นรู้ เอกสารประกอบการเรียน และอ่านเน้ือหาสาระอย่าง
ละเอียดรอบคอบ พร้อมท้ังทาความเข้าใจกบั เน้ือหาทุกเลม่ กอ่ นการใชง้ าน
2. เตรียมเอกสารประกอบการเรียนให้ครบถ้วนและเพยี งพอกบั จานวนนักเรยี น
3. เตรยี มเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล เพื่อใหท้ ราบความก้าวหนา้ ของนักเรียน
4. จัดชั้นเรยี นใหน้ กั เรยี นเรียนร้เู ปน็ รายบคุ คล รายคู่ หรือกลุม่ ตามแผนการจัดการเรยี นรู้
ระหวา่ งเดนิ ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ครูผู้สอนควรดาเนินการ ดังน้ี
1. ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีกาหนดไว้ในแผนการจดั การ
เรียนรู้อยา่ งเคร่งครัด
2. ชีแ้ จงใหน้ ักเรยี นทราบลาดบั ขน้ั ตอนและวิธีการเรยี นรโู้ ดยใช้เอกสารประกอบการเรียน
อย่างชดั เจน และประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั จากการเรยี นรู้ โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียน
3. ชีแ้ จงใหน้ ักเรียนทราบเก่ียวกบั บทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้ โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน
ให้เขา้ ใจ และเน้นย้าเรื่องความซ่อื สตั ย์ โดยไม่ลอกเพื่อน ไมใ่ หเ้ พ่ือนทาใหก้ ่อนลงมือทาด้วยตนเอง
4. สังเกตความตง้ั ใจของนักเรียน ความสนใจในการเรยี น การทางานรว่ มกันเป็นกลุ่มของ
นักเรยี นทุกกลุ่มอย่างใกลช้ ิด หากนักเรียนคนใดมปี ัญหาข้อสงสัย ครูตอ้ งให้ความชว่ ยเหลอื ทนั ที
5. ควบคุมเวลาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชเ้ อกสารประกอบการเรียนของนักเรียน
แตล่ ะคนอาจจะไม่เท่ากัน ครูควรยืดหยนุ่ ตามความเหมาะสม และตามสถานการณ์
6. การสรุปบทเรยี นควรเปน็ กจิ กรรมรว่ มกันของนักเรียนทุกคนหรือแตล่ ะกล่มุ สง่ ตัวแทน
มารว่ มอภิปรายเร่อื งท่ีเรียนมา
7. กากับควบคุมใหน้ ักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของนักเรียน
ส้นิ สุดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ครผู ้สู อนควรดาเนนิ การ ดงั น้ี
1. เก็บรวบรวมผลงานของนักเรยี นไปตรวจ
2. เนน้ ยา้ ให้นักเรยี นทาการบา้ นมาสง่ ใหต้ รงตามเวลาท่ีกาหนดและนาข้อบกพร่องจากการทา
การบ้านของนักเรียนไปบอกและแก้ไขให้กบั นักเรียนในชว่ั โมงถัดไป
3. ตรวจแบบทดสอบ บันทึกคะแนนและสรุปผลการประเมนิ พฤตกิ รรมของนักเรียน

3

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 1 รหัสวิชา ว33194
เรอ่ื ง ดาวฤกษ์และระบบสุริยะ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ปรบั ปรุงพทุ ธศกั ราช 2560) หน่วยที่ 6
โครงสร้างและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์ นักเรยี นควรปฏิบัติตามคาแนะนา ดงั น้ี

1. อา่ นคาชี้แจงและคาแนะนาในการใช้เอกสารประกอบการเรยี นใหเ้ ข้าใจก่อนทากิจกรรม
ทุกครัง้

2. ศึกษาจดุ ประสงคก์ ารเรียนรูแ้ ละข้นั ตอนการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน รายวิชา
วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ เพอ่ื ให้ทราบว่า เมอ่ื เรยี นจบแลว้ นกั เรียนจะมีความรู้ในเร่ืองใดบา้ ง

3. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียนลงในกระดาษคาตอบ ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบทดสอบ
กอ่ นเรียน พร้อมท้งั บันทึกคะแนนลงในแบบบันทึกคะแนน

4. ทาใบกจิ กรรม และศึกษาใบความรู้
5. ทาใบงาน ตรวจคาตอบจากเฉลยแบบใบงาน พร้อมทั้งบันทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึก
คะแนนรายบุคคล
6. เมือ่ นักเรียนไม่เข้าใจทาเอกสารประกอบการเรียน ข้อใดไม่ไดห้ รอื มีปัญหาข้อสงสยั ใน
เนอ้ื หาใหก้ ลับไปศึกษาใบความรู้และตัวอยา่ งอีกครง้ั จนเข้าใจดีหรอื ปรกึ ษาครูผูส้ อน แลว้ จงึ กลับมาทา
เอกสารประกอบการเรยี น
7. การเขียนคาตอบของเอกสารประกอบการเรยี นใหน้ ักเรียน ทาดว้ ยความรอบคอบให้
ผลงานมคี วามถูกต้อง สะอาดเรียบร้อยและเปน็ ระเบยี บ
8. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ตรวจให้คะแนนตามเฉลย ถ้าไดต้ า่ กวา่ ร้อยละ 80% ให้
กลบั ไปศึกษาเอกสารประกอบการเรียนอีกครัง้
9. สรปุ ผลการเรยี น ประเมิน ปรับปรงุ และพฒั นาตนเอง
10. การศึกษาเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จะไม่บรรลผุ ลสาเร็จถ้านกั เรียนขาดความ
ซ่อื สตั ยใ์ นการทาเอกสารประกอบการเรียน

4

ข้ันท่ี 1 ข้ันตรวจสอบความรู้เดมิ (Elicitation Phase)
ขั้นที่ 2 ข้นั เร้าความสนใน (Engagement Phase)
ข้นั ที่ 3 ขน้ั สารวจและค้นหา (Exploration Phase)

ขัน้ ที่ 4 ข้นั อธบิ าย (Explanation Phase)
ขัน้ ที่ 5 ขน้ั ขยายความคดิ (Expansion Phase)
ขัน้ ท่ี 6 ข้ันประเมินผล (Evaluation Phase)
ขนั้ ท่ี 7 ขั้นนาความร้ไู ปใช้ (Extension Phase)

5

อา่ นคาชแี้ จง
ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
ทาใบกิจกรรม
ศึกษาใบความรู้
ทาใบงาน
ทาแบบทดสอบหลงั เรียน

6

เอกสารประกอบการเรียน เร่อื ง ดาวฤกษแ์ ละระบะสุรยิ ะ
กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6
หนว่ ยที่ 6 โครงสร้างและปรากฎการบ์ นดวงอาทติ ย์

มาตรฐานการเรยี นรู้/ ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และวิวฒั นาการของเอกภพ
กาแลก็ ซ่ี ดาวฤกษ์ และระบบสรุ ิยะ รวมทง้ั ปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสุริยะท่ี
สง่ ผลตอ่ สงิ่ มีชวี ติ และการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ

ว 3.1 ม.6/9 อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทิตย์ การเกิดลมสรุ ิยะ พายุสุรยิ ะ และสบื คน้
ขอ้ มลู วิเคราะห์การนาเสนอปรากฎการณห์ รือเหตกุ ารณท์ ี่เก่ยี วข้องกับผล
ของลมสุริยะ และพายุสรุ ยิ ะทม่ี ีตอ่ โลกรวมท้งั ประเทศไทย

สาระสาคญั

ดวงอาทิตย์มีโครงสรา้ งภายในเป็นแกน่ เขตการแผร่ ังสี และเขตการพาความร้อน
และมีชั้นบรรยากาศอยเู่ หนือเขตพาความร้อน ซึ่งแบ่งเป็น 3 ชัน้ คือ ชั้นโฟโตสเฟยี ร์ ชนั้ โร
โมสเฟยี ร์ และคอโรนา ในช้นั บรรยากาศของดวงอาทิตยม์ ีปรากฎการณส์ าคัญ เชน่ จุดมดื ของ
ดวงอาทติ ย์ การลุกจ้า ทท่ี าใหเ้ กิดลมสุรยิ ะ และพายสุ ุรยิ ะซึง่ ส่งผลตอ่ โลก

7

จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้ (K)
1. อธบิ ายโครงสร้างและปรากฎการณบ์ นดวงอาทิตย์
2. อธบิ าย และยกตัวอยา่ งเก่ียวกับอิทธพิ ลของดวงอาทติ ยท์ ี่ส่งกระทบต่อโลก

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
3. เขยี นแผนผงั มโนทศั น์สรปุ ความรู้เกีย่ วกบั โครงสรา้ งและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์

ได้
4. มคี วามสามารถในการแก้ปญั หาและกระบวนการทางานเป็นกลมุ่

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A)
5. นกั เรียนมีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มงุ่ มั่นในการทางาน และมจี ิตวิทยาศาสตร์

8

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

เอกสารประกอบการเรียน เรอื่ ง ดาวฤกษแ์ ละระบะสรุ ิยะ
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยท่ี 6 โครงสรา้ งและปรากฎการณบ์ นดวงอาทิตย์

คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นทาเครอื่ งหมายกากบาท () ลงในช่องตัวอักษร ก ข ค หรือ ง ที่ถูกต้องท่ีสดุ
เพียงข้อเดยี ว

1. ขอ้ ใดกล่าวถึงโครงสรา้ งดวงอาทติ ย์ได้ถูกต้อง
ก. แบง่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ โฟโตสเฟียรแ์ ละโครโมสเฟียร์
ข. แบง่ ออกเปน็ 2 สว่ น คือ โทรโพสเฟยี รแ์ ละสตราโมสเฟยี ร์
ค. แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น คือ แกน่ ชนั้ ใน แก่นชั้นนอก และพ้นื ผิวชัน้ บน
ง. แบง่ ออกเป็น 3 สว่ น คือ แก่น เขตการแผร่ ังสี เขตการพาความร้อน

2. บรเิ วณใดทส่ี ามารถมองเห็นได้ดว้ ยตามเปลา่ เม่ือมองผ่านแผน่ กรองแสงสรุ ิยะ
ก. คอโรนา
ข. แกน่ กลาง
ค. โพโตสเฟียร์
ง. โครโมสเฟียร์

3. บรรยากาศของดวงอาทติ ยช์ นั้ ใด มองเหน็ เป็นวงสขี าวเม่อื เกิดสุริยปุ ราคาเต็มดวง
ก. corona
ข. photosphere
ค. thermosphere
ง. chromosphere

9

4. ขอ้ ใดของดวงอาทติ ย์ที่เป็นแหลง่ กาเนิดระบดิ นิวเคลยี ร์ฟวิ ชนั่
ก. core
ข. corona
ค. radiation zone
ง. convection zone

5. การลกุ จ้าบนดวงอาทิตย์ ทาใหเ้ กิดสิ่งใด
ก. พายสุ ุริยะ
ข. เขตเอ้ือชีวติ
ค. แถบไคเปอร์
ง. จุดมดื ดวงอาทติ ย์

6. จุดมืดของดวงอาทิตย์สามารถพบในโรงสรา้ งชั้นใดของดวงอาทิตย์
ก. เขตการแผ่รงั สี
ข. ช้นั โฟโตสเฟียร์
ค. ชน้ั โครโมสเฟียร์
ง. เขตการพาความรอ้ น

7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตขุ องการเกิดพายสุ ุรยิ ะ
ก. ลมสรุ ิยะ
ข. แสงเหนอื
ค. เปลวสุรยิ ะ
ง. การปลดปลอ่ ยก้อนมวลสารจากโคโรนา

8. เพราะเหตุใดโลกของเราจึงไม่ค่อยไดร้ ับผลกระทบจากพายุสรุ ิยะ
ก. มีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น
ข. มแี กนโลกเปน็ เหล็กผสมทองคา
ค. มีสนามแม่เหล็กชว่ ยปกป้องรงั สี
ง. มกี ารถ่ายโอนพลงั งานความรอ้ นอยู่ตลอดเวลา

10

9. ข้อใดที่เกดิ จากลมสรุ ยิ ะ
ก. เขฒ็ ทิศเบนไปมา
ข. วงจรอิเล็กทรอนิกส์ของดาวเทียมไหม้
ค. การตดิ ตอ่ ส่ือสารโดยเสน้ ใยนาแสงขัดข้อง
ง. การเกดิ แสงออโรราแถบข้ัวโลกเหนือและข้ัวโลกใต้

10. ข้อใดเปน็ ผลกระทบของพายสุ รุ ิยะท่ีมตี ่อโลก

1. ลมสุรยิ ะ 3. การส่ือสารโดยวิทยคุ ลื่นสน้ั ตดิ ขดั

2. แสงเหนอื – แสงใต้ 4. เกดิ ความรอ้ นจานวนมาก

ก. ข้อ 1 และ 2

ข. ข้อ 2 และ 3

ค. ข้อ 3 และ 4

ง. ข้อ 4 และ 1

11

กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
หน่วยท่ี 6 โครงสรา้ งและปรากฎการณ์บนดวงอาทติ ย์

ชื่อ – สกุล ชน้ั เลขท่ี .

ข้อท่ี ตวั เลอื ก 1. เกณฑก์ ารให้คะแนน
ก ขค
ง ระดบั คะแนน รายการ
1
2 1 ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง
3
4 0 ตอบคาถามไมถ่ ูกต้อง หรือไมต่ อบ
5
6 2. ระดับคะแนน
7
8 ระดับคะแนน รายการ
9 8 - 10 ดี
10 5-7
0-4 พอใช้
ปรบั ปรุง

3. ผลการประเมนิ

 ผา่ น
 ไม่ผา่ น

คะแนนเต็ม 10 คะแนน ลงช่อื ผูป้ ระเมนิ
(นายอดลุ ดอื ราแม)
ได้คะแนน คะแนน

12

คาช้แี จง

- ให้นักเรียนตอบคาถามจากใบคาถาม เร่อื ง โครงสรา้ ง
และปรากฎการณบ์ นดวงอาทิตย์

13

คาชแี้ จง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. จากรปู พน้ื ผวิ ของดวงอาทิตย์มีการเปล่ยี นแปลงหรือไม่ อย่างไร
2. อุณหภูมิพ้นื ผวิ ของดวงอาทิตย์ประมาณเท่าใด
3. โลกของเราได้รับพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ในรปู แบบใดบา้ ง
4. ดวงอาทติ ยส์ ร้างพลังงานได้อยา่ งไร และสรา้ งบรเิ วณใด

14

คาชแี้ จง

- ให้นักเรยี นทากจิ กรรมท่ี 1 โครงสรา้ งดวงอาทติ ย์

15

จุดประสงค์การเรยี นรู้
อธบิ ายโครงสร้างดวงอาทิตย์

วัสดุ – อปุ กรณ์
แผนภาพโครงสร้างดวงอาทติ ย์

วิธีทา
1. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลมุ่ กล่มุ ละ 5 – 6 คน
2. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มระบุชื่อโครงสรา้ งดวงอาทิตย์ลงในแผนภาพทกี่ าหนด

16

แผนภาพโครงสร้างดวงอาทิตย์
แกน่

คอโรนา เขตการแผร่ ังสี
โฟโตสเฟยี ร์ เขตพาความร้อน

โครโมสเฟียร์

17

คาช้ีแจง

- ให้นักเรยี นทากิจกรรมท่ี 2 สบื คน้ ขอ้ มูลโครงสรา้ งและ
ปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์

- ใหศ้ ึกษาใบความรู้ที่ 1 โครงสรา้ งและปรากฎการณ์บนดวง
อาทิตย์

18

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
สบื คน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายโครงสร้างบนดวงอาทิตย์

วัสดุ – อปุ กรณ์
-

วธิ ที า
1. ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ ออกเปน็ 6 กลุม่ กลมุ่ ละ 5 – 6 คน
2. ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษา ค้นควา้ สบื คน้ ข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ เชน่ ห้องสมดุ

อินเตอรเ์ น็ต เปน็ ต้น หวั ข้อโครงสร้างและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์
3. แต่ละกลมุ่ รว่ มกนั วางแผนออกแบบการปฏิบัติกิจกรรม

19

โครงสร้างดวงอาทิตย์

ภาพที่ 1 โครงสรา้ งภายนและบรรยกาศของดวงอาทิตย์
ที่มา : https://www.stkc.go.th/info/โครงสร้างดวงอาทิตย์
ดวงอาทติ ย์ เป็นดาวฤกษ์มีสีเหลอื ง ท่ปี ระกอบด้วยไฮโดรเจนและฮีเลยี มเป็นหลกั มีเส้น
ผ่านศนู ยก์ ลางประมาณ 109 เท่าของเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของโลก มอี ณุ หภูมิท่ีผวิ ประมาณ 5,800 เคลวนิ
แสงสวา่ งทส่ี อ่ งออกมาจากดวงอาทติ ย์ ทาให้มองเห็นดาวเคราะห์ได้ พลงั งานจากดวงอาทิตยย์ งั ทาให้
โลกอบอุ่น

20

ดวงอาทิตยป์ ระกอบดว้ ยโครงสร้างใหญ่ 2 ส่วน
คือ โครงสรา้ งภายในดวงอาทติ ย์
และชนั้ บรรยากาศของดวงอาทิตย์

เรามาดูกนั นะครับ วา่ ประกอบไปด้วยอะไรบา้ ง

ดวงอาทติ ย์ ประกอบด้วยโครงสรา้ งใหญ่ 2 ส่วน คือ โครงสรา้ งภายในดวงอาทิตย์ และ
ชัน้ บรรยากาศของดวงอาทิตย์

1. โครงสร้างของดวงอาทิตย์ ประกอบไปด้วย 3 ส่วน คอื
1.1 แกน่ (core) เปน็ ชัน้ ในสดุ ของดวงอาทิตย์ อุณหภมู ิ

ประมาณ 15 ลา้ นเคลวิน มคี วามหนาแนน่ สงู และมอี ุณหภูมสิ ูงมากพอท่ี
ทาใหเ้ กิดปฏิกิรยิ าเทอร์มอนิวเคลยี ร์ ซ่งึ พลงั งานท่ีได้จากปฏิกริ ิยา
นวิ เคลียรน์ ้เี ป็นแหล่งพลังงานของดวงอาทติ ย์

1.2 เขตการแผ่รงั สี (radiation zone) เป็นชนั้ ที่ถัดจาก
แกน่ ออกมา มีความหนาแน่นกวา่ ชัน้ อนื่ มอี ุณหภูมปิ ระมาณ 2.5 ล้าน
เคลวนิ การถ่ายโอนพลังงานระหว่างแกน่ และเขตการแผร่ ังสนี ใ้ี ช้
เวลานานนับแสนปี
1.3 เขตการพาความร้อน (convection zone) เป็นช้ันนอกสดุ ของดวงอาทิตย์ เกดิ
การพาพลงั งานจากเขตการแผ่รังสีออกสู่ผิวของดวงอาทิตย์ โดยมกี ารหมุนเวยี นของพลาสมาเป็นวงจร
การพาความร้อน

2. ชั้นบรรยากาศของดวงอาทิตย์ ประกอบไปดว้ ย 3 สว่ น คอื
2.1 ชัน้ โฟโตสเฟียร์ (photosphere) หรือทรงกลมแสง เป็นชนั้ บรรยากาศช้นั ในสุด

ของดวงอาทิตย์ มีอุณหภูมปิ ระมาณ 5,800 เคลวนิ หนาประมาณ 400 กิโลเมตร ประกอบดว้ ยแก๊ส
ร้อน ซง่ึ เคลื่อนท่อี ยู่ตลอดเวลา เปน็ บริเวณทสี่ ามารถมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปล่า ซึง่ การสังเกตดวงอาทติ ย์
โดยตรงต้องสังเกตโดยใช้แผน่ กรองแสงสุริยะทุกครั้ง

2.2 ชัน้ โครโมสเฟียร์ (chromosphere) หรือทรงกลมสี เป็นชนั้ บรรยากาศท่ี
ห่อหุม้ โฟโตสเฟียร์ไว้ หนาประมาณ 1,700 กิโลเมตร มีอุณหภมู ปิ ระมาณ 10,000 – 100,000 เคลวิน
และมคี วามหนาแนน่ น้อยกว่าโฟโตสเฟยี ร์

21

2.3 คอโรนา (corona) เป็นช้นั
บรรยากาศช้นั นอกสุด ซึ่งมีความหนาแนน่ นอ้ ยกวา่
ช้ันโครโมสเฟียร์ สามารถแผก่ ระจายออกไปไกลมาก
มอี ุณหภมู สิ ูงมากประมาณ 1-2 ลา้ นเคลวนิ คนบน
โลกจะเห็นบางส่วนของบรรยากาศชั้นนี้ได้เฉพาะ
ขณะเกิดสุริยปุ ราคาเต็มดวง

ภาพที่ 2 โครานาขณะเกดิ สุริยุปราคาเตม็ ดวง

ดวงอาทติ ย์ปลดปล่อยพลังงานใน

รปู คล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟ้า และอนุภาคพลังงานสงู

ซึ่งทาให้เกดิ ปรากฎการณ์ต่าง ๆ ทส่ี ่งผลตอ่ การ

ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวติ บนโลก โดยปรากฎการณ์

บนดวงอาทิตย์ท่ีสาคญั คือ จุดมดื ดวงอาทิตย์

ลมสรุ ิยะและพายุสุรยิ ะ

1. จดุ มืดดวงอาทิตย์ เม่ือสังเกตดวง

อาทิตย์ด้วยกล้องโทรทรรศน์ทต่ี ิดต้งั แผน่ กรองแสง

สุริยะ จะมองเหน็ เฉพาะช้ันโฟโตสเฟยี ร์ เน่ืองจาก

เป็นชัน้ บรรยากาสทปี่ ลอ่ ยคลื่นแสงในชว่ งทสี่ ามารถ

มองเห็นได้ นอกจากน้ียังอาจมองเหน็ จุดสีคล้าบน ภาพที่ 3 จุดมืดดวงอาทติ ย์
ชัน้ โฟสโสเฟยี ร์ เรยี กว่า จุดมดื ดวงอาทติ ย์ หรอื จุดมดื ทมี่ าภาพท่ี 2,3 : http://thaiastro.nectec.or.
โดยมีจดุ มืดดวงอาทติ ย์เป็นบริเวณบนชนั้ โฟสโตสเฟียร์
ที่มีอุณหภมู ติ า่ กวา่ บริเวณโดยรอบและมีความเข้ม th/library/solarstormfacts/
ของสนามแมเ่ หลก็ สูงกว่าบรเิ วณอนื่ บรเิ วณทเ่ี กดิ solarstormfacts.html

จดุ มดื ดวงอาทิตยจ์ ะมอี ุณหภูฒปิ ระมาณ 4,300 เคลวนิ ในขณะท่ีอุณหภูมผิ ิวของดวงอาทิตยม์ ี

ค่าประมาณ 5,800 เคลวิน ดงั นน้ั จงึ เกดิ การแผ่รังสีน้อยกว่า ทาใหส้ งั เกตเหน็ ว่ามีสคี ลา้ กว่าบริเวณ

ข้างเคยี งจดุ มืดดวงอาทิตยเ์ กิดเปน็ กลมุ่ โดยจานวนจดุ มืดจะเปลี่ยนเปน็ คาบท่คี ่อนขา้ งสมา่ เสมอประมาณ

11 ปี เรยี กว่า วฎั จักรมืด (sunspot cycle) เมือ่ เกิดจดุ มดื มักจะเกิด เปลวสุริยะ (prominence)

การลกุ จ้า (solar flare) และพายสุ ุริยะ (solar storm)

22

2. ลมสริยะและพายุสุริยะ โลกได้รบั พลงั งานจากดวงอาทติ ย์ในรูปของคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้
เชน่ พลงั งานแสง และพลังงานความร้อน นอกจากน้ีดวงอาทิตย์ยังไดป้ ล่อยอนภุ าคมปี ระจุไฟฟ้า
พลงั งานสงู ซ่งึ สว่ นใหญ่เป็นโปรตอนและอเิ ล็กตรอน อนภุ าคดังกล่าวจะถกู ปล่อยออกมาจากดวงอาทติ ย์
ตลอดเวลา เรียกว่า ลมสรุ ิยะ (solar wind) โดยมีความเรว็ ประมาณ 200 – 900 กิโลเมตรต่อวนิ าที
ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อสนามแม่เหล็กและชั้นบรรยากาศโลก รวมท้งั ทาให้หางของดาวหางช้ไี ปทางดา้ น
ตรงข้ามกบั ดวงอาทติ ย์ ลมสุริยะทาให้แกส๊ ในบรรยากาศแตกตัวเปน็ ไอคอนและนาไฟฟ้า และเป็นตน้
กาเนดิ ของแสงเหนือใต้ (aurora) ซึ่งปรากฎการณ์ที่เกิดแสงสวา่ งสตี า่ ง ๆ บนทอ้ งฟ้า สว่ นใหญ่จะเกิด
ในประเทศแถบใกลข้ ัว้ แม่เหลก็ โลก

ลมสรุ ยิ ะท่ีมีความเร็วมากกวา่ 1,000 กิโลเมตรต่อวินาทจี ะเรยี กว่า พายสุ ุริยะ เกิดขน้ึ จาก
ปรากฎการณ์ลกุ จ้า และอาจมีการพ่นมวลคอโรนา (coronal mass ejection : CME) ร่วมด้วย โดย
จะปล่อยอนภุ าคความเร็วสูงจานวนมหาศาล อนภุ าคส่วนใหญ่ คือ โปรตอนซง่ึ จะเกิดข้ึนบ่อยคร้ังในช่วง
ท่มี จี ุดมืดดวงอาทิตย์มาก

ภาพท่ี 4 ทอ้ งฟ้าขณะเกดิ แสงเหนอื
ท่ีมา : https://www.thaiticketmajor.com/variety/travel/3792/

23

สาเหตุการเกดิ ของพายสุ ุริยะ จาแนกการเกิดได้เป็น 4 รูปแบบ ดงั น้ี
1.ลมสุริยะ (solar wind) เกดิ จากการขยายตัวของโคโรนาของดวงอาทิตย์ที่มีพลังงาน
ความร้อนทส่ี ูงขนึ้ เมือ่ ขยายตวั จนอนุภาคหลุดพ้นจากแรงดึงดดู ของดวงอาทิตย์และหนีออกจากดวง
อาทิตย์ไปทุกทิศทางจนครอบคลุมระบบสุรยิ ะ โดยปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นบริเวณขว้ั เหนอื และข้ัวใต้ของ
ดวงอาทติ ย์ทม่ี โี พรงโคโรนาขนาดใหญ่ ซ่ึงโพรงคอโรนาเป็นท่ีมลี มสรุ ิยะความเร็วสูงและรนุ แรงพัดออกมา
จากดวงอาทติ ย์ในบรเิ วณนน้ั ในขณะทล่ี มสุรยิ ะทเ่ี กิดขึน้ บรเิ วณแนวใกล้ศูนย์สตู รของดวงอาทิตยจ์ ะมี
ความเร็วตา่ ลมสรุ ิยะท่ีเกิดข้ึนจากการขยายตัวของโคโรนาในแนวศูนย์สูตรดวงอาทติ ย์น้ีมคี วามเรว็ เริ่ม
โดยเฉลี่ยประมาณ 450 กโิ ลเมตรต่อวนิ าที หลังจากนัน้ จะเร่งความเร็วจนถงึ ราว 800 กิโลเมตรต่อวินาที
เม่อื อนภุ าคมปี ริมาณและความเร็วรุนแรงกว่าปกตหิ ลายเท่า จะกลายเปน็ พายุสรุ ิยะ

ภาพท่ี 5 ลมสรุ ยิ ะ
ทมี่ า : https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7303-solar-storm

2. เปลวสรุ ิยะ (solar flare) เกิดจากการระเบิดอยา่ งรุนแรงท่ีเกิดขึ้นทช่ี น้ั โครโมสเฟยี ร์
และมักเกิดขนึ้ เหนือรอยตอ่ ระหว่างข้วั ของสนามแม่เหลก็ เช่น บริเวณก่ึงกลางของจดุ ดาแบบคู่หรอื
ท่ามกลางกระจุกของจดุ ดาที่มสี นามแมเ่ หล็กปั่นป่วนซับซ้อน ซ่ึงปลอ่ ยพลังงานในรปู ของแสงและคล่นื
แมเ่ หล็กไฟฟา้ แบบตา่ ง ๆ ออกมาอย่างรุนแรง

3. การปลดปล่อยก้อนมวลสารจากโคโรนา (Coronal mass ejection, CME) มัก
เกิดขนึ้ จากปรากฏการณอ์ ่ืนท่ีเกิดข้ึนระดับโคโรนาชัน้ ลา่ ง บ่อยครั้งท่ีพบวา่ เกิดขน้ึ รว่ มกับเปลวสุริยะและ
โพรมิเนนซ์ แต่บางคร้ังก็อาจเกดิ ขึ้นโดยไมม่ ีปรากฏการณ์สองอย่างนี้เลย นอกจากน้คี วามถ่ใี นการเกดิ ยงั
แปรผนั ตามวฏั จักรของดวงอาทติ ยอ์ ีกดว้ ย ในชว่ งใกลเ้ คยี งกับช่วงตา่ สดุ ของดวงอาทติ ย์อาจเกิดประมาณ
สัปดาห์ละครัง้ หากเป็นชว่ งใกล้กบั จดุ สงู สุดของดวงอาทิตย์ กอ็ าจเกดิ ขน้ึ บ่อยถึงประมาณสองหรือสาม
ครั้งต่อวัน

24

ภาพที่ 6 เปลวสรุ ิยะ
ทม่ี า : https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7303-solar-storm
4. อนภุ าคพลงั งานสูงจากดวงอาทติ ย์ (Geomagnetic storm) อาจเกิดขนึ้ ได้ 2 แบบ

4.1 เกดิ พร้อมกบั เปลวสุริยะ
4.2 เกดิ จากการที่การปลดปล่อยก้อนมวลสารจากโคโรนาความเร็วสงู พ่งุ แหวกไปใน
กระแสลมสรุ ิยะทาใหเ้ กิดคลืน่ กระแทก โดยอนภุ าคสรุ ยิ ะพลังงานสูงจะเกิดขน้ึ ในบรเิ วณคล่ืนกระแทกน้ี

ภาพท่ี 7 อนภุ าคพลงั งานสูงจากดวงอาทติ ย์
ทีม่ า : https://www.scimath.org/lesson-physics/item/7303-solar-storm

25

คาชแี้ จง

- ให้นกั เรยี นทากจิ กรรมท่ี 3 โครงสรา้ งและปรากฎการณ์
บนดวงอาทิตย์

26

จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายโครงสร้างและปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์ได้

วสั ดุ – อุปกรณ์
-

วิธีทา
1. ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กล่มุ กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. เขยี นแผนภาพโครงสร้างดวงอาทิตย์และอธบิ ายลักษณะสาคญั ของโครงสร้างส่วนตา่ ง ๆ

ของดวงอาทติ ยล์ งในตารางที่กาหนดให้
3. แต่ละกลมุ่ รว่ มกันสรปุ นาเสนอผลการทากจิ กรรม แล้วตอบคาถามหลงั กจิ กรรม

แผนภาพโครงสรา้ งดวงอาทิตย์ 27

แกน่

คอโรนา เขตการแผร่ งั สี
เขตพาความรอ้ น
โฟโตสเฟยี ร์ ลกั ษณะสาคัญ

โครโมสเฟยี ร์

ตารางโครงสรา้ งส่วนตา่ ง ๆ ของดวงอาทติ ย์
บริเวณ

ก. แกน่
ข. เขตการแผ่รังสี
ค. เขตพาความร้อน
ง. โฟโตสเฟียร์
ฉ. โครโมสเฟียร์
จ. คอโรนา

28

บนั ทกึ ผลการทากจิ กรรม

29

คาถามทา้ ยกจิ กรรม
1. ดวงอาทติ ย์มีโครงสร้างหลักกช่ี ้นั อะไรบ้าง
2. โครงสร้างภายในดวงอาทิตย์มีก่ีชั้น อะไรบา้ ง แตล่ ะชั้นแตกต่างกันอย่างไร
3. ช้นั บรรยากาศของดวงอาทติ ยม์ กี ช่ี ้นั อะไรบา้ ง แต่ละชัน้ แตกต่างกันอยา่ งไร
4. บรเิ วณใดของดวงอาทติ ย์ทเี่ ปน็ แหลง่ พลงั งาน และสร้างพลังงานได้อยา่ งไร
5. พลังงานความร้อนภายในดวงอาทติ ย์มีการถา่ ยโอนออกสูภ่ ายนอกได้อย่างไร และใช้เวลานานเท่าไร

30

คาชี้แจง

- ใหน้ กั เรียนทากิจกรรมท่ี 4 ผลของลมสรุ ิยะและพายุ
สุริยะทีม่ ตี ่อโลก

- ให้นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ท่ี 2 ผลของลมสรุ ิยะและพายุ
สุริยะท่ีมตี ่อโลก

31

จุดประสงค์การเรียนรู้

อธิบายผลของลมสรุ ยิ ะและพายุสรุ ิยะที่มีต่อโลก

วสั ดุ – อปุ กรณ์
-

วิธที า
1. ให้นักเรียนแบง่ กลุ่มออกเปน็ 6 กลุม่ กลุ่มละ 5 – 6 คน
2. ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศึกษา คน้ ควา้ สบื คน้ ข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ เชน่ ห้องสมดุ

อินเตอรเ์ น็ต เปน็ ต้น หวั ขอ้ ผลของลมสรุ ยิ ะและพายสุ รุ ิยะที่มีต่อโลก
3. วิเคราะหข์ ้อมูล และจดั กลุ่มของผลทเ่ี กิดจากลมสุริยะ และพายุสุริยะ โดยเขยี น

แผนผงั สรุปองค์ความรู้ โดยนาแผนผังมโนทัศน์ของสมาชิกกลมุ่ แตล่ ะคน มาสรปุ เป็นแผนผงั มโนทัศน์
ของกลมุ่

4. นาเสนอผลงานกลุ่มหน้าชั้นเรยี น 3 กลุ่ม (โดยจับฉลาก) นักเรยี นอีก 3 กลมุ่ ใหซ้ กั ถาม
แลว้ เสนอแนะเพมิ่ เติม ร่วมกันอภิปราย และปรบั ปรุงแก้ไขเพื่อให้ผลงานสมบรู ณ์

32

บนั ทกึ ผลการทากจิ กรรม

33

อนภุ าคความเรว็ สงู จากดวงอาทติ ย์อาจส่งผลกระทบต่อโครงสรา้ ง DNA ภายในร่างกายของ
สิ่งมชี ีวิต โดยอาจจะทาลายพันธะเคมีทาใหข้ ้อมลู ทางพนั ธุกรรมเปลย่ี นแปลงไป โดยโลกจะมีช้ัน
บรรยากาศและสนามแม่เหล็กโลกชว่ ยปกปองจากรงั สแี ละอนุภาคความเร็วสงู ตา่ ง ๆ จากอวกาศทเ่ี ป็นอัน
ตายต่อชวี ิตบนโลก ผลกระทบจากพายสุ ุริยะเม่ือมาถึงโลกจะรบกวนสนามแมเ่ หลก็ ของโลก ทาให
ระบบสื่อสารโดยวิทยุคลน่ื สัน้ ทั่วโลกและระบบส่งกาลังไฟฟ้าขดั ข้องในประเทศท่ีอยใู่ กลข้ ้ัวแมเ่ หล็กโลก
สายการบินจะยกเลกิ เทย่ี วบนิ ในช่วงเวลาทเี่ กดิ พายสุ รุ ยิ ะ วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ในดาวเทยี มทโ่ี คจรรอบโลก
อาจเสียหาย ซงึ่ ปอ้ งกนั ไดโ้ ดยการปรบั แนววางตวั ของดาวเทยี ม นักบนิ อวกาศที่ประจาการบนสถานี
อวกาศอาจได้รับอนั ตรายหากไม่เข้าไปอยูใ่ นบริเวณที่ปอ้ งกันไว้ นอกจากนีย้ ังทาใหเ้ กิดปรากฎการณแ์ สง
เหนอื ใต้ได้มากขึน้

พายสุ ุริยะเป็นปรากฏการณ์ท่ีเกดิ จากการท่ผี วิ ดวงอาทิตย์ระเบิดขน้ึ มา เรยี กว่า "การระเบดิ
ลุกจ้า" หรือเปลวสรุ ยิ ะ (solar flare) เพราะเมอื่ รวู้ ่าเปลวซ่งึ ทาใหอ้ นภุ าคประจุไฟฟา้ พงุ่ ออกมาจานวน
มหาศาล ประจุไฟฟ้าที่พงุ่ ออกมานป้ี กตจิ ะไม่ส่งผลโดยตรงตอ่ โลกและสิ่งมชี ีวิตบนโลก ในอดีตพายสุ ุริยะ
เคยสาแดงฤทธ์เิ ดชใหเ้ หน็ แล้วหลายครัง้ เชน่ ใน ค.ศ. 2402 พายุสรุ ยิ ะทาให้สายโทรเลขลดั วงจรจนทาให้
เกิดเพลิงไหมห้ ลายแห่งในยุโรปและอเมรกิ า ส่วนใน พ.ศ. 2532 พายุสรุ ยิ ะกเ็ คยทาใหห้ มอ้ แปลงของ
ไฟฟ้าระเบิดจนทาให้ไฟดบั ท่ัวทัง้ จงั หวดั ควิเบกของแคนาดาเป็นเวลานาน 9 ชัว่ โมง เพราะโลกถกู พายุ
สุริยะจากดวงอาทิตย์พัดกระหน่าอย่างรุนแรง นอกจากนี้ดาวเทียมและยานอวกาศที่อยใู่ นอวกาศก็อาจ
เสียหายจากพายุสรุ ยิ ะได้ ในอดีตเคยมีดาวเทยี มหลายดวงเสียหายจากเหตกุ ารณ์น้มี าแล้ว เนือ่ งจาก
ปจั จุบันชีวติ ประจาวันของผู้คนต้องพง่ึ พาเทคโนโลยอี วกาศมาก ทง้ั โทรศัพท์ โทรทัศน์ การกระจายเสียง
วิทยุ ระบบบอกพิกดั ฯลฯ ดังนัน้ หากมีพายสุ ุรยิ ะมาทาให้ดาวเทยี มเหลา่ นเ้ี สียหายไป ก็ย่อมสง่ ผล
กระทบต่อชีวิตประจาวันของผูค้ นอยา่ งแน่นอน

ความรนุ แรงของพายุสรุ ยิ ะ สามารถทาไดโ้ ดยตรวจสอบจดุ มืดดวงอาทิตย์ เน่ืองจากจุดดา
เกดิ จากความแปรปรวนของสนามแมเ่ หล็ก เม่ือมจี ุดมืดมากขึ้นกจ็ ะสง่ ผลให้อนุภาคกระแสไฟฟา้ เพ่ิมมาก
ข้ึนสง่ ผลให้เกดิ ความรนุ แรงเพิม่ มากขนึ้ ดงั น้ันจงึ สามารถสรุปได้ว่า ผลกระทบของพายุสุรยิ ะจะรนุ แรง
ข้ึนกบั 3 เหตุการณ์ต่อไปนี้

34

1. จดุ ดับบนดวงอาทติ ย์ (Sunspot) ซึง่ เป็นบรเิ วณผิวดวงอาทติ ยท์ ี่มีอุณหภมู ิต่ากวา่
บรเิ วณสว่ นอื่น และเปน็ บริเวณที่สนามแม่เหลก็ จากดวงอาทิตย์สามารถทะลุออกจากดวงอาทติ ย์ออกมาสู่
อวกาศภายนอกได้ ดงั นนั้ เม่ือเกดิ การระเบิดที่ผวิ ดวงอาทิตยใ์ นบรเิ วณน้ี กระแสอนภุ าคจะถูกผลักดนั
ออกมาตามแนวเสน้ แรงแม่เหล็กนีม้ าสโู่ ลก และเม่ือกระแสอนุภาคจากจุดดับพงุ่ ชนบรรยากาศเบื้องบน
ของโลก มนั จะปะทะอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่อยู่ในช้ันบรรยากาศของโลก (Ionosphere) การชนกัน
เช่นนจ้ี ะทาใหเ้ กิดกระแสประจซุ ึง่ มอี ิทธพิ ลมากมายต่อการสอื่ สารทางวทิ ยุ

2. สภาวะของอวกาศระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ปรวนแปร ในกรณมี ีพายสุ ุริยะทร่ี นุ แรง
คือ ชั้นบรรยากาศของโลกอาจจะไดร้ ับรงั สีเอกซ์มากกว่าปกติถึง 1,000 เท่า รังสเี อกซน์ ้ีจะทาให้
อเิ ล็กตรอนที่กาลังโคจรอยู่รอบอะตอมกระเด็นหลุดออกจากอะตอม และถ้าอิเล็กตรอนเหลา่ นช้ี นยาน
อวกาศ ยานอวกาศกจ็ ะมีความต่างศักยไ์ ฟฟ้าสงู ซงึ่ จะทาให้วงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ในยานเสีย และนัน่ ก็
หมายถงึ จดุ จบของนักบินอวกาศ

3. เกดิ ข้นึ เมอ่ื กลุม่ ก๊าซรอ้ นหลดุ ลอยมาถึงโลก ถือไดว้ า่ เปน็ เหตุการณ์ทีร่ นุ แรงท่สี ดุ เมื่อ
มันพงุ่ มาถึงโลก สนามแมเ่ หล็กในก๊าซร้อนนัน้ จะบิดเบนสนามแมเ่ หลก็ โลก ทาใหม้ ีกระแสไฟฟ้าไหลใน
ชนั้ บรรยากาศของโลกอย่างมากมาย กระแสไฟฟ้านี้ ะทาให้ชน้ั บรรยากาศของโลกมีอณุ หภมู ิสงู ข้นึ มนั
จงึ ขยายตวั ทาใหย้ านอวกาศทีเ่ คยโคจรอย่เู หนือบรรยากาศ ต้องเผชญิ แรงตา้ นของอากาศ ซงึ่ จะมีผลทา
ให้ยานมคี วามเร็วลดลงแล้วตกลงสูว่ งโคจรระดบั ตา่ และตกลงโลกเร็วกว่ากาหนด

ภาพท่ี 8 ผลกระทบทางสภาพอากาศในอวกาศ
ทมี่ า : https://www.bangkokbiznews.com/tech/862081

35

องค์การนาซา่ แห่งสหรัฐอเมริกา ระบุวา่ ทุก ๆ 11 ปี ขวั้ แม่เหล็กของดวงอาทติ ยจ์ ะกลบั หัว
กลบั หางจากเหนือเป็นใต้ เปน็ เหตุให้ "จุดดบั " บนผวิ ดวงอาทิตย์ออกฤทธเ์ิ ปลง่ พลงั งานมหาศาลออกมา
ในอวกาศในลกั ษณะคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ กอ่ ใหเ้ กิดรงั สตี า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ รงั สแี กมมา่ และรังสเี อ็กเรย์ ซง่ึ มีผล
ต่อโลกในสามระดับ คอื

1. ระดบั รนุ แรงท่ีสดุ (X-Class) ทาให้คล่ืนวิทยสุ ื่อสารลม้ เหลวทัง้ โลกเป็นเวลานาน อุปกรณ์
ตา่ ง ๆ ท่ีต้องใช้การตดิ ต่อผา่ นดาวเทยี มและระบบคอมพิวเตอร์จะเข้าสภู่ าวะ Blackout เรียกงา่ ย ๆ วา่
ระบบอเิ ล็กโทรนิคทงั้ หลายเป็นใบส้ น้ิ เชงิ วถิ ชี ีวิตโลก "ออนไลน์" คงตอ้ งทาใจกลบั ไปสู่ยุคไปรษณยี ์
จดหมายธรรมดา นักบินมือหน่งึ ทเี่ คยชินกับการนารอ่ งโดยระบบคอมพวิ เตอร์และจีพเี อส กค็ งตอ้ งหัน
กลับมาบงั คับเคร่ืองแบบ "ตาดู หูฟงั " ทา่ นท่นี ิยมทาธุรกรรมออนไลนค์ งต้องกลบั มาสู่ระบบสง่ ดรา๊ ฟทาง
ไปรษณีย์ ส่วนบรรดาผมู้ ีรสนิยมไฮโซชอบเลน่ 3G 4G 5G และ Facebook คงต้องระงับความอยากไว้
ช่ัวคราว

2. ระดบั ปานกลาง (m-class) เป็นอาการเดยี วกบั ขอ้ แรกแต่เกิดแบบชั่วคราว นกั
ออนไลน์ สื่ออีเล็กทรอนิกส์ ตอ้ งยตุ ิความทันสมัยช่ัวคราว

3. ระดับอ่อน (c-class) ไม่มีผลอะไรเลย

36

คาชี้แจง

- ใหน้ ักเรยี นทาใบงานที่ 1 – 3 เรอ่ื ง โครงสรา้ งและ
ปรากฎการณ์บนดวงอาทิตย์

37

คาชแี้ จง ให้นกั เรียนอธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทติ ยใ์ ห้สอดคล้องกบั แผนภาพที่กาหนดให้

ก.
ข.
ค.
ง.
จ.
ฉ.

38

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เกณฑ์การให้คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

ระดบั คะแนน รายการ
2 ตอบคาถามได้ถูกต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์
1 ตอบคาถามได้ถูกต้อง แต่ไม่สมบรู ณ์
0 ตอบคาถามไดไ้ มถ่ ูกต้องหรอื ไมต่ อบ

2. เกณฑก์ ารประเมนิ

ระดับคะแนน รายการ แปลความหมาย
9 - 12 ดี 3
5–8 2
0–4 พอใช้ 1
ปรบั ปรงุ

คะแนนเต็ม 11 คะแนน ได้คะแนน คะแนน

หมายเหตุ ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม (ต้องได้คะแนน 8 คะแนนขน้ึ ไป)

3. ผลการประเมนิ

 ผา่ น
 ไม่ผา่ น

ลงช่ือ ผู้ประเมนิ
(นายอดลุ ดือราแม)

39

คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนจบั คู่ข้อความกบั ตวั อักษรใหม้ คี วามสัมพนั ธก์ ัน

1. พบปรากฎการณ์แสงเหนือใต้ ก. คอโรนา

2. โครงสร้างภายในของดวงอาทติ ย์ ข. ลมสรุ ยิ ะ

3. เกดิ ข้นึ เม่ือเกดิ การลุกจ้าบนดวงอาทติ ย์ ค. 5,800 เคลวิน

4. โลกของเราไดร้ ับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ง. ชั้นโฟโตสเฟียร์

5. บริเวณของดวงอาทติ ยท์ ่ีมีอุณหภูมสิ งู ที่สดุ จ. แกน่ ดวงอาทติ ย์

6. อณุ หภูมพิ ืน้ ผวิ ของดวงอาทติ ยโ์ ดยประมาณ ฉ. แถบขว้ั โลกเหนือและขั้วโลกใต้

7. ชนั้ บรรยากาศท่อี ยู่บรเิ วณนอกสุดของดวงอาทติ ย์ ช. พลังงานแสงและพลังงานความ

8. กระบวนการถา่ ยโอนความรอ้ นภายในดวงอาทิตย์ ร้อน

9. นอกจากแสงแลว้ ยังมีส่งิ ท่ีดวงอาทิตยป์ ลดปล่อย ซ. การแผ่รังสีความร้อน และการ

มายงั โลก พาความร้อน

10. ชน้ั บรรยากาศทส่ี ามารถมองเห็นได้เมื่อมองผ่าน ฌ. พลงั งานความร้อน และ

แผน่ กรองแสงสรุ ิยะ อนุภาคโปรตอน

ญ. แก่น เขตการแผร่ งั สี และ

เขตการพาความร้อน

40

เกณฑ์การให้คะแนน

1. เกณฑ์การให้คะแนน (ข้อละ 1 คะแนน)

ระดับคะแนน รายการ

1 จับค่คู วามสมั พันธ์ไดถ้ ูกต้อง

0 จบั คู่ความสัมพนั ธไ์ ด้ไมถ่ ูกต้องหรอื ไมต่ อบ

2. เกณฑก์ ารประเมิน

ระดบั คะแนน รายการ แปลความหมาย
8 - 10 ดี 3
6–7 2
0–5 พอใช้ 1
ปรบั ปรุง

คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้คะแนน คะแนน

หมายเหตุ ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม (ต้องได้คะแนน 8 คะแนนข้นึ ไป)

3. ผลการประเมนิ

 ผ่าน
 ไมผ่ า่ น

ลงชอ่ื ผ้ปู ระเมิน
(นายอดลุ ดอื ราแม)

41

คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นตอบคาถามให้ถูกต้อง
1. จดุ มืดของดวงอาทิตย์เกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร
2. พายุสุรยิ ะเกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร
3. ปรากฎการณ์แสงเหนือ แสงใต้ เกิดข้ึนได้อย่างไร
4. ลมสุรยิ ะเหมอื นหรือแตกตา่ งจากลมบนโลกอยา่ งไร ถ้าลมสุรยิ ะเข้าส่ชู นั้ บรรยากาศโลกใน
ปรมิ าณมากจะสง่ ผลต่อโลกอย่างไรบ้าง
5. ประเทศไทยมโี อกาสไดร้ ับผลกระทบจากลมสรุ ยิ ะ และพายุสุรยิ ะหรือไม่ เพราะเหตุใด

42

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

1. เกณฑ์การให้คะแนน (ข้อละ 2 คะแนน)

ระดับคะแนน รายการ
2 ตอบคาถามและอธิบายได้ถูกต้อง และครบถว้ น
1 ตอบคาถามไดถ้ ูกต้องอธบิ ายไมถ่ กู ต้อง หรือไม่ครบถ้วน
0 ตอบคาถามได้ไม่ถูกตอ้ งหรอื ไมต่ อบ

2. เกณฑ์การประเมิน

ระดบั คะแนน รายการ แปลความหมาย
8 - 10 ดี 3
4–7 2
0–3 พอใช้ 1
ปรบั ปรุง

คะแนนเต็ม 20 คะแนน ได้คะแนน คะแนน

หมายเหตุ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 80 ของคะแนนเตม็ (ต้องได้คะแนน 10 คะแนนขึน้ ไป)

3. ผลการประเมิน

 ผา่ น
 ไมผ่ า่ น

ลงชือ่ ผู้ประเมนิ
(นายอดลุ ดือราแม)

43

คาช้ีแจง

- ใหน้ กั เรยี นทากจิ กรรมที่ 5 ผลกระทบจากลมสรุ ยิ ะและ
พายสุ ุรยิ ะท่ีมตี ่อโลก

- ทาแบบทดสอบหลังเรียน

44

จุดประสงค์การเรยี นรู้
สืบคน้ ข้อมลู อธิบาย และยกตวั อย่างเก่ยี วกบั อิทธพิ ลของดวงอาทิตย์ที่ส่งกระทบต่อโลก

วสั ดุ – อปุ กรณ์
-

วิธีทา
1. ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอภาพขา่ วเก่ยี วกบั ผลกระทบท่ีเกิดขึ้นจากลมสุรยิ ะและพายุ

สรุ ยิ ะท่ีมีต่อสิง่ มีชวี ติ บนโลก
2. นาเสนอผลงานกลุ่มหน้าชน้ั เรยี น 3 กลุ่ม (โดยจบั ฉลาก) นกั เรยี นอกี 3 กลุม่ ให้ซักถาม

แลว้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ร่วมกันอภปิ ราย และปรับปรงุ แก้ไขเพื่อใหผ้ ลงานสมบูรณ์