ใบ งานที่ 3.4 แนวทางการเลือกรับวัฒนธรรมสากล

หนังสือเสรมิ ประสบการณ์

วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมสากล

(THAI CULTURE AND GLOBAL CULTURE)

วชิ าสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ส 23101) ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3

อาจารย์ชยพร พันทอง
กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

คานา

หนังสือเล่มนี้มุ่งให้ความรูเ้ ก่ียวกับวัฒนธรรมไทย และ
วัฒนธรรมสากล ซ่ึงอยู่ในเนื้อหาของวิชาสังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 สาระการเรยี นรทู้ ี่ 2 หน้าที่
พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ซ่ึงตรงกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 ตามตัวชว้ี ดั
ส 2.1 ม.3/3 อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรม
สากลท่ีเหมาะสม โดยอาจารย์ผู้จัดทาหวังว่าหนังสือเสริม
ประสบการณ์เล่มน้ีจะทาให้นักเรยี นได้เพิ่มพูนความรู้ และเสรมิ
ประสบการณ์ของนักเรยี นเอง

อาจารย์ชยพร พันทอง
กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรยี นสาธติ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ประสานมติ ร (ฝ่ายมธั ยม)

จุดประสงค์การเรยี นรู้
ในการใช้หนังสือเสรมิ ประสบการณ์

วฒั นธรรมไทย

1. นักเรียนสามารถอธิบายความสาคญั ของวัฒนธรรมไทยได้ (K)
2. นักเรียนสามารถจาแนกวฒั นธรรมไทยตามภูมิภาคต่าง ๆ

ของไทยได้ (K)
3. นักเรยี นเสนอแนวทางการอนุรกั ษแ์ ละมสี ว่ นร่วมในการ

อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยในชวี ิตประจาวันได้ (P)
4. นักเรยี นเห็นความสาคัญของวัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทยใน

ปจั จุบนั (A)

วฒั นธรรสากล

1. นักเรียนสามารถวเิ คราะหอ์ ิทธิพลของวฒั นธรรมสากล
ท่มี ผี ลต่อการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คมไทยได้ (K)

2. นักเรยี นสามารถยกตวั อย่างวัฒนธรรมสากลทีใ่ ช้
ในชีวติ ประจาวนั ได้ (K)

3. นกั เรยี นสามารถเสนอแนวทางการเลอื กรับวฒั นธรรมสากล
อยา่ งเหมาะสมได้ (P)

4. นักเรยี นเหน็ ความสาคญั ของการศกึ ษาและเลือกรบั
วัฒนธรรมสากลท่ีเหมาะสมได้ (A)

คาแนะนา
การใชห้ นังสือเสรมิ ประสบการณ์

คาแนะนาสาหรบั ครู

1. หนงั สือเสริมประสบการณน์ เี้ ป็นหนงั สอื ให้นักเรียนศึกษาด้วยตนเอง
2. ครคู วรแจ้งจดุ ประสงคใ์ นการใชห้ นงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ใหน้ กั เรยี นทราบ
3. ครูควรอธิบายวิธีการศึกษาโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ให้นักเรียนเข้าใจ

ก่อนใหน้ กั เรียนศกึ ษาหนังสือเสรมิ ประสบการณ์
4. การให้นักเรียนศึกษาหนังสือเสริมประสบการณ์ ครูทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาคอย

ใหค้ าแนะนาชว่ ยเหลือเมื่อนักเรียนเกิดปญั หา
5. ครูควรเน้นย้าให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ในการเรียนผ่านหนังสือเสริม

ประสบการณ์ โดยไมด่ ูคาเฉลยกอ่ นตอบคาถาม

คาแนะนาสาหรบั นกั เรียน

1. หนังสือเสริมประสบการณ์นี้เปน็ หนงั สือท่นี กั เรียนต้องศึกษาดว้ ยตนเอง
2. หนังสือเสริมประสบการณ์น้ีประกอบด้วยเน้ือหา และกิจกรรมชวนคิด โดยให้

นักเรยี นศกึ ษาเนื้อหาไปทีละหัวข้อตามลาดับ ไมค่ วรศกึ ษาขา้ มเน้อื หา
3. สาหรับกิจกรรมชวนคิดท่ีมีคาถาม ให้นักเรียนตอบคาถามให้เรียบร้อยก่อน

จากน้ันให้ดูคาเฉลยท้ายเล่ม ว่าคาตอบของนักเรียนถูกต้องหรือไม่ บาง
กิจกรรมชวนคิดเป็นคาถามให้แสดงความคิดเห็น และยกตัวอย่าง ซ่ึงไม่มี
คาตอบที่ถกู หรือผิด มีเพียงแนวคาตอบเท่านั้น ซึง่ นักเรียนสามารถสอบถามครู
เพื่อแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ระหวา่ งครูและนกั เรียนได้
4. นักเรียนควรซ่ือสตั ยต์ อ่ ตนเอง ไมด่ ูคาเฉลยก่อนตอบคาถาม
5. ขอให้นักเรียนศึกษาเน้ือหาในหนังสือเสริมประสบการณ์ด้วยความต้ังใจ ไม่ต้อง
รีบร้อนหรอื กังวลว่าจะทาเสรจ็ เร็วหรอื ช้ากว่าเพือ่ น

สารบญั หน้า

เรอ่ื ง 1

แบบทดสอบกอ่ นเรียน 3
วฒั นธรรมไทย 4
5
1. วัฒนธรรม (Culture) 5
2. ความหมายของวัฒนธรรม 7
3. ความสาคัญของวัฒนธรรมไทย 8
4. ลักษณะของวฒั นธรรมไทย 10
5. ท่ีมาของวัฒนธรรมไทย 19
6. ประเภทของวัฒนธรรม 20
7. การจาแนกวัฒนธรรมไทย
8. การเปลยี่ นแปลงทางวัฒนธรรม 25
9. การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทย 25
วัฒนธรรมสากล 26
1. ความสาคัญของวัฒนธรรมสากล
2. การกาเนิดวัฒนธรรมสากล 28
3. อทิ ธพิ ลของวฒั นธรรมสากล
29
ท่มี ีตอ่ การดาเนินชวี ติ ในสงั คมไทย 30
4. ความแตกตา่ งระหว่างวฒั นธรรมไทย 31

กับวัฒนธรรมสากล
5. วิธีการเลอื กรับวัฒนธรรมสากล

แบบทดสอบหลังเรยี น
เฉลย

"...ประเพณีทงั้ หลายยอ่ มมีประโยชน์ใน
การดาเนนิ ชวี ิตของแต่ละคนเรามี
ประเพณีของชาติไทยเป็นสมบัติ
เราควรจะยินดี อยา่ งยิ่งและชว่ ยกัน
สง่ เสริม รกั ษาไว้ เพ่อื ความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ของประเทศ...“

ความตอนหนง่ึ ในพระบรมราโชวาท
ในพิธีพะราชทานปริญญาบัตรของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

ณ หอประชมุ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
วนั ที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๐๓

แบบทดสอบก่อนเรยี น

คาช้แี จง : ให้นักเรยี นเลอื กคาตอบท่ีถูกตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. “การใชเ้ ครอื่ งทอผา้ ในการทอผ้าไหมของชาวไทยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทาให้มีผลิตภัณฑส์ ินค้าจากผ้าไหมไปจาหน่ายทั้งในประเทศและนอกประเทศ” ขอ้ ความดังกลา่ ว
สอดคลอ้ งกบั ความสาคัญของวัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทยในข้อใดมากท่สี ุด

ก. แสดงจุดเด่นของอาชีพทอผ้าไหม
ข. สะท้อนวิถกี ารดารงชีพ และสร้างรายได้
ค. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งธรรมชาตกิ ับอาชพี
ง. ภูมปิ ญั ญาไทยเปน็ พ้นื ฐานสาคญั ของการค้าขาย
2. การดาเนนิ ชีวิตตามวฒั นธรรมไทยส่งผลดมี ากทีส่ ดุ ในข้อใด
ก. เป็นพ้นื ฐานในการประกอบอาชพี
ข. การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ เป็นไปอย่างตอ่ เนื่อง
ค. สมาชกิ ในสังคมมีความเป็นอยู่อย่างพอเพยี ง
ง. คนในสังคมไทยมลี กั ษณะคล้ายคลงึ กนั มีความผกู พันกัน
3. ผใู้ ดปฏบิ ตั ิตนตามวฒั นธรรมประจาชาตไิ ทย
ก. แพรวและชาวบา้ นไปทาพธิ แี ห่นางแมวขอฝน
ข. กลุ่มแมบ่ ้านร่วมมือกันทากระทงไปลอยในแมน่ ้า
ค. ประชาชนทวั่ ประเทศพากนั ไปชมประเพณไี หลเรือไฟ
ง. กลา้ และเพือ่ นพากันไปรว่ มพธิ เี วยี นเทียนในวันวิสาขบชู า
4. บุคคลในข้อใด ที่มีการกระทาที่แสดงถึงการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยระดับชาติ
ก. เดอื นชอบรามโนราห์
ข. ฝนราเซิ้งไดส้ วยกวา่ เพื่อน
ค. เก๋แตง่ ผ้าไหมมดั หมีข่ องชาวอีสาน
ง. ดาวพดู คาควบกลา้ ในภาษาไทยชดั เจน
5. วันสาคัญในขอ้ ใด ที่เก่ียวข้องกับพระมหากษตั รยิ ์
ก. วันจักรี วนั ฉัตรมงคล
ข. วนั จกั รี วันสงกรานต์
ค. วันสงกรานต์ วันพชื มงคล
ง. วนั วสิ าขบูชา วันครอบครัว

1

แบบทดสอบก่อนเรยี น (ต่อ)

6. ขอ้ ความใดแสดงถงึ ความสาคัญของภมู ิปญั ญาของคนไทย
ก. อาหารไทยมีมากมายหลายชนดิ
ข. อาหารไทยมลี ักษณะรสเผ็ด รสจดั
ค. อาหารไทยมสี มุนไพรเปน็ ส่วนผสมหลายชนิด
ง. คนไทยยคุ ปจั จุบันเริ่มนยิ มรับประทานอาหารไทย

7. นักเรียนจะอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยอย่างเหมาะสมได้หลายประการ ยกเว้นข้อใด
ก. ใชแ้ กว้ นา้ ลายไทย
ข. ยกย่องปราชญท์ อ้ งถิน่
ค. ใช้ภาชนะเครอ่ื งปัน้ ดนิ เผาใสอ่ าหาร
ง. ร้องเพลงไทยผสมกบั เพลงตะวนั ตก

8. “กานดาไปศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาจีนเพ่ิมเติม เพื่อนามาเป็นพ้ืนฐานในการประกอบ
อาชีพมัคคุเทศก์ แต่เธอก็พูดภาษาไทยได้ชัดเจน” ข้อความดังกล่าวแสดงถึงการเลือกรับ
วัฒนธรรมสากลในข้อใด

ก. ด้านการศกึ ษาและความรู้
ข. ดา้ นองคค์ วามรแู้ ละดา้ นภาษา
ค. ด้านแนวคดิ ทฤษฎี ความรู้ และหลกั การ
ง. ด้านการประกอบอาชีพ และด้านความสัมพนั ธ์
9. ขอ้ ใดจดั เปน็ การพฒั นาวฒั นธรรมไทยผสมผสานกับวฒั นธรรมสากลได้อย่างเหมาะสม
ก. พระบรมมหาราชวัง
ข. พระทนี่ ง่ั อนันตสมาคม
ค. วัดพระศรรี ัตนศาสดาราม
ง. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
10. “ปัจจุบันคนท่ัวโลกสามารถติดต่อสัมพันธ์กันได้อย่างรวดเร็วด้วยระบบข้อมูลสารสนเทศ”
จากข้อความดงั กลา่ วเปน็ การเลอื กรับวฒั นธรรมสากลอย่างไร
ก. การเลอื กรบั วฒั นธรรมสากลท่จี าเป็นตอ่ การดาเนินชวี ิต
ข. การเลอื กรบั ในสว่ นทแ่ี สดงถงึ การพฒั นาวัฒนธรรมของประเทศในยุโรป
ค. การเลือกรับในด้านการศกึ ษาแนวคดิ ทส่ี าคญั และระบบเทคโนโลยี
ง. การเลือกรับวฒั นธรรมสากลในส่วนทแ่ี สดงถงึ การรว่ มมือกันของมนุษย์

2

วัฒนธรรมไทย (Thai Culture)

กิจกรรมชวนคดิ ท่ี 1

ให้นกั เรียนลองนยิ ามคาวา่ “วัฒนธรรม” ตามความเขา้ ใจเดมิ ของนกั เรียน

1. วฒั นธรรม (Culture)

คาว่า “วัฒนธรรม” เป็นคาที่เกิดขึ้นในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี โดย
คาเดิมภาษาอังกฤษ คือ “Culture” มีรากศัพท์มาจากคาว่า “Cultura” ในภาษาละติน แปลว่า
“การเพาะปลูก” หรือ “การปลูกฝัง” นอกจากนี้คาว่า “วัฒนธรรม” เป็นคาสมาสระหว่างภาษาบาลี
กบั สันสกฤต ดังน้ี

“วัฒน” “ธรรม” “วัฒนธรรม”

(มาจากภาษาบาลี) (มาจากภาษาสนั สกฤต) แปลวา่ สภาพทแี่ สดง
แปลว่า เจริญ, งอกงาม แปลวา่ ความดี, กฎ ความเจริญงอกงาม

3

2. ความหมายของวัฒนธรรม

พระยาอนมุ านราชธน กลา่ วว่า วัฒนธรรม
คือ สิ่งที่มนุษย์เปล่ียนแปลงปรับปรุงหรือผลติ สร้าง
ขึ้น เพื่อความเจริญงอกงามในวิถีแห่งชีวิตส่วนรวม
วัฒนธรรมคือวิถีแห่งชีวิตมนุษย์ในส่วนรวมท่ี
ถ่ายทอดกันได้ เรียนกันได้ เอาอย่างกนั ได้

ศาสตราจารย์ ดร.ประสาท หลักศิลา ได้
ให้ความหมายว่า วัฒนธรรมหมายถึงทุกส่ิงทุก
อย่างท่ีมนุษย์นามาใช้ในการปรับตัวให้เข้ากับ
สภาพแวดล้อมและเพ่ือปรับปรุงวิถีการดาเนินชีวิต
ของคน

ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช กลา่ วว่าวัฒนธรรม
นั้นเปน็ สิ่งผูกพัน ใกล้ชิดกับอารยธรรม ความเจริญ
ในทางจิตใจและในทางวัตถุ ที่จะเลือกเฟ้นและ
ตัดสินว่า สิ่งใดเป็นความประพฤติที่ควรประพฤติ
สิง่ ใดทค่ี วรเวน้

ศาสตราจารย์ ดร.เฉลียว บุรีภักดี ให้
ความหมายวัฒนธรรม ว่าวิถีชีวิตทุกด้านของทั้ง
มวลในสังคม รวมถึงวิธีการทาส่ิงต่าง ๆ ตลอดจน
วิธีแสวงหาความสุขทางใจและหลักเกณฑ์การ
ดาเนินชีวิต ท้ังเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ที่นามาใช้
เพือ่ อานวยความสะดวกของชีวิต

กระทรวงวัฒนธรรม กล่าวว่าวัฒนธรรม
คือ วิถีชีวิตของมนุษย์ท่ีเกิดจากความสัมพันธ์
ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับธรรมชาติ
มนุษย์กับสังคม ท่ีเป็นระบบความคิด โครงสร้าง
สถาบัน ตลอดจนแบบแผนท่ีมนษุ ย์สร้างขน้ึ

4

3. ความสาคัญของวฒั นธรรมไทย 3.4 เปน็ องค์ความรทู้ มี่ ีคณุ คา่ ของสังคม

3.1 ประโยชน์ต่อการดารงชวี ิต ภูมิปัญญาของไทยน้ันท่ีเกิดจากการสั่งสม
วัฒนธรรมทางวัตถุที่คนไทยสร้างข้ึน เพื่อ
ประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีได้จากการดาเนินชีวิต
สนองความต้องการ หรืออานวยความสะดวก
ยง่ิ ขน้ึ เชน่ เคร่อื งมือจับปลา, เครอื่ งสขี า้ ว ฯลฯ ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ พิจารณา เกิด
3.2 หลอ่ หลอมบคุ ลิกภาพให้กบั สมาชกิ ของสังคม
เป็นองค์ความรู้ เช่น การนวดแผนไทย ยา
เช่น การมีน้าใจ มีความอ่อนน้อมถ่อมตน รัก
สงบ ประกอบอาชีพสุจริต มีคติเตือนใจท่ีว่า ซ่ือ สมุนไพร เป็นสิ่งช่วยให้สังคมไทยพัฒนาไปได้
กนิ ไม่หมดคดกนิ ไม่นาน รักความยุติธรรม ฯลฯ
3.3 ชว่ ยสร้างเสรมิ ความเป็นปกึ แผน่ อย่างย่งั ยืน การสร้างเรอื นไทยใต้ถนุ สงู

การดาเนินชีวิตตามวัฒนธรรมไทย ส่งผลให้ เปน็ วัฒนธรรมทางวตั ถุ
คนในสังคมมีลักษณะคล้ายคลึงกัน มีความเป็น
อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั เช่น กจิ กรรมทางศาสนา, การ ท่สี รา้ งข้นึ ตามปัจจยั ทางด้าน
เคารพพระมหากษตั รยิ ์, การใช้ภาษาไทย เป็นตน้
ภมู ิศาสตร์ของประเทศไทย
4. ลกั ษณะของวฒั นธรรมไทย

แสดงถงึ ความเจรญิ แสดงถึงความเป็น แสดงถึงความสามัคคี แสดงถงึ ศลี ธรรมอนั ดี
และความกา้ วหน้า งามของประชาชนที่
งอกงามในทางวตั ถุ ระเบียบเรียบร้อย
ของชาติ สง่ ผลต่อผูอ้ น่ื
และจิตใจ ในการปฏิบัตติ น

5

กจิ กรรมชวนคิดท่ี 2

ใหน้ ักเรยี นดภู าพ จากนั้นวเิ คราะห์ความสาคญั ของวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทยลงในชอ่ งว่าง

การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

การมนี า้ ใจช่วยเหลอื กัน
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

ยาสมุนไพร
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

เครื่องป้ันดนิ เผา
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

การนวดแผนไทย
...................................................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................

6

5. ทีม่ าของวัฒนธรรมไทย

1. ส่ิงแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เน่ืองจากสังคมไทยมีลักษณะที่ราบลุ่มและ
อดุ มสมบูรณ์ดว้ ยแมน่ ้าลาคลอง ทาใหว้ ัฒนธรรมตอ้ งปรบั ตัวตามธรรมชาติ
เช่น วันเพ็ญเดือน 12 เป็นช่วงท่ีน้าหลากจากภาคเหนือ คนไทยจึงทา
กระทงไปลอยในแม่นา้ เปน็ ต้น

2. ระบบการเกษตรกรรม ในสังคมไทยมีประชากรร้อยละ 80 ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม และมีความผูกพัน กับระบบเกษตรกรรม จึงกลายเป็น
ที่ท่ีมาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน, ประเพณีลง
แขก, การละเล่นเตน้ การาเคยี ว ฯลฯ

3. ค่านิยม มีความเก่ียวพันกับวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และค่านิยม
บางอย่างได้กลายมาเป็น “แกน” ของวัฒนธรรมไทย กล่าวคือ วิถีชีวิต
ของคนไทย โดยส่วนร่วมมเี อกลกั ษณ์ซ่งึ แสดงออกถงึ อิสรภาพและเสรีภาพ

4. การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมในแต่ละพื้นที่บนโลกมีความ
แตกต่างกัน ทั้งน้ีวัฒนธรรมจึงมีการเผยแพร่ออกไปยังพ้ืนท่ีต่าง ๆ ผ่าน
พ่อค้า หมอสอนศาสนา หรือผู้อพยพ โดยวัฒนธรรมท่ีถูกเผยแพร่มาใน
สังคมไทย ได้แก่ วฒั นธรรมตะวันตก และวฒั นธรรมตะวันออก

กิจกรรมชวนคดิ ที่ 3

คำช้ีแจง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมำย ✓ ลงในช่องของวัฒนธรรมว่ำประเทศไทยได้รับกำรเผยแพร่
วัฒนธรรมมำจำกท่ใี ด

วัฒนธรรม อนิ เดีย จนี ตะวันตก

1. การกาหนดปดี ้วยรูปสตั ว์ต่าง ๆ

2. โรงพิมพห์ นงั สอื

3. กางเกงแพร กางเกงขากว๊ ย

4. การปกครองระบอบประชาธิปไตย

5. คายืมภาษาบาลี/สนั สกฤต

7

6. ประเภทของวัฒนธรรม (ตามประกาศตง้ั กระทรวงวฒั นธรรม)

6.1 คติธรรม คือ วัฒนธรรมทางศีลธรรมและ 6.4 สหธรรม คือ วัฒนธรรมทางสังคม เป็น
จิตใจ อันเป็นคติหรือหลักการดาเนินชีวิตที่ส่วน วัฒนธรรมในการตดิ ต่อเก่ียวขอ้ งกับความสัมพันธ์
ใหญ่รับมาจากหลักธรรมทางศาสนา และหลักคา หรือมารยาทในสังคมหรือสมาชิกพึงปฏิบัติต่อกัน
สอนต่าง ๆ เช่น ในโอกาสตา่ ง ๆ เชน่

สานวนสภุ าษติ สอนใจ ความกตัญญกู ตเวที มารยาทบนโตะ๊ อาหาร การไหว้เมือ่ เจอผูใ้ หญ่
6.2 วตั ถุธรรม คอื วฒั นธรรมทางวัตถุ หมายถงึ
วัตถุทางศิลปกรรม รวมถึงเครื่องอุปโภคทั้งหลาย วเิ คราะหค์ าขวญั จังหวดั
ซ่ึงถือว่าเป็นวัตถุทั้งสิ้น โดยคนในสังคมร่วมกัน
ประดิษฐ์ข้ึนมาเพื่ออานวยความสะดวกในการ ให้นักเรียนลองวิเคราะห์คาขวัญจังหวัดต่าง ๆ
ดารงชีวิต เชน่ ว่ามีวัฒนธรรมประเภทใดบ้างท่ีปรากฏอยู่ใน
คาขวญั (กิจกรรมหน้าถดั ไป) ตวั อย่างเช่น
เจดีย์ / สถปู อปุ กรณ์ดกั จบั สัตว์น้า
6.3 เนตธิ รรม คือ วัฒนธรรมทางกฎหมายหรือ คาขวัญจังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
ขนบธรรมเนยี มจารีตประเพณีทม่ี ีความสาคัญ เช่น เมอื งรอ้ ยเกาะ เงาะอรอ่ ย
หอยใหญ่ ไขแ่ ดง
กฎหมาย กฎระเบียบของโรงเรียน แหล่งธรรมะ

วิเคราะห์: เมืองร้อยเกาะ ไม่จัดเป็นวัฒนธรรม
เพราะเป็นส่ิงท่ีธรรมชาติสร้างขึ้น, เงาะอร่อย ไม่
จัดเป็นวัฒนธรรม เพราะไม่เกิดแบบแผนการ
ดาเนินชีวิต, หอยใหญ่ ไม่จัดเป็นวัฒนธรรม
เพราะเป็นสัตว์น้า, ไข่แดง มาจากไข่เค็มไชยา
จัดเป็นวัตถุธรรม ที่คนสร้างขึ้นเพ่ือประกอบ
อาชีพ และแหล่งธรรมะ จัดเป็นวัฒนธรรมวัตถุ
คือ สวนโมกขพลาราม ทเ่ี ป็นแหล่งยึดเหน่ียวทาง
จิตใจของชาวสุราษฎรธ์ านี

8

กิจกรรมชวนคิดที่ 4 : คาขวญั จังหวัดสะท้อนวัฒนธรรม

คาชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกจังหวัดในประเทศไทย 1 จังหวัด (ยกเว้น กรุงเทพฯ) และ
วิเคราะห์คาขวัญจังหวัดท่ีเลือกว่ามีวัฒนธรรมประเภทใดบ้างท่ีปรากฏอยู่ในคาขวัญ ดัง
ตัวอย่างหน้าที่แล้ว

- จังหวดั ทนี่ กั เรียนเลอื ก คือ..................................................................................................
- คาขวัญจงั หวัด
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
- การวิเคราะหค์ าขวัญจงั หวดั กับวัฒนธรรม
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................

9

7. การจาแนกวัฒนธรรมไทย

7.1 วัฒนธรรมประจาชาติ หมายถึง วัฒนธรรมที่รัฐบาลกาหนดและ
ประกาศให้คนไทยในชาติประพฤติและปฏิบัติร่วมกันทุกหมู่เหล่า แม้จะมี
บางอย่างที่รับวฒั นธรรมจากภายนอกเขา้ มาก็ตาม แต่ก็ได้ผ่านกระบวนการ
เลือกสรรและประยุกต์ให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทางสงั คม
และค่านิยม จนตกผลึกเป็นแก่นของสังคมไทย วัฒนธรรมของชาติ
ซึ่งมีลักษณะสาคัญที่เป็นเอกลกั ษณ์ ดงั น้ี

กิจกรรมชวนคิดที่ 5

นักเรียนคิดว่าวัฒนธรรมประจาชาติในยุคปัจจุบันมีมากกว่านี้หรือไม่ ลอง
ยกตัวอย่าง 1 ขอ้ และอธบิ ายเหตผุ ลของวัฒนธรรมประจาชาตทิ ี่นกั เรียนเลอื ก

10

7. การจาแนกวฒั นธรรมไทย (ต่อ)

7.2 วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาพน้ื บา้ น หมายถงึ วัฒนธรรมของประชาชนตามทอ้ งถนิ่ และภูมิภาคตา่ ง ๆ
ท่ีชนแต่ละกลุม่ ได้สร้างขึ้นและใช้เป็นแนวทางประพฤติปฏิบตั ิในกลุม่ ของตน นอกจากน้ีวัฒนธรรมยังเป็น
เคร่ืองมือในการแก้ปัญหา และตอบสนองความต้องการวัฒนธรรมท้ัง 4 ภาค ท่ีสะท้อนถึงวิถชี ีวิตของคน
ไทยในแตล่ ะท้องถ่ินทมี่ ีเอกลกั ษณเ์ ฉพาะตวั ของสงั คมพ้นื บ้าน ดงั น้ี

เป็นวัฒนธรรมท่ีมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว โดยเฉพาะวัฒนธรรมของชาว
ล้านนาที่ยังคงยึดม่ันในขนบธรรมเนียมประเพณีของพระพุทธศาสนา ท่ี
แสดงออกถึงมติ รไมตรี และความเอือ้ เฟอ้ื เผ่ือแผต่ ่อกัน มีการสบื ทอดเป็น
ระยะเวลาอันยาวนาน จึงถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสาคัญย่ิงที่คนใน
ท้องถน่ิ ภาคเหนือยงั คงรักษาไว้จนถงึ ปัจจุบนั

วฒั นธรรมด้านอาหาร

ขนั โตก แกงฮงั เล ไสอ้ ่วั

ประเพณีสาคัญ ได้แก่ ประเพณีเลี้ยงข้าวแลงขันโตก ซึ่งเป็นประเพณีของชาวล้านนาในการ
แบ่งปันอาหารใส่กระติบเล็ก ๆ แจกจ่ายไปตามโตกต่าง ๆ โดยมีข้าวน่ึงเป็นหลัก และอาหารเหนือ
อีกหลายอย่าง เช่น แกงฮังเล แกแค ไส้อั่ว น้าพริกอ่อง น้าพริกหนุ่ม แคบหมู และของหวาน เช่น
ขนมปาด ขา้ วแต๋น ฯลฯ

11

วฒั นธรรมด้านศาสนาและความเชอ่ื

การทาบุญทอดผ่าป่าแถว ในคืนวันลอย
กระทง โดยชาวบ้านจะนาองค์ผ้าป่าไปไว้
ลานวัด และจัดเป็นแนวเป็นระเบียบ และ
นาไปพาดบนก่งิ ไม้

งานทาบุญตานก๋วยสลาก ทาในช่วงวันลอย
กระทง โดยก๋วยสลาก สานจากไม้ไผ่เป็นรูป
ทรงกระบอก (ชะลอม) จากน้ันก็จะมีการสุ่ม
แจกสลากใหก้ ับพระแต่ละรูป

งานประเพณีสืบชะตา หรอื การตอ่ อายุได้รับ
อิทธิพลจากพระพุทธศาสนา กระทาข้ึนเพ่ือ
ยืดชีวิตดว้ ยการทาพิธีเพ่ือให้เกิดพลังรอดพ้น
ความตายได้ หรือทาในยามเจ็บปว่ ย

งานประเพณีบวชลูกแก้ว เพื่อทาการ
บรรพชาเป็นสามเณรในพระพทุ ธศาสนา โดย
จะพบเห็นการจัดปอยส่างลองกันมากที่
จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน

งานประเพณีอุ้มพระดาน้า ของชาว
เพชรบูรณ์ โดยนาพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง
ของเพชรบูรณ์ ลงดาน้าในแม่น้าป่าสัก ด้วย
ความเชื่อท่ีว่า เป็นพิธีกรรมศักด์ิสิทธิ์ อันจะ
นาความสขุ ความสงบรม่ เย็น มาส่เู มอื ง

งานประเพณีเลี้ยงผีปู่ย่า หมายถึง ผีประจา
ตระกูล หรือท่ีเรียกกันว่า ผีบรรพบุรุษ ท่ี
ล่วงลับไปแล้ว พวกลูกหลานก็จะมีห้ิงวาง
เครือ่ งบชู า เชน่ พานดอกไม้ รปู เทียน เป็นต้น

12

โดยภาคกลางส่วนใหญ่เป็นวัฒนธรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองกับพระพุทธศาสนา
เช่นเดียวกับวัฒนธรรมท้องถิ่นภาคเหนือ แต่มีลักษณะที่แตกต่างกัน
ออกไปบ้าง เน่ืองจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สภาพสังคม และ
ค่านิยมในทอ้ งถ่นิ ทแี่ ตกต่างกนั

วฒั นธรรมดา้ นศาสนาและความเช่ือ

ประเพณีรับบัว เป็นประเพณีของชาวอาเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ โดยจัดงานทุกวันขึ้น 14 ค่า เดือน 11 ของทุก
ปี เกิดข้นึ เพราะความมนี า้ ใจทีด่ ีต่อกนั ระหวา่ งคนในทอ้ งถิ่นกับ
คนมอญพระประแดงซึ่งทานาอยู่ที่ตาบลบางแก้ว ในช่วงออก
พรรรษาจะกลับไปทาบุญที่อาเภอพระประแดง ได้เก็บดอกบัว
เพ่ือบชู าพระหรอื ถวายแด่พระสงฆ์และฝากเพือ่ นบ้าน

การบูชารอยพระพุทธบาท ของจังหวัดสระบุรี โดยภายในงาน
นอกจากจะเปิดให้ประชาชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศได้
นมัสการรอยพระพุทธบาทแล้ว ทางวัดยังเปิดโอกาสให้ ผู้ท่ีไป
ร่วมงาน ได้เข้าชมวัตถุโบราณล้าค่าที่ทางวัดเก็บรักษาไว้ ใน
พิพิธภัณฑสถานพระพุทธบาทซ่ึงปกติทางวัดไม่ได้เปิดให้
บุคคลภายนอกเข้าชม

วฒั นธรรมดา้ นการดารงชวี ติ ทางการเกษตร วัฒนธรรมดา้ นการรักษาพน้ื บา้ น

การทาขวัญข้าว เปน็ การสร้างขวัญและกาลังใจ การรวบรวมตารับยาพ้ืนบ้านในจังหวัดชลบุรี โดย
ให้กับชาวนา และเม่ือมีการเก่ียวข้าวก็จะมา สัมภาษณ์จากแพทย์แผนโบราณ และค้นคว้าจาก
ช่วยกันเก่ียวข้าว เป็นการสร้างความสมัครสมาน บันทึกต่าง ๆ พบว่ามีตารายาไทยแผนโบราณ
สามัคคี และที่สุดคือการร่วมสนุกสนานเม่ือทุกคน 318 ขนาน
เหนื่อยยาก และประสบความสาเรจ็ ด้วยดี
13

วัฒนธรรมด้านประเพณีอ่นื ๆ

ประเพณกี ารท้งิ กระจาด ประเพณีแห่เจา้ พอ่ เจ้าแมป่ ากนา้ โพ
จังหวดั สุพรรณบุรี จังหวดั นครสวรรค์

ประเพณตี กั บาตรเทโว ประเพณีตักบาตรนา้ ผึง้
จงั หวัดอุทัยธานี จังหวัดฉะเชิงเทรา

ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย ประเพณีกวนข้าวทิพย์หรอื ข้าวมธุปายาส
จังหวดั ฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก

14

ชนพนื้ เมอื งถ่ินอีสานดารงชีวติ อยา่ งเรียบง่าย มโี ครงสรา้ งทางสังคมและ
วัฒนธรรมเปน็ เอกลกั ษณ์บนพน้ื ฐานประวัตศิ าสตรอ์ นั ยาวนาน
วัฒนธรรมต่าง ๆ ของภาคอีสานเป็นการนาแนวความคิด ความศรัทธา
และความเช่ือท่ีส่งั สมและสบื ทอดเปน็ มรดกต่อกันมา

วัฒนธรรมดา้ นอาหาร

ลาบ แกงอ่อม กอ้ ย

ชาวอีสานนิยมบริโภคพืชผักพ้ืนบ้านที่เพาะปลูกเอง และหาได้จากธรรมชาติตามฤดูกาล โดย
พืชผักที่นิยมมาปรุงอาหาร เช่น ผักขะแยง ผักหวานป่า ใบย่านาง เป็นต้น และวิธีการปรุงอาหาร
พบว่ามีวิธีการปรุงโดยนาผักมารวมกับเน้ือสัตว์ แล้วทาให้สุก เช่น น่ึง ต้ม ย่าง และเรียกอาหารท่ี
ประกอบแล้วได้หลากหลาย อาทิ แกงอ่อม หมก ยา สา่ คั่ว หลน ซบุ ลาบ กอ้ ย แจ่ว ฯลฯ

วฒั นธรรมด้านศาสนาและความเชอ่ื

ประเพณีบุญบัง้ ไฟ ประเพณีผีตาโขน ประเพณบี ญุ พระเวส
เปน็ ประเพณที ่ชี าวอีสานจะขอ เป็นเทศกาลทีไ่ ด้รับอิทธิพลมาจาก คืองานมหากศุ ล ใหร้ าลกึ ถึงการ
ฝนโดยการบูชาพญาแถนที่อยู่ มหาเวสสนั ดรชาดก ทบ่ี รรดาสตั ว์ บาเพ็ญบญุ นอกจากนี้ยังมคี า
ปา่ รวมถึงภตู ิผีที่อาศัยอยู่ในปา่ น้ัน กลา่ วทวี่ ่า “กนิ ขา้ วปุ้น เอาบญุ
บนสวรรคใ์ นช่วงทีช่ าวนา ได้ออกมาส่งพระเวสสันดร และ
จะเตรียมไถนา ผะเหวด ฟงั เทศน์มหาชาติ”
พระนางมัทรีด้วยความอาลยั

15

วฒั นธรรมดา้ นการดารงชวี ติ ทางการเกษตร

เป็นการทาบุญเพื่อรับขวัญข้าว เม่ือถึงเดือนมกราคม ของทุกปี หลังจากเก็บเก่ียวข้าวเสร็จ
ชาวบ้านจะขนเอามัดรวงข้าวที่เก่ียวเสร็จแล้วนั้นไปกองรวมกันไว้ที่ลานเก็บข้าวด้วยมีความเช่ือว่า
ข้าวนั้นเป็นพืชเลี้ยงชีวิตที่มีเทพารักษา เทพองค์นั้นมีนามว่า “แม่โพสพ” ซึ่งเป็นขวัญข้าวที่เล้ียง
มนุษย์มา การทาบุญมีพระสวดมนตเ์ ย็น ฉนั เช้าเพอ่ื เป็นสิริมงคลแก่ขา้ วเปลือก เม่ือพระฉันเช้าแล้ว
กท็ าพธิ สี ูข่ วญั ข้าว และผูกขอ้ ต่อแขนกนั ในหมชู่ าวบ้านผู้ร่วมพธิ ี

ภาคใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนาน เป็นแหล่งรับอารย
ธรรมจากพระพุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาอิสลาม
ซ่ึงได้หล่อหลอมเข้ากับความเช่ือดั้งเดิม ก่อให้เกิดการบูรณาการเป็น
วัฒนธรรมท้องถนิ่ ภาคใต้

วัฒนธรรมดา้ นอาหาร

คัว่ กลง้ิ แกงไตปลา สะตอผัดกงุ้

ภาคใต้มีการใช้ประโยชน์จากผักพื้นบ้าน เช่น กาลังควายถึก, ชะเมา, ผักหนาม, นนทรี,
สะตอ ฯลฯ และอาหารภาคใต้ส่วนใหญ่จะมีรสชาติเผ็ดร้อน และมีเอกลักษณ์เฉพาะ เช่น ค่ัวกลิ้ง,
แกงสม้ , ข้าวยานา้ บูดู ฯลฯ

16

วัฒนธรรมด้านศาสนาและความเชื่อ

ประเพณีลากพระ ภาคกลางเรียกประเพณี “ชักพระ” เป็น
ประเพณีที่เกิดขึ้นในเทศกาลออกพรรษา ภาคใต้น้ันมีแม่น้าลา
คลองมากและอย่ใู กล้ทะเล วถิ ีชวี ิตของชาวบา้ นจึงเก่ียวขอ้ งกับ
การใช้เรือ เมื่อมีเทศกาลออกพรรษามีเรื่องราวในพุทธประวัติ
มาเก่ียวข้อง จึงเป็นต้นเหตุให้เกิดประเพณีลากพระข้ึนตาม
แมน่ ้าลาคลอง และลากพระทางบกด้วย

ประเพณีสารทเดือนสิบ เปน็ ความเช่ือของพุทธศาสนิกชนชาว
นครศรีธรรมราช ท่ีลูกหลานและผู้ยังมีชีวิตอยู่จึงนาอาหารไป
ทาบญุ ท่ีวัด เพ่อื อุทศิ ส่วนกุศลให้แก่ผทู้ ่ีลว่ งลับไปแล้ว ที่อาจจะ
ทาความช่ัวจนเกิดเป็นเปรต จงึ มีพธิ ีที่เรียกว่า “ชิงเปรต” ดว้ ย
รวมถึงเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที

ประเพณีแหผ่ ้าข้ึนพระธาตุ เป็นประเพณีท่ีนาผ้าผืนยาวขึน้ ไป
ห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ในวันสาคัญทางศาสนา ชาว
นครศรีธรรมราชได้ร่วมมือร่วมใจกันบริจาคเงินตามกาลัง
ศรัทธานาเงินทไี่ ด้ไปซอื้ ผา้ มาเย็บตอ่ กันเปน็ แถวยาวนบั พันหลา
แล้วจัดเป็นขบวนแห่ผ้าข้ึนหม่ พระบรมธาตุเจดยี ์

วัฒนธรรมด้านศลิ ปะ

มโนราห์ เปน็ เป็นช่อื ศลิ ปะการแสดงพ้นื เมือง ลเิ กฮูลู เป็นการละเลน่ พนื้ บ้านของชาวมลายู
ภาคใต้ การรา่ ยราแตเ่ ดมิ แลว้ การราโนราจะ มุสลมิ ภาคใต้ของไทย ขนึ้ บทเปน็ เพลง
ประกอบดนตรแี ละจังหวะตบมอื
ราใหเ้ สมือนกบั ท่าร่ายราของเทวดา
17

กจิ กรรมชวนคดิ ที่ 6

ให้นักเรียนสืบคน้ ข้อมลู เกยี่ วกบั วัฒนธรรม หรอื ภมู ิปัญญาพน้ื บา้ นตามความสนใจ 1 ประเภท
พรอ้ มบันทึกข้อมูลลงในชอ่ งวา่ ง

รปู ภาพประกอบ ประวัติโดยยอ่
วฒั นธรรมหรอื ภูมปิ ญั ญาพนื้ บา้ น ................................................................................
................................................................................
ชอื่ วัฒนธรรมหรือภมู ปิ ญั ญาพน้ื บา้ น ................................................................................
............................................................... ................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................

คุณค่าและความสาคัญ

.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

แนวทางในการอนรุ กั ษ์และเผยแพร่

.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

ประโยชน์ท่ีได้รบั จากวัฒนธรรม หรือภมู ปิ ัญญาพื้นบา้ น

.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

18

8. การเปลี่ยนแปลงทางวฒั นธรรม

วฒั นธรรมย่อมมีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ สาเหตหุ ลกั มาจากมนุษย์ท่ีมีความตอ้ งการอยาก
ใหช้ วี ิตของตน ครอบครวั หรอื สงั คมดกี วา่ เดิม จะเหน็ ไดว้ ่า วัฒนธรรมกับสังคมตอ้ งไปด้วยกัน มีผล
เกี่ยวเนื่องกัน ซ่ึงวัฒนธรรมจะเน้นหนักในทางด้านวิถีชีวิต ความเช่ือ ขนบธรรมเนียมประเพณี ซ่ึง
สามารถแบง่ เป็นข้อย่อย ๆ ได้ ดงั น้ี

1 การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ ท่ีทาให้ชีวติ ของมนษุ ยเ์ ปลี่ยนแปลง เช่น แผ่นดินไหว, พายุ

2 การเปลี่ยนแปลงของมนุษย์ ที่ตอ้ งหาส่ิงตอบสนองความต้องการตา่ ง ๆ เพม่ิ ข้ึน

3 การเปลี่ยนแปลงสง่ิ แวดลอ้ มทางสงั คม เช่น ประขากรเพม่ิ , ขัดแยง้ ระหวา่ งชนชนั้

4 การเปลี่ยนแปลงหยบิ ยมื วฒั นธรรม ประเดน็ การคมนาคมติดตอ่ ถงึ กนั อยา่ งสะดวก

5 การเปลยี่ นแปลงพฒั นาการของความรู้ เช่น การนาความรู้ด้านเทคโนโลยีมาใช้

6 การเปล่ียนแปลงจากผ้มู ีอานาจ เช่น สมยั จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม ท่ปี รบั การแต่งกาย

7 การเปลี่ยนแปลงจากการมองเหน็ ประโยชนแ์ ละความจาเป็นของสิง่ น้ัน ๆ

ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม

ดา้ นบวก ทาใหม้ นษุ ยส์ ะดวกสบาย เช่น การประดษิ ฐเ์ ครอ่ื งมือเครื่องใช้ เพอ่ื ใช้งานแทน
ดา้ นลบ มนษุ ย์ และทาใหเ้ กิดการขยายตวั ทางด้านการผลิตสินคา้ และส่งิ ตา่ ง ๆ มากขึน้
เช่น สินค้าอุปโภคบริโภคที่เพียงพอแก่สมาชิกในสังคม นอกจากนี้ยังทาให้
มนษุ ย์แตล่ ะสังคมเกิดการเรยี นรู้ แลกเปลี่ยนวฒั นธรรมกนั ขึน้

ทาให้เกิดความล้มเหลวทางวัฒนธรรมได้ หากอัตราการเปล่ียนแปลงระหว่าง
วัฒนธรรมทางวัตถุกับวัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุเกิดขึ้น นอกจากนี้ยังทาให้เกิด
ความเป็นระเบียบทางสังคม เน่ืองจากคนบางส่วนอาจสามารถปรับตัวได้ทัน
ตอ่ การเปล่ียนแปลง

19

9. การอนรุ ักษ์วัฒนธรรมไทย

สังคมและวัฒนธรรมน้ันมีการเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยภายใน
และภายนอกท่ีเข้ามากระทบ ดังน้ัน วัฒนธรรมอาจเหมาะกับสภาพสังคมในยุคหน่ึง แต่อาจไม่
สอดคลอ้ งกับการดาเนินชวี ิตของคนในสงั คมอกี ยคุ หนงึ่

อย่างไรก็ตาม จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เพราะหากไม่มีการอนุรักษ์
แลว้ วฒั นธรรมของสังคมอ่นื กจ็ ะเข้ามาครอบงาได้ทนั ที

การร่วมมอื ในการอนุรกั ษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสามารถแบง่ ออกเป็นระดับได้ ดังน้ี

1. ระดับชาติ 2. ระดับทอ้ งถิ่น 3. ระดับบุคคล
กระทรวงวัฒนธรรม ควรส่งเสรมิ ประชาชนใหเ้ หน็ ทกุ คนต้องชว่ ยกนั ดูแล
ซง่ึ เปน็ องคก์ รของรฐั ทมี่ ี คณุ คา่ ของเอกลักษณไ์ ทย ถาวรวัตถตุ ่าง ๆ เช่น
นโยบายให้การสนับสนุน โบราณสถาน โบราณวตั ถุ
ส่งเสรมิ การอนุรกั ษ์ และสืบ ช่วยกนั คิดคน้ เผยแพร่ วัด เปน็ ตน้ ซึง่ ถอื เปน็ สมบตั ิ
สานวฒั นธรรมของชาติ และนาภูมิปญั ญาของทอ้ งถนิ่ ของชาติ ไม่ให้ถูกทาลาย
ออกมาใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์

20

กิจกรรมชวนคิดท่ี 7

ให้นักเรยี นบอกวธิ กี ารนาโซเชยี ลเนต็ เวริ ก์ ท่กี าหนดให้ มาประยกุ ต์ใช้เพือ่ การอนุรกั ษ์
และสบื สานวฒั นธรรมไทย

Facebook Youtube

....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................

Instagram Twitter

....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................
....................................................................... .......................................................................

21

กิจกรรมชวนคดิ ท่ี 8

นักเรยี นอ่านขอ้ ความทก่ี าหนดให้ แล้วทาเคร่ืองหมาย ✓ ระบรุ ะดับของการอนรุ กั ษว์ ัฒนธรรม
ไทยให้ถกู ต้อง

ขอ้ ความ ระดบั ระดบั ระดบั
บคุ คล ชมุ ชน ชาติ

1. สถาบันการศึกษาของประเทศไทย มีการสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี น

เห็นคณุ ค่าในวัฒนธรรมไทย

2. เด็กชายโอ๋พูดภาษาไทยชดั ถอ้ ยชดั คา และเขียนภาษาไทยได้
ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา

3. สมาชกิ ในชุมชนรว่ มกนั รณรงค์เพ่ือปลูกจิตสานึกใหค้ นท่ีอยู่ใน
ชมุ ชนร่วมกันสืบสานภมู ปิ ัญญาของท้องถ่นิ

4. กระทรวงวัฒนธรรมไดก้ าหนดนโยบายและแนวทางตา่ ง ๆ เพอื่
ชว่ ยส่งเสริมการอนรุ ักษภ์ มู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทย

5. รฐั บาลไทยท่มุ งบสนบั สนนุ การนาวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย
ออกไปเผยแพรส่ ู่ประเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลก

6. นางสาวสม้ พาเพอื่ นทเี่ ปน็ ชาวตา่ งชาติไปเทีย่ วชมการแสดง
ทางนาฏศลิ ปข์ องไทยเพื่อใหเ้ พ่ือนชาวต่างชาตไิ ด้รูจ้ กั เอกลักษณ์
ของชาติไทย

7. ชาวบ้านในชมุ ชนรว่ มกนั สรรหาบุคคลผู้อาวุโสที่ทรงภมู ิปญั ญา
เพ่อื ทาการยกย่องและขอความรู้ต่าง ๆ ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อชมุ ชน

8. นายสมชายไปเที่ยวโบราณสถานแห่งหนึง่ ในอยธุ ยาโดยไมไ่ ป
หยิบจบั โบราณวัตถุต่าง ๆ ใหเ้ กดิ ความเสยี หาย

9. คนในชุมชนร่วมกันระดมทนุ เพอื่ จดั สรา้ งพิพธิ ภัณฑป์ ระจา
ชุมชนที่จะแสดงถงึ ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมทีส่ าคัญประจาชมุ ชน

10. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ส่งเสรมิ การทาวจิ ยั เพื่อศกึ ษา
การทาเกษตรกรรมโดยใช้ภมู ิปญั ญาชาวบา้ นแบบดง้ั เดมิ

22

กิจกรรมชวนคิดท่ี 9

วฒั นธรรมไทย 4 ภาค

ใหน้ กั เรียนตอบวา่ ภาพท่ีกาหนดใหเ้ ปน็ วฒั นธรรมในภาคใดในประเทศไทย

คว่ั กล้งิ ปลารา้

ตานกว๋ ยสลาก เรือนปัน้ หยา

ฟ้อนเลบ็ ประเพณีว่งิ ควาย

ลเิ กฮูลู ไหลเรอื ไฟ

23

วัฒนธรรมสากล (Global Culture)

วัฒนธรรมสากลหรือวัฒนธรรมนานาชาติ หมายถึง วัฒนธรรมท่ีเป็นที่ยอมรับกันท่ัวไปอย่าง
กว้างขวาง หรือเป็นอารยธรรมที่ได้รับการปฏิบัติตามกันท่ัวโลก เช่น การแต่งกายชุดสากล, การใช้
ภาษาองั กฤษเป็นภาษากลางในการสือ่ สาร, การปกครองในระบอบประชาธิปไตย, การค้าเสรี, การใช้
เทคโนโลยี, ระบบการสอ่ื สารทท่ี นั สมัย เปน็ ตน้

คนบางส่วนมักเข้าใจว่า วัฒนธรรมสากลก็คือวัฒนธรรมตะวันตก เน่ืองจากมีวัฒนธรรม
ตะวันตกหลายอย่างที่เข้ามามีบทบาทจนกลายเปน็ สง่ิ ท่ีจาเป็นในชีวิตประจาวัน ในความเปน็ จริงแล้ว
วัฒนธรรมตะวันตกไม่ได้มีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมอื่นเสมอไป เพราะการรับเอาวัฒนธรรมตะวันตก
เข้ามาใช้จะต้องมีการผสมผสานและประยุกต์เข้ากับสภาพสังคมน้ัน ๆ วัฒนธรรมตะวันตกจึงเป็น
เพียงวัฒนธรรมจากภมู ภิ าคหน่ึงซึ่งอาจกลายเป็นวัฒนธรรมสากลได้

Hi กจิ กรรม
ชวนคดิ ที่ 10

ใหน้ ักเรียนสงั เกตว่าในภาพ
ดา้ นซา้ ยมอื วา่ มีสง่ิ ใดบ้างที่
เป็นวัฒนธรรมสากล ? และ
เขยี นลงในกรอบด้านลา่ ง

24

1. ความสาคัญของวัฒนธรรมสากล

ในยุคปัจจุบันโลกของเรามีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอย่าง
สงู เปน็ ยคุ แห่งโลกาภิวัตน์ทีม่ ีการติดตอ่ เชือ่ มโยงถงึ กันไดส้ ะดวกและรวดเร็ว เม่ือ
มกี ารตดิ ต่อสื่อสารกันมากขนึ้ ก็ยอ่ มส่งผลให้วฒั นธรรมมีการผสมผสานกันมากขนึ้
ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายกับต่างชาติมาตั้งแต่สมัยโบราณ และได้นา
วทิ ยาการของชาวต่างชาติมาปรับใช้ เชน่

โรงกษาปณส์ ิทธกิ าร การกอ่ สร้างทางรถไฟ อนสุ าวรีย์ประชาธิปไตย
(รัชกาลท่ี 4) (รชั กาลท่ี 5) (รชั กาลท่ี 8)
(การพฒั นาการ (สญั ลกั ษณ์
(ต้นกาเนดิ เหรียญ คมนาคม) ประชาธปิ ไตย)
กษาปณ)์

2. การกาเนดิ วฒั นธรรมสากล

2.1 การคน้ พบ 2.2 ประดษิ ฐกรรม
การค้นพบดินแดนใหม่ใน ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น ท า ง

ทวีปต่าง ๆ ของโลก ส่งผลให้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ผ ล ม า จ า ก
นักวิทยาศาสตร์นาความรู้ท่ีได้ ความรู้ท่ีนักปราชญ์รุ่นเก่าได้ส่ัง
ไปพิสูจน์และเปรียบเทียบกับสิ่ง สมกันเร่ือยมา และเป็นพ้ืนฐาน
ท่ีเกิดข้ึนในต่างถิ่นท่ีมีลักษณะ สาคัญในการคิดประดษิ ฐ์สิ่งของ
ท า ง ก า ย ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ เ ค รื่ อ ง ใ ช้ ส า ห รั บ ก า ร ด า เ นิ น
ส่งิ แวดล้อมก่อให้เกิดทฤษฎีใหม่ ชีวิตประจาวัน เช่น เครื่องบิน,
ๆ ที่เป็นปร ะโย ชน์ต่อมว ล เครื่องคอมพิวเตอร์, รถยนต์
มนุษยชาตมิ ากมาย ฯลฯ

25

3. อิทธิพลของวฒั นธรรมสากลทีม่ ีต่อการดาเนนิ ชวี ิตในสงั คมไทย

ในปัจจุบันวัฒนธรรมสากลได้เขา้ มามีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตประจาวันอย่างมาก เราจะเห็น
ได้ว่ามีวัฒนธรรมสากลจานวนมากอยู่รอบตัวเรา และจาเป็นต้องเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมสากลอย่าง
หลกี เล่ยี งไมไ่ ด้ จนกลายเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ในทุกๆ วัน วฒั นธรรมสากลไดแ้ ทรกซึมต่อการดาเนนิ ชวี ิต
ในด้านต่าง ๆ ดงั น้ี

3.1) วฒั นธรรมดา้ นทอ่ี ยูอ่ าศัย
ในอดีตการสร้างบ้านเรือนของคนไทยนั้นมีการออกแบบให้สอดคล้องกับลักษณะภูมิอากาศ ภูมิ

ประเทศ และการดารงชีวิต เช่น เมืองไทยเป็นเมืองร้อนจึงสร้างบ้านท่ีมีหลังคาสูงโปร่งเพื่อให้อากาศ
ถ่ายเทได้ดี แต่ในปัจจุบันการสร้างบ้านของคนไทยเปล่ียนไป โดยเฉพาะอย่างย่ิงในสังคมเมืองท่ีมี
โครงการบ้านจัดสรรจานวนมากซง่ึ ลว้ นแตส่ รา้ งบา้ นทีม่ ีรูปทรงตามแบบของชาตติ ะวนั ตกเปน็ ส่วนใหญ่

3.2) วัฒนธรรมด้านการแตง่ กาย
เป็นสิ่งท่ีมีอิทธิพลตอ่ สังคมไทยอย่างมาก เพราะเคร่ืองแต่งกายที่เราสวมใส่อยู่ทุกวันนี้ก็มักจะเป็น

เครื่องแต่งกายท่ีมีจุดกาเนิดจากต่างชาติทั้งส้ิน เช่น เส้ือยืดคอกลม เสื้อเช้ิต กระโปรง กางเกงยีน
รองเท้าผ้าใบ รองเทา้ สน้ สงู เป็นตน้ เหล่าน้ีไดก้ ลายมาเปน็ “แฟชน่ั ” ที่คนในสงั คมไทยยดึ ถอื

26

3.3) วฒั นธรรมด้านอาหาร
ในปัจจุบันสังคมไทยก็มีวัฒนธรรมด้านอาหารท่ีเปลย่ี นแปลงไป กล่าวคือ คนไทยนิยมท่ี

จะรับประทานอาหารนอกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นร้านอาหาร ภัตตาคาร เน่ืองจากสะดวกสบาย
มากกว่า รวมถึงประเภทของอาหารก็มีความนิยมรับประทานอาหารต่างชาติ เช่น
แฮมเบอรเ์ กอร์ พซิ ซ่า ซูชิ โซบะ เฝอ เป็นตน้

3.4) วฒั นธรรมด้านภาษา
ในยุคปัจจุบันที่มีลักษณะของโลกไร้พรมแดนการติดต่อส่ือสารระหว่างประเทศมี

ความสาคัญ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาจีนกลาง เป็นต้น แต่คนไทยก็ต้อง
อนุรกั ษภ์ าษาไทยให้คงอยูต่ ่อไป

3.5) วฒั นธรรมด้านแนวคดิ และองคค์ วามรู้
สังคมไทยจาเป็นต้องนาแนวคิด ทฤษฎี และองค์ความรู้ท่ีเป็นสากล มาใช้ในการ

พัฒนาประเทศ เช่น เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ การเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ
การศกึ ษา เป็นตน้

27

4. ความแตกต่างระหวา่ งวัฒนธรรมไทยกบั วัฒนธรรมสากล

สังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมี
เอกลักษณ์เฉพาะ ที่ต้ังอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม
หรือบรบิ ทของสังคมน้ัน ๆ แตว่ ฒั นธรรมของสงั คมทุกสังคมจะมีความ
คล้ายคลึงกัน มีวัฒนธรรมพ้ืนฐานที่เหมือนกัน แต่วัฒนธรรมแต่ละ
ประเภทจะมีความแตกต่างกัน ดังตัวอย่างเช่น ทุกสังคมจะมีภาษา
แต่ภาษาของแต่ละสังคมจะแตกต่างกัน บางสังคมใช้ภาษาไทย บาง
สังคมใช้ภาษาองั กฤษ และบางสังคมใช้ภาษาอาหรบั เปน็ ต้น

โดยวัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่
หลายประการด้วยกัน ดังนี้

วฒั นธรรมสากล วัฒนธรรมไทย

1. เน้นปรัชญาว่า “มนุษยเ์ ปน็ 1. เนน้ ปรัชญา “มนุษย์ควร
นายธรรมชาติ” ในการสนอง อยแู่ บบผสมกลมกลนื กับ
ความต้องการของมนุษย์ ธรรมชาติ”

2. มองโลกแบบทวินิยม 2. มองโลกเป็นองคร์ วม
แบ่งเป็น 2 ส่วนเสมอ เชน่ เนน้ ความสมดลุ สงบสุข
ขาว-ดา, ด-ี เลว

3. เน้นวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 3. พื้นฐานทางวทิ ยาศาสตร์

ทต่ี ้งั อยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่ และนาปจั จัยทสี่ ัมผสั ได้มาศึ

สามารถสัมผัสไดเ้ ทา่ นั้น การ่วมกบั ปัจจยั ทางจิตใจ

และตามความคิดความเชอื่

ของหลักธรรมทางศาสนา

กิจกรรมชวนคิดท่ี 11

นักเรียนคิดว่าวัฒนธรรมไทยมีทัศนคติต่อธรรมชาติแตกต่างจาก
วัฒนธรรมตะวันตกอยา่ งไร ? โดยตอบคาถามลงในกรอบด้านลา่ ง

28

5. วธิ ีการเลือกรับวัฒนธรรมสากล

ท่ามกลางกระแสโลกาภวิ ตั นแ์ หง่ โลกไร้พรมแดนท่ีคนทั่วโลกสามารถติดตอ่ สือ่ สารกันได้
อยา่ งสะดวก รวดเร็ว และล่วงรู้เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ท่ัวโลกได้ง่าย ผา่ นทางโทรศัพท์ อนิ เทอร์เน็ต และ
เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ซ่ึงปรากฏการณ์เช่นน้ีทาให้อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ หรือ
วัฒนธรรมสากลเข้ามาผสมผสานกับวัฒนธรรมไทยอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การเลือกรับวัฒนธรรม
สากลท่ีแพร่เขา้ มาอย่างมีวจิ ารณญาณจงึ เป็นสง่ิ สาคญั โดยอาจพิจารณาได้จากปัจจยั ดังนี้

กจิ กรรมชวนคดิ ที่ 12

ให้นักเรียนยกตัวอย่างวัฒนธรรมสากลท่ีนักเรียนใช้อยู่ในชีวิตประจาวัน และนักเรียนมีแนว
ทางการเลอื กรับวฒั นธรรมสากลอย่างไรบา้ ง ?

29

แบบทดสอบหลังเรยี น

คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบท่ถี ูกตอ้ งทส่ี ุดเพียงข้อเดยี ว

1. นกั เรยี นจะอนุรักษ์วฒั นธรรมไทยอย่างเหมาะสมไดห้ ลายประการ ยกเวน้ ข้อใด
ก. ใช้แกว้ น้าลายไทย
ข. ยกย่องปราชญท์ ้องถนิ่
ค. ใช้ภาชนะเครอื่ งปัน้ ดินเผาใสอ่ าหาร
ง. ร้องเพลงไทยผสมกับเพลงตะวนั ตก

2. “กานดาไปศึกษาภาษาอังกฤษและภาษาจีนเพ่ิมเติม เพ่ือนามาเป็นพื้นฐานในการประกอบ
อาชีพมัคคุเทศก์ แต่เธอก็พูดภาษาไทยได้ชัดเจน” ข้อความดังกล่าวแสดงถึงการเลือกรับ
วัฒนธรรมสากลในข้อใด

ก. ด้านการศึกษาและความรู้
ข. ดา้ นองคค์ วามรู้และดา้ นภาษา
ค. ดา้ นแนวคดิ ทฤษฎี ความรู้ และหลกั การ
3. การดาเนนิ ชีวติ ตามวัฒนธรรมไทยส่งผลดมี ากที่สุดในข้อใด
ก. เปน็ พืน้ ฐานในการประกอบอาชพี
ข. การพัฒนาคุณภาพชวี ติ เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่อื ง
ค. สมาชิกในสังคมมีความเปน็ อยอู่ ย่างพอเพียง
ง. คนในสังคมไทยมีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกันมคี วามผูกพนั กนั
ง. ด้านการประกอบอาชีพ และดา้ นความสัมพันธ์
4. ขอ้ ความใดแสดงถึงความสาคัญของภมู ิปญั ญาของคนไทย
ก. อาหารไทยมมี ากมายหลายชนิด
ข. อาหารไทยมลี ักษณะรสเผ็ด รสจดั
ค. อาหารไทยมสี มุนไพรเปน็ ส่วนผสมหลายชนิด
ง. คนไทยยคุ ปัจจุบนั เร่มิ นิยมรับประทานอาหารไทย
5. ผ้ใู ดปฏบิ ัติตนตามวฒั นธรรมประจาชาตไิ ทย
ก. แพรวและชาวบ้านไปทาพธิ ีแห่นางแมวขอฝน
ข. กลุม่ แม่บ้านรว่ มมอื กนั ทากระทงไปลอยในแมน่ า้
ค. ประชาชนทัว่ ประเทศพากนั ไปชมประเพณีไหลเรอื ไฟ
ง. กลา้ และเพื่อนพากนั ไปร่วมพธิ ีเวยี นเทียนในวันวิสาขบชู า

30

แบบทดสอบหลังเรยี น (ต่อ)

6. “ปัจจุบันคนท่ัวโลกสามารถติดต่อสมั พนั ธ์กนั ได้อย่างรวดเร็วด้วยระบบข้อมลู สารสนเทศ” จาก
ขอ้ ความดังกลา่ วเปน็ การเลอื กรบั วัฒนธรรมสากลอย่างไร

ก. การเลือกรับวัฒนธรรมสากลทจ่ี าเปน็ ต่อการดาเนินชีวติ
ข. การเลือกรับในส่วนทแ่ี สดงถงึ การพฒั นาวฒั นธรรมของประเทศในยโุ รป
ค. การเลือกรบั ในด้านการศกึ ษาแนวคดิ ทสี่ าคญั และระบบเทคโนโลยี
ง. การเลือกรับวัฒนธรรมสากลในสว่ นท่ีแสดงถึงการร่วมมือกันของมนษุ ย์
7. วนั สาคัญในข้อใด ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั พระมหากษัตริย์
ก. วนั จักรี วันฉตั รมงคล
ข. วนั จกั รี วนั สงกรานต์
ค. วันสงกรานต์ วันพืชมงคล
ง. วนั วสิ าขบชู า วนั ครอบครัว
8. “การใชเ้ ครอ่ื งทอผา้ ในการทอผ้าไหมของชาวไทยในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทาให้มีผลิตภัณฑ์สินค้าจากผ้าไหมไปจาหน่ายทั้งในประเทศและนอกประเทศ” ข้อความดังกลา่ ว
สอดคล้องกบั ความสาคัญของวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทยในขอ้ ใดมากทสี่ ุด
ก. แสดงจดุ เดน่ ของอาชีพทอผา้ ไหม
ข. สะทอ้ นวถิ ีการดารงชพี และสรา้ งรายได้
ค. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งธรรมชาติกับอาชีพ
ง. ภูมิปญั ญาไทยเปน็ พน้ื ฐานสาคัญของการค้าขาย
9. บคุ คลในข้อใด ท่มี ีการกระทาทแี่ สดงถึงการอนุรักษว์ ัฒนธรรมไทยระดบั ชาติ
ก. เดอื นชอบรามโนราห์
ข. ฝนราเซ้ิงไดส้ วยกวา่ เพือ่ น
ค. เก๋แต่งผ้าไหมมัดหมขี่ องชาวอสี าน
ง. ดาวพดู คาควบกล้าในภาษาไทยชัดเจน
10. ขอ้ ใดจัดเป็นการพฒั นาวัฒนธรรมไทยผสมผสานกบั วฒั นธรรมสากลได้อยา่ งเหมาะสม
ก. พระบรมมหาราชวัง
ข. พระท่ีนงั่ อนนั ตสมาคม
ค. วดั พระศรรี ัตนศาสดาราม
ง. วัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม

31

เฉลย

1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน้า 1-2
1. ข 2. ง 3. ง 4. ง 5. ก
6. ค 7. ง 8. ข 9. ข 10. ก

2. กจิ กรรมชวนคิดท่ี 1 หนา้ 3
แนวคาตอบ: วัฒนธรรม คือ ส่ิงท่ีมนุษย์สร้างข้ึนไม่ว่าจะเป็น ภาษา ภูมิปัญญา ประเพณี

รวมถึงวิทยาการต่าง ๆ ที่สร้างความเจริญให้แก่คนในสังคมนั้น ๆ และเป็นส่วนหนึ่งของการ
ดาเนินชีวิต สามารถเรียนรู้โดยการถา่ ยทอดจากรุ่นหน่ึงไปสู่อีกรุ่นหนึ่งได้ ไม่มีความคงท่ีสามารถ
เปล่ยี นแปลงไดต้ ลอดตามสภาพสงั คม

3. กจิ กรรมชวนคิดที่ 2 หน้า 6
แนวคาตอบ:

1. การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา : เป็นวัฒนธรรมไทยที่มีความสาคัญ เน่ืองจาก
พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาท่ีคนส่วนใหญ่นบั ถือ และเป็นที่ยึดเหนี่ยวจติ ใจ และเปน็ แนวทางใน
การปฏิบัติตนเพ่อื นาไปสู่หนทางแหง่ ความดีงาม

2. การมนี ้าใจชว่ ยเหลือกัน : เปน็ เอกลกั ษณ์โดดเดน่ อย่างหน่ึงของคนไทย ซง่ึ ทาหน้าที่
หล่อหลอมบคุ ลกิ ภาพใหส้ มาชกิ ของสังคมเป็นสมาชิกท่ีมีคณุ ค่าตอ่ สังคมโดยรวม

3. ยาสมนุ ไพร : เป็นภูมิปญั ญาไทยท่ีสืบทอดต่อมา เกิดเป็นองค์ความรู้ท่ีมีคุณค่าของ
สงั คมทีส่ ามารถนาไปพัฒนาต่อยอด เพอ่ื สร้างสิง่ ที่เป็นประโยชนแ์ ละมีคณุ ค่าต่อสังคมไทย

4. เครื่องป้ันดินเผา : เป็นวัฒนธรรมทางวัตถุท่ีคนไทยสร้างข้ึน มีประโยชน์ต่อการ
ดารงชวี ิต เพอ่ื ตอบบสนองความต้องการ และช่วยใหท้ าสง่ิ ตา่ ง ๆ ไดส้ ะดวกสบายย่งิ ขนึ้

5. การนวดแผนไทย : เป็นภูมิปัญญาไทยที่เกิดจากการส่ังสมประสบการณ์ต่าง ๆ ที่
ได้รับจากการดาเนินชีวิตผ่านกระบวนการคิดวิเคราห์ และพิจารณา จนเกิดเป็นองค์ความรู้
และสามารถนาไปใช้ เพ่ือเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี ได้

4. กิจกรรมชวนคิดที่ 3 หนา้ 7 4. ตะวนั ตก 5. อินเดีย
1. จนี 2. ตะวนั ตก 3. จนี

32

เฉลย (ต่อ)

5. กจิ กรรมชวนคิดท่ี 8 หน้า 22

ข้อความ ระดับ ระดับ ระดับ
บุคคล ชมุ ชน ชาติ
1. สถาบันการศกึ ษาของประเทศไทย มีการสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี น

เห็นคุณค่าในวฒั นธรรมไทย

2. เดก็ ชายโอพ๋ ดู ภาษาไทยชัดถ้อยชดั คา และเขยี นภาษาไทยได้ ✓
ถกู ต้องตามหลักภาษา

3. สมาชกิ ในชุมชนรว่ มกันรณรงคเ์ พือ่ ปลกู จติ สานกึ ใหค้ นที่อย่ใู น ✓
ชมุ ชนรว่ มกนั สืบสานภมู ปิ ัญญาของท้องถิน่

4. กระทรวงวฒั นธรรมได้กาหนดนโยบายและแนวทางตา่ ง ๆ เพ่อื ✓
ชว่ ยสง่ เสริมการอนุรกั ษ์ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทย

5. รฐั บาลไทยทุม่ งบสนบั สนุนการนาวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ✓
ออกไปเผยแพร่สู่ประเทศตา่ ง ๆ ท่วั โลก

6. นางสาวสม้ พาเพ่อื นท่เี ปน็ ชาวต่างชาติไปเท่ยี วชมการแสดง ✓
ทางนาฏศลิ ป์ของไทยเพือ่ ใหเ้ พอื่ นชาวต่างชาตไิ ดร้ ู้จกั เอกลกั ษณ์
ของชาตไิ ทย

7. ชาวบา้ นในชุมชนร่วมกนั สรรหาบคุ คลผ้อู าวุโสทที่ รงภมู ิปญั ญา ✓
เพ่ือทาการยกยอ่ งและขอความรู้ตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชน

8. นายสมชายไปเทยี่ วโบราณสถานแห่งหนง่ึ ในอยธุ ยาโดยไมไ่ ป ✓
หยิบจบั โบราณวัตถุต่าง ๆ ให้เกดิ ความเสียหาย

9. คนในชมุ ชนรว่ มกันระดมทนุ เพอื่ จัดสรา้ งพิพิธภณั ฑป์ ระจา ✓
ชมุ ชนท่ีจะแสดงถงึ ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมทส่ี าคญั ประจาชุมชน

10. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สง่ เสริมการทาวิจยั เพือ่ ศึกษา ✓
การทาเกษตรกรรมโดยใช้ภมู ปิ ัญญาชาวบา้ นแบบดัง้ เดมิ

33

เฉลย (ต่อ)

6. กิจกรรมชวนคดิ ที่ 9 วัฒนธรรมไทย 4 ภาค หนา้ 23

1. คัว่ กล้งิ : ภาคใต้ 2. ปลาร้า : ภาคอีสาน 3. ตานก๋วยสลาก : ภาคเหนือ

4. เรือนปั้นหยา : ภาคใต้ 5. ฟ้อนเลบ็ : ภาคเหนอื

6. ประเพณวี ่ิงควาย : ภาคกลาง (ชลบุรี อย่ภู าคตะวนั ออก แต่จัดรวมอยูใ่ นภาคกลาง)

7. ลิเกฮลู ู : ภาคใต้ 8. ประเพณไี หลเรอื ไฟ : ภาคอีสาน

7. กจิ กรรมชวนคดิ ท่ี 10 หนา้ 24
ภาษาองั กฤษ, สมาร์ทโฟน, คอมพวิ เตอร์, แตง่ กายชดุ สูท, แต่งกายตามแฟชัน ฯลฯ

8. กจิ กรรมชวนคิดท่ี 11 หน้า 28
แนวคาตอบ: วัฒนธรรมตะวันตกเน้นการเอาชนะหรือควบคุมธรรมชาติให้เป็นไปตาม

ความต้องการของมนุษย์ เช่น การสร้างหลอดไฟฟ้าเพื่อใช้ในยามค่าคืนแทนการใช้ตะเกียงซ่ึงไม่
สะดวกการสร้างรถยนต์แทนการเดินด้วยเท้าซึ่งใช้เวลานาน เป็นต้นในขณะท่ีวัฒนธรรมไทยซึ่ง
เป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรมตะวันออกมักเน้นที่ความกลมกลืนกับธรรมชาติ ดังจะเห็นได้ชัดเจน
จากแนวคิดของลัทธิเต๋า ศาสนาพราหมณ์ พระพุทธศาสนา ที่พูดถึงการเป็นหน่ึงเดียวกับ
ธรรมชาติ และทุกส่ิงทุกอย่างถูกลิขิตมาแล้วจากผลของการกระทา ส่ิงต่างๆ ที่เกิดขึ้นจึงเป็นกฎ
แห่งกรรม รวมถึงความเชื่อในอานาจเหนือธรรมชาติ จึงทาให้คนในวัฒนธรรมตะวันออกมี
แนวโน้มท่จี ะยอมรบั และอ่อนน้อมตอ่ ธรรมชาตมิ ากกวา่ ทา้ ทายหรือพยายามเอาชนะ

9. กจิ กรรมชวนคิดท่ี 12 หนา้ 29
แนวคาตอบ: โน้ตบุ้ก, โทรศัพท์มือถือ, โทรทัศน์, เคร่ืองปรับอากาศ, ภาษาอังกฤษ ฯลฯ

โดยมีแนวทางการเลือกรับ คือ เลือกวัฒนธรรมท่ีมีความจาเป็นในชีวิตประจาวัน และพิจารณา
คณุ และโทษของสง่ิ ทเี่ ลือกรับมาปรับใช้

10. แบบทดสอบหลงั เรียน หนา้ 30
1. ง 2. ข 3. ง 4. ค 5. ง
6. ก 7. ก 8. ข 9. ง 10. ข

34

ในโลกนี้มอี ะไรเป็นไทยแท้ ของไทยแน่นนั้ หรอื คือภาษา
ซึ่งผลิดอกออกผลแต่ต้นมา รวมเรียกว่าวรรณคดไี ทย
อนึ่งศิลป์งามเดน่ เป็นของชาติ เชน่ ปราสาทปรางคท์ องอันผอ่ งใส
อกี ดนตรีราร่ายลวดลายไทย อวดโลกไดไ้ ทยแทอ้ ย่างแน่นอน
และอยา่ ลืมจติ ใจแบบไทยแท้ เชอื่ พ่อแมฟ่ ังธรรมคาส่ังสอน
กาเนดิ ธรรมจรยิ าเปน็ อาภรณ์ ประชากรโลกเหน็ เราเปน็ ไทย
แล้วยังมปี ระเพณมี ีระเบยี บ ซ่งึ ไม่มีท่ีเปรยี บในชาตไิ หน
เป็นของรว่ มรวมไทยให้คงไทย นแ่ี หละประโยชนใ์ นประเพณี
ได้รูเ้ ช่นเห็นชดั สมบตั ชิ าติ เหลอื ประหลาดล้วนเห็นเปน็ ศักดิ์ศรี
ล้วนไทยแทไ้ ทยแนไ่ ทยเรามี สงิ่ เหล่านี้คือวฒั นธรรม

ประพนั ธโ์ ดย หม่อมหลวงป่นิ มาลากลุ