โครงงาน โคมไฟจากไม้ ไอ ติ ม pdf

            โครงงาน การประดิษฐ์ไม้ไอติมเป็นโครงงานที่คิดค้นเพื่อให้นักเรียนสามารถวางแผนและ

ออกแบบการทำไม้ไอศกรีมให้ได้ประโยชน์ สามารถบอกขั้นตอนการประดิษฐ์ไม้ไอติมสารพัด

ประโยชน์   นำเศษวัสดุเหลือใช้มาดัดแปลงให้เกิดประโยชน์      รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีความ

สามัคคีในหมู่คณะ เรียนรู้ตามความสนใจและเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน   โครงงานชิ้นนี้ จะเป็น

สื่อการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์ในการเรียนรู้ และสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้

โคมไฟจากไมไ้ อศกรมี ( Ice cream wood lamp ) คณะผ้จู ดั ทา นายณัฐพล ฆอ้ งคา ชั้น ม.5/7 เลขที่ 8 นายกติ ตชิ ยั จิตอารี ชนั้ ม.5/7 เลขที่ 27 นางสาวณัฐกานต์ บุญสม ชั้น ม.5/7 เลขที่ 32 นางสาวธนภรณ์ จิตอารี ช้ัน ม.5/7 เลขท่ี 34 นางสาวปยิ พร อมรรตั น์ ช้นั ม.5/7 เลขท่ี 37 ครทู ่ปี รกึ ษา ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบบั นี้เปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวัดนา่ น สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563

โคมไฟจากไม้ไอศกรมี ( Ice cream wood lamp ) คณะผู้จดั ทา เลขท่ี 8 นายณัฐพล ฆ้องคา ชัน้ ม.5/7 เลขที่ 27 นายกติ ติชยั จติ อารี ชัน้ ม.5/7 เลขท่ี 32 นางสาวณฐั กานต์ บญุ สม ชนั้ ม.5/7 เลขที่ 34 นางสาวธนภรณ์ จิตอารี ชั้น ม.5/7 เลขที่ 37 นางสาวปิยพร อมรรตั น์ ชน้ั ม.5/7 ครูที่ปรกึ ษา ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จังหวดั นา่ น สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

ก ช่อื เรื่อง : โคมไฟจากไมไ้ อศกรีม ผจู้ ดั ทา : นายณฐั พล ฆอ้ งคา นายกติ ตชิ ยั จติ อารี นางสาวณัฐกานต์ บญุ สม นางสาวธนภรณ์ จติ อารี นางสาวปิยพร อมรรัตน์ ทป่ี รึกษา :ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ ปีการศกึ ษา : 2563 บทคดั ยอ่ เรือ่ ง โคมไฟจากไม้ไอศกรมี มีจดุ มงุ่ หมาย เพ่ือใหผ้ ้คู นเหน็ ค่าของไม้ไอศกรมี ทเ่ี หลอื ใช้ นามาตกแต่ง เพ่มิ เติม เพื่อให้เกดิ ประโยชน์และคุณคา่ อีกท้งั ปญั หาขยะไมไ้ อศกรีมทีย่ ่อยสลายยากและเปน็ ปัญหาต่อระบบนิเวศ คณะผจู้ ดั ทาไดเ้ ล็งเหน็ ตอ่ ปัญหาดังกล่าว จึงหาทางลดปริมาณไม้ไอศกรีมและนามาสร้างประโยชน์ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ เพ่อื ทจี่ ะทาใหผ้ ู้ศึกษาต่อได้ความรแู้ ละสามารถนาไปสรา้ งรายได้ โครงงานท่ีคดิ ค้นเพื่อใหน้ ักเรียนสามารถวางแผน และออกแบบการทาไม้ไอศกรีมใหไ้ ด้ประโยชน์ สามารถบอกขนั้ ตอนการประดษิ ฐ์ไมไ้ อติมสารพดั ประโยชน์ นาเศษ วัสดุเหลือใช้มาดัดแปลงใหเ้ กิดประโยชน์รจู้ ักการทางานร่วมกับผอู้ ื่นและมีความสามัคคีในหมูค่ ณะ เรียนรตู้ าม ความสนใจและเกดิ ความภาคภมู ิใจในผลงานของตน โครงงานช้ินนี้ จะเป็นส่อื การเรยี นการสอนทเ่ี ป็นประโยชน์ ในการเรยี นรู้ และสามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวนั ได้

ข กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาค้นควา้ การทาโครงงานเรอ่ื ง โคมไฟจากไม้ไอศกรีม ประสบผลสาเรจ็ ตาม จดุ ประสงค์ทีก่ าหนดไวน้ ัน้ เนื่องจากไดร้ บั การสนบั สนุนจาก ครูดารงค์ คนั ธะเรศย์ ซึ่งใหค้ าแนะนา และคาปรึกษา และความชว่ ยเหลอื จากคณะครโู รงเรยี นปวั ทกุ ท่าน ที่พยายามกระต้นุ และสนบั สนุน คณะผจู้ ดั ทาโครงงานในทุกขนั้ ตอน จนทาใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคณุ พระบดิ า-มารดา ผู้ดแู ล และให้การศกึ ษาขอขอบคณุ ญาติ-พน่ี อ้ งและเพอ่ื นๆ ทุกๆคนทคี่ อยให้กาลังใจและคาปรกึ ษาที่ดตี ลอดมา คณะผ้จู ัดทาหวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่าโครงงานน้ีจะมีประโยชน์ต่อผทู้ สี่ นใจศกึ ษาหรอื ต้องการ สร้างรายได้ นายณัฐพล ฆอ้ งคา นายกติ ตชิ ยั จิตอารี นางสาวณฐั กานต์ บุญสม นางสาวธนภรณ์ จติ อารี นางสาวปิยพร อมรรัตน์

ค สารบัญ เรอื่ ง หนา้ บทคัดย่อ ก กิตตกิ รรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทนา 1 1.1 ความเปน็ มา 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบเขต 1.4 ประโยชน์ทไี่ ด้รบั บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4 2.1 ประวตั ไิ ม้ไอศกรีม 2.2 ประวัตหิ ลอดไฟ บทที่ 3 วธิ ดี าเนินงาน 7 3.1 วธิ กี ารดาเนนิ งาน 3.2 อุปกรณ์ทใ่ี ชท้ า บทที่ 4 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 10 4.1 แบบประเมนิ 4.2 การวิเคราะห์ขอ้ มลู พ้นื ฐานของผ้ตู อบแบบสอบถาม 4.3 การวเิ คราะห์เก่ียวกับความคิดเห็นของประชาชนต่อการทาโคมไฟจากไมไอศกรีม 4.4 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู พ้นื ฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 13 5.1 สรุปผล 5.2 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา บรรณานกุ รม ประวัตผิ ู้ศกึ ษา

บทท่ี 1 บทนา 1. ความเป็นมา แสงไฟหรอื ความสวา่ งนัน้ มคี วามจาเป็นต่อวถี ชี วี ิตของมนษุ ย์ ซง่ึ ปจั จบุ ันหลอดไฟ รปู ทรงต่างๆไดถ้ ูกประดิษฐ์หรอื ตกแต่ง ตามกระแสของโลกและเทคโนโลยี คณะผ้จู ัดทาจึงคน้ ควา้ การ ทาโคมไฟรปู แบบต่างๆ ทีส่ วยงามและราคาถูก เพ่ือตอบสนองความต้องการของผ้คู นทต่ี ้องการสนิ ค้า ทมี่ คี วามสวยงามและราคาสามารถจบั ต้องได้ คณะผ้จู ัดทาจงึ ปรกึ ษากนั ถึงวธิ แี ก้และได้ข้อตกลงว่าการ ประดิษฐห์ รอื ตกแต่งข้ึนเองน้ัน จะได้ผลงานท่ีไม่เหมอื นใคร และประหยัดราคา พบวา่ ในปจั จบุ นั เรา นน้ั ในสังคมไทยส่วนใหญ่เวลาตอ้ งการส่งิ ของสิ่งหนึง่ นัน้ เรากจ็ ะไปซ้อื ตามที่ต่างๆที่มีสงิ่ ของเหลา่ นนั้ แต่พบว่ามีราคาสงู มาก กลมุ่ ของขา้ พเจ้าเลยตง้ั โครงงานชน้ิ นี้ขน้ึ มาเพอ่ื คนทต่ี อ้ งการประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการซ้ือสงิ่ ของทต่ี ้องการ โดยกลุม่ ของขา้ พเจ้าน้ันจะประดิษฐส์ ิง่ ของที่อยู่ใกล้ตวั เรา เชน่ ประดษิ ฐ์สิ่งของจากไม้ไอศกรีมเพราะไม้ไอศกรมี สามารถนามาประดิษฐส์ ่ิงของได้หลายอย่าง กลมุ่ ข้าพเจา้ เลยต้องการที่จะทาท่ีผซู้ ้ือสง่ั หรือทาตามความคิดของคนในกลุ่ม แลว้ นามาจาหน่ายใหก้ ับคน ท่ตี อ้ งการประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ยบางส่วนลง ต้องการความทนทาน คุม้ ค่ามากท่สี ดุ และสามารถนาไปใช้ ชวี ิตประจาวนั มากท่สี ุด 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อใหไ้ ดใ้ ชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆ 2.2 เพ่ือลดคา่ ใชจ้ า่ ยราคาไม่สงู ประหยัดต่อผซู้ ื้อ 2.3 เพื่อสามารถใชง้ านได้นานกว่าอปุ กรณ์บางชนดิ 2.4 เพ่ือให้เกิดความร่วมมือในการทางานและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นของสมาชกิ ในกลุ่ม 3. ขอบเขต 3.1 สถานท่ี โรงเรยี นปัวและทบ่ี า้ นของนางสาวณฐั กานต์ บญุ สม 3.2 ระยะเวลา เรม่ิ ทาตงั้ แต่ 27สงิ หาคม 2563 ถึง 04 กนั ยายน 2563

4 3.3 ตวั แปร 3.1 ตวั แปรต้น คือ ไม้ไอศกรีม และหลอดไฟ LED 3.2 ตัวแปรตาม คอื วิธีการทาโคมไฟไม้ไอศกรมี 3.3 ตัวแปรควบคมุ คือ แสงสว่างของโคมไฟไม้ไอศกรมี 4. ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั 4.1 นาการศึกษาค้นคว้าครั้งนีไ้ ปสร้างรายได้ 4.2 ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ย 4.3 ฝึกการทางานรวมกันเป็นกลุม่ 4.4 ฝึกการแก้ปญั หาระหว่างการทางาน

5 บทท่ี 2 ทฤษฎที เ่ี กี่ยวข้อง ในการศึกษาเร่อื ง โคมไฟจากไม้ไอศกรีม ผู้จัดทาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่างๆ จากเอกสารที่เกีย่ วข้องดงั ต่อไปนี้ ในปัจจุบันเมืองไทยเป็นประเทศท่ีอยู่ในทวีปเอเชียท่ีอยู่ในเขตเมืองร้อน แต่ไม่ถึง กลับร้อนมากอยู่ในระดับปานกลาง คนไทยส่วนใหญ่ชอบรับประทานอาหารว่าง เช่น ขนมกรุบกรอบ น้าหวานต่างๆ และแน่นอนดังท่ีกล่าวมานั้นว่าประเทศไทยอยู่ในเขตเมืองร้อน อาหารที่คนชอบ รับประทานประเภทของว่างท่ีนิยมหลักๆ ก็คือไอศกรีม เพราะไอศกรีมเป็นอาหารว่างที่คลายร้อนได้ และสว่ นใหญ่ในชว่ งหน้าร้อน หรืออากาศรอ้ นจะไดร้ ับความนยิ มเป็นอยา่ งมากคือไอศกรีม ดังทีก่ ลา่ วมาไอศกรมี เปน็ อาหารว่างของคนในสังคมเพราะอยู่ในเขตเมืองร้อนแต่ส่ิง หนง่ึ ที่คนลืมนกึ และไม่สนใจกับสิง่ ทตี่ ามมาก็คือปญั หาขยะท่ีเกิดจากการทานไอศกรมี แล้วท้งิ ขยะไม่ เปน็ ท่ี เราจะเหน็ ไดว้ า่ มเี ศษไม้ไอศกรีมและเศษถุงพลาสติกหลน่ อย่เู ป็นจานวนมากท่หี ลกั ๆ จะเหน็ อยู่ บรเิ วณสวนสารธารณะบรเิ วณโรงเรยี นหรือตามสถานทีต่ ่างๆกระจายกนั ไปโดยปกตเิ ราไมค่ ่อย มองเหน็ คณุ ค่าของไม้ไอศกรมี หรอื ทเ่ี ราเรยี กกันวา่ ”ไม้ไอติม”ทคี่ นทิ้งหลังจากทานไอศกรีมเสรจ็ และ ลืมนกึ ถึงประโยชน์และมองข้ามประโยชน์ของไม้ไอศกรีมไป ได้ไอศกรีมหรอื ทรี่ จู้ กั กันดีดังที่กลา่ วมาในชอื่ ”ไม้ไอติม”ไม้ไอศกรีมผลติ มาจากต้น กา้ มปมู ีลักษณะเรยี บๆชนิ้ เลก็ มีหลายขนาด ซง่ึ ไม้ไอศกรมี นั้นเราสามารถนามารังสรรค์ทาส่ิงประดิษฐ์ ไดแ้ ละสิ่งประดิษฐท์ ท่ี านั้นประยกุ ตใ์ ห้เกิดประโยชน์ไดเ้ ช่นโคมไฟจากไม้ไอศกรีม กลอ่ งใส่ดินสอ ที่ใส่ ยางลบดนิ สอ เป็นตน้ โดยกลุ่มคณะผูจ้ ดั ทาโครงการของข้าพเจ้ามองเห็นประโยชน์จากไมไ้ อศกรีม และจะจัดทาสิง่ ประดษิ ฐ์ตัวอยา่ งจากไมไ้ อศกรีมและให้ความร้เู กย่ี วกบั ไมไ้ อศกรมี ซึง่ เปน็ การฝึก พัฒนาฝีมือการประดษิ ฐ์และใช้ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ เล่ากนั ว่า\"ไอตมิ \"มี ตน้ กาเนดิ มาจากดนิ แดนในต่างประเทศ ท้งั น้ีได้แพร่กระจายเขา้ มาในประเทศไทยเม่ือสมัยรชั กาล ท่ี 5 ในสมยั นั้นส่วนใหญจ่ ะใช้รบั ประทานกันแตภ่ ายในวังเป็นสว่ นใหญ่ เน่ืองจากไอศกรมี เป็นอาหาร หวานทท่ี ันสมัยหรอื อาจจะเรียกได้วา่ เปน็ นวัตกรรมใหม้ าก็วา่ ได้ ใครได้ลองรบั ประทานไอศกรีมในสมยั น้นั กถ็ อื ว่า เปน็ คนทก่ี ้าวลา้ นาสมัยไปโดยปรยิ ายสบื สาวตน้ กาเนดิ ไอศกรมี ยุคโบราณ จดุ เริม่ ต้นของไอศกรีมในระดบั สากล นายโทมัส อาร์ควนิ นี่ เล่าวา่ การรบั ประทาน ไอศกรมี นา่ จะเริม่ ต้นกันมาต้ังแต่สมัยจักรพรรดเิ นโรห์ แหง่ อนาจกั รโรมนั ท่ีได้พระราชทานเลีย้ ง ไอศกรมี แกเ่ หล่าทหารหาญที่อยู่ในกองทัพของพระองค์ แต่ในขณะนนั้ ไอศกรีมเกิดจากเป็นการนา

6 หมิ ะมาผสมเขา้ กับน้าผ้งึ และผลไม้ ต่อมาเรียกไอศกรีมประเภทนี้วา่ เชอรเ์ บ็ท(Sherbet)น่ันเอง แต่ ตานานน้กี ห็ าไดเ้ ปน็ แค่ตานานเดยี วท่ีเลา่ สืบตอ่ กนั มาถึงต้นกาเนดิ ของไอศกรีมไม่ หากแต่บางกระแสก็ ระบุว่าบรรพชนของคนจนี ค้นพบไอศกรีมเป็นคร้ังแรก เมือ่ ประมาณ 4,000 ปที ่ีผา่ นมา ซ่งึ ลักษณะ ของไอศกรมี ในประเทศจีนทามาจากข้าวบดผสมกบั นมสดที่เย็นจนเป็นนาแข็ง และได้มีการสอนใหท้ า ไอศกรีมใหก้ ับคนอนิ เดียและชาวเปอรเ์ ชียอกี ด้วย การกอ่ กาเนดิ ไอศกรีมตาตานานประเทศจีนระบุว่า เปน็ เร่ืองของความบงั เอญิ แท้ๆ ทัง้ นเี้ ป็นท่ีทราบกนั ดวี า่ ประเทศจนี ในสมัยนนั้ เพ่ิงจะมกี ารรู้จักรีดนม จากสัตว์เลยี้ งทอ่ี ยูใ่ นฟารม์ เม่ือรีดออกมาจานวนมากกบ็ รโิ ภคไม่หมด ประกอบกบั น้านมเปน็ สินค้าทม่ี ี ราคาแพงมากๆ คนช้นั สูงเห็นท่าไมด่ ีจึงเกดิ แนวคิดนาน้านมไปหมกซ่อนไวใ้ นหมิ ะนัยวา่ เพ่ือต้องการท่ี จะถนอมนา้ นมเอาไว้รบั ประทานไดน้ านๆเกิดข้นึ ดว้ ยความบังเอิญแทๆ้ จนกระท่ังน้านมทีน่ าไปหมกไว้ ในหมิ ะกลายเป็นนมแชแ่ ขง็ ข้ึนมาในบัดดล จากนัน้ ก็มีการพัฒนารูปแบบจากนมแช่แข็งทีแ่ สนจะสุด ธรรมดาใหก้ ลายเป็นน้าผลไม้แช่แขง็ ในส่วนของราชวงศ์โมกลุ ได้นาเอานมต้มมาผสมกบั ถ่ัวพิสตาซิโอ จนเกดิ เปน็ ของหวานแช่แข็งเรยี กกันวา่ Kulfi ซ่ึงเชอื่ กันวา่ เปน็ แบบแผนของไอศกรมี ในยุคโบราณ จนปลายศตวรรษท่ี 13 มารโ์ คโปโล เดนิ ทางไปจนี และช่ืนชอบ จงึ นาสตู รกลบั ไป อิตาลีขณะ เดินทางมีการเติมนมลงไป กลายเปน็ สตู ร ของเขาโดยเฉพาะ และแพร่หลายไปในอิตาลี ฝรั่งเศสและ ขา้ มไปองั กฤษคนอิตาลีถือวา่ ตนเองเปน็ ต้นตารบั ไอศกรีมแบบท่ีนามาป่ันใหเ้ ย็นจนแขง็ เรยี กว่าเจลาติ (Gelati) ประเทศอิตาลแี ละมีการพัฒนาไปมากจนทาให้อิตาลไี ด้ช่ือว่าเปน็ แหล่งไอศกรมี เลิศรสเลย ทเี ดียว ขณะเดียวกันคนอติ าลีมกั จะทึกทักเอาว่าบรรพชนของตนเป็นคนค้นพบไอศกรีมเป็นครั้งแรก เสมอมา แถบยุโรปประมาณ ค.ศ.1670 ฟรานเอสโก ได้นาไอศกรีมไปจาหน่ายภายในรา้ นกาแฟของ เขาเพ่ือให้บริการลกู ค้าของเขาปรากฏวา่ ไดร้ ับความสนใจกันอย่างกว้างขวางมากทเี ดียวไอศกรีมได้รับ การพฒั นากระบวนการผลติ ข้ึนเรื่อยๆ จนกระทงั่ ค.ศ.1846 นางแนนซ่ี จอหน์ สัน กส็ ามารถสรา้ ง เครื่องผลติ ไอศกรมี ขึน้ มาไดเ้ ป็นครงั้ แรก และนบั เป็นจดุ ท่ีทาให้ไอศกรีม เผยแพรเ่ ขา้ ไปทั่วโลกก็ว่าได้ เส้นทางการแพร่หลายของเจา้ ไอติม ท่ีนา่ สนใจก็คอื เม่ือประมาณศตวรรษท่ี 14 ไอศกรมี ไดแ้ พรห่ ลาย เขา้ ไปในประเทศเทศอติ าลีและฝร่งั เศส ซงึ่ ในประวัติศาสตร์ ของไอศกรมี ช่วงนรี้ ะบวุ า่ ในงานฉลอง อภิเษกสมรสระหว่างแคเธอรีน เดอ เมดิซี แหง่ เวนิชกบั กษัตรยิ เ์ ฮนรีท่ ี่ 2 ของฝรั่งเศสได้มกี ารนา ของ หวานกึง่ แช่แข็งมาเสริฟแขกเหรือทม่ี าร่วมงาน สาหรบั รปู ร่างหน้าตาเหมือนกบั ไอศกรมี ไม่มผี ดิ เพย้ี น และนีก้ เ็ ปน็ อกี จดุ หนึ่งทาให้ ไอศกรีมกลายเปน็ ของหวานของคนค่อนโลกไปโดยปรยิ าย เล่ากนั วา่ ใน ชว่ งแรกๆท่ีมีไอศกรีมต้องผ่านการผลิตท่คี ่อนข้างจะย่งุ ยากเนือ่ งจากต้องใชเ้ วลาและตอ้ งลงแรงตาม สมควร เมอ่ื ไดผ้ ลิตผลจากการลงแรงทเ่ี ป็นไอศกรีมเย็นเฉียบแลว้ ก็ต้องเกณฑ์คนมาชว่ ยกนั รับประทานใหห้ มดมเิ ช่นนนั้ แล้วไอศกรีมกจ็ ะละลายกลายเปน็ น้าไปในเวลาอนั รวดเรว็ กลายเปน็ การ ลงทนุ ท่สี ูญเปลา่ ในท่สี ดุ

7 การแพรห่ ลายของไอศกรีมจากฝร่ังเศสเข้าไปอเมริกา ในช่วงต้นศตวรรษท่ี 17 จนไอศกรมี กลายเป็นของหวานท่ผี ้คู นช่นื ชอบกนั มากในชว่ งน้ี ตานานไอศกรีมในสหรฐั อเมริกาโดยเฉพาะ \"ไอศกรมี ซนั เดย\"์ ไดถ้ ือกาเนดิ ขน้ึ ทา่ มกลางความอึมครมึ เน่ืองจากยังไม่มีข้อสรุปท่ีแน่ชัดว่าเกดิ ขนึ้ ใน รฐั ไหนกัน แน่ แต่ที่แนๆ่ ในราวๆปี พ.ศ. 2435 ไอศกรมี ซนั เดย์ได้ถอื กาเนดิ ขนึ้ ท่ามกลางความตน่ื เต้นของอเมริกนั ชนสมัยนั้นอยา่ งถว้ น

บทที่ 3 วธิ ีศกึ ษาคน้ คว้า 3.1 วธิ ีการดาเนินงาน 3.1 ทาฐานของโคมไฟโดยใชไ้ มไ้ อตมิ เรยี งไขวไ้ ปมาและทากาวเพอ่ื ให้ไม้ไอศกรีมตดิ กันและ เจาะ ฐานสาหรับใสหลอดไฟ 3.2 เจาะฐานสาหรับใส่หลอดไฟเสร็จแลว้ และทาด้านทีเ่ ป็นผนัง 3.3 ประกอบด้านหลังและดา้ นบนให้สวยงาม 3.2 เคร่อื งมือ ภาพที่ 3-1 ไม้ไอศกรีม

4 ภาพที่ 3-2 กาวรอ้ น ภาพท่ี 3-3 หลอดไฟ LED ภาพท่ี 3-4 กรรไกร

บทที่ 4 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ การศึกษาความคิดเห็นของผู้ศึกษาได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งสามารถเก็บข้อมูลได้ 100 %โดยจะนาเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปแบบของการ บรรยายประกอบตารางเปน็ 3 ส่วน ดังนี้ 4.1 การวิเคราะหข์ อ้ มูลพนื้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย/หญิง 2. นกั เรยี นชั้นม.5 และชาวบ้าน 4.2 การวเิ คราะห์เกีย่ วกบั ความคิดเหน็ ของประชาชนตอ่ การทาโคมไฟจากไมไอศกรีม 4.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม การวเิ คราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม สามารถอธิบายผลการศึกษาของแต่ละปัจจัย ไดด้ ังน้ี ตารางท่ี 4.1 แสดงข้อมูลพื้นฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไป จานวน ร้อยละ เพศ ชาย 5 5 หญงิ 5 5 อาชพี รับราชการ-รฐั วสิ าหกิจ -- รับจา้ ง-ลกู จา้ ง -- นกั เรยี น-นักศึกษา 55 เกษตรกรรม 55 คา้ ขาย-ธรุ กจิ ส่วนตัว -- ศาสนา พุทธ 10 10

7 ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน รอ้ ยละ อิสลาม - - ครสิ ต์ - - อน่ื ๆ - - ทีต่ ้งั บา้ นเรือน อยู่ตดิ ถนนใหญ่ - - อยใู่ นซอย 10 10 10 10 รวม ตอนท่ี 1 ความพงึ พอใจตอ่ โครงงานโคมไฟจากไมไ้ อติม คาชีแ้ จง โปรดกาหนดระดบั ความพึงพอใจต่อโครงงานโคมไฟจากไมไ้ อตมิ ✓ ลงในช่อง (5 = มากที่สุด 4 = มาก 3 = ปานกลาง 2 = น้อย 1 = น้อยมาก) 9 17 6 6 4 5 10 17 5 4 10 8 9 13 2 7 8 4 15 7 11 1 7 3 19

บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผลการทดลอง จากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเร่ืองโคมไฟไม้ไอตมิ ผลการศึกษา พบว่า 1. ไมไ้ อติมสามารถนามาทาโคมไฟได้จรงิ 2. ไม้ไอติมสามารถนาใชป้ ระโยชน์ได้หลายอย่าง 3. ไอติมที่กนิ เหลือแตไ่ ม้กส็ ามารถนาไปประดิษฐ์ได้หลายอย่าง เชน่ กลอ่ งใสเ่ คร่ืองเขียน กระถางตน้ ไม้ เป็นต้น ไม้ไอตมิ เพม่ิ มากข้ึนและวิธกี ารใช้ไม้ไอตมิ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นการใช้ชีวติ ประจาวัน เช่นนาไม้ไอ ตมิ มาประดษิ ฐ์เพื่อไวใ้ ช้ภายในบ้าหรือจาหนา่ ยเพอื่ เปน็ รายได้อีกทางหน่ึง ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ 1.ไดป้ ฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามความถนัดและความสนใจของตนเอง 2.ไดร้ ับการฝึกทักษะและความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ 3.ไดร้ ู้จักการนาเศษวัสดุเหลือใช้มาดัดแปลง ประดิษฐ์ ตกแตง่ ให้เกดิ ประโยชน์ 5.2 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา - ควรมีการศึกษาไม้ไอศกรีม ว่าสามารถนามาใช้ทาอะไรได้อีก เพ่ือลดปัญหาขยะและ ส่ิงแวดลอ้ ม

II บรรณานุกรม หนงั สือ (1)วรายทุ ธ คงดี . Is พื้นฐาน . พมิ พ์คร้งั ที่ 3 . กรุงเทพมหานคร ; อกั ษรศลิ ป์ . 2542 . เวบ็ ไชต์ https://sites.google.com/site/khomfimixitim/bth-thi4

III ประวตั ิผูจ้ ัดทา 1.นายณัฐพล ฆ้องคา วนั เดอื นปเี กดิ 19/07/46 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ป.6 โรงเรยี นบา้ นพาน ปี พ.ศ.2561 ม.3 โรงเรยี นปวั 2.นายกติ ตชิ ัย จิตอารี วันเดอื นปีเกิด 13/12/45 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ป.6 โรงเรียนจตุราษฎร์ศึกษา ปี พ.ศ.2561 ม.3 โรงเรยี นจตรุ าษฎร์ศึกษา 2.นางสาวณัฐกานต์ บญุ สม วันเดือนปีเกดิ 29/07/46 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.2558 ป.6 โรงเรยี นบา้ นทาน ปี พ.ศ.2561 ม.3 โรงเรียนแมเ่ มาะวิทยา 3.นางสาวธนภรณ์ จิตอารี วันเดือนปเี กดิ 23/03/47 ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ป.6 โรงเรยี นจตรุ าษฎร์ศึกษา ปี พ.ศ.2561 ม.3 โรงเรียนจตุราษฎรศ์ กึ ษา 4.นางสาวปิยพร อมรรตั น์ วนั เดือนปเี กดิ 23/10/46 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2558 ป.6 โรงเรียนชุมชนบา้ นเชยี งโคม ปี พ.ศ.2561 ม.3 โรงเรยี นชยี งกลางประชาพัฒนา