เหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่แกงส้มหรือต้มยำ

หลายคนเดินเข้าร้าน อุปกรณ์-เบเกอรี่ เช่นหม้อต้ม หม้ออบ แต่มือใไม่อย่างเรา จะเลือกแบบไหน ชนิดไหนดี ภาชนะสำหรับประกอบอาหารที่จำหน่ายอยู่ในตลาดทำจากวัสดุหลายชนิดด้วยกัน ซึ่งมีข้อดีและข้อด้อยแตกต่างกัน ทั้งทางด้านราคาและคุณภาพ สามารถแบ่งออกเป็น 4 หมวดใหญ่ ดังนี้  เพื่อเราจะเลือกให้ถูกกับสิ่งที่เราต้องการ 


ภาชนะที่ทำจากอลูมิเนียม

มี 2 แบบ คือ ผลิตด้วยวิธีหล่อ และวิธีใช้แรงอัดจากแผ่น วิธีหล่อเมื่อใช้ไปนาน ๆ จะยังคงรูป แต่วิธีอัดใช้ไปไม่นานก็จะบิดเบี้ยวได้

ข้อดี : ให้ความร้อนได้เร็ว

ข้อเสีย : สารอลูมิเนียมมีอันตรายต่อสุขภาพเมื่อนำไปใส่อาหารที่มีความเป็นกรดสูง คือ มีความเปรี้ยว เช่น แกงส้ม ต้มยำ ส่วนมากในท้องตลาดภาชนะเหล่านี้จะเคลือบด้วยสารกันติด ซึ่งเราก็ต้องระวังว่า สารนี้จะไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเราเช่นกัน และห้ามใช้กับอุปกรณ์ที่เป็นโลหะ ไม่นิยมนำมาเบเกอรรี่ เลย 

Scanpon จากประเทศเดนมาร์ก เป็นโรงงานทำภาชนะสำหรับประกอบอาหารด้วยอลูมิเนียมชนิดหล่อ ภายใต้ความดัน 250 ตัน แล้วเคลือบด้วย Ceramic Titanium ที่ 30000 องศา จึงกล้ารับประกัน 10 ปี ว่าภายใต้ภาวการณ์ใช้งานปกติ สารกันติดนี้จะไม่ถลอกจนเห็นเนื้ออลูมิเนียม ถึงแม้จะใช้อุปกรณ์โลหะในการประกอบอาหาร และไม่บิดเบี้ยวตลอดอายุการใช้งาน ทำให้การกระจายความร้อนเป็นไปอย่างดีเยี่ยม ไม่มี Hot Spot แน่นอน


ภาชนะที่ทำจากสเตนเลส

     ข้อดี : คุณสมบัติของสเตนเลส คือ ไม่เป็นสนิม แต่เกรดของสเตนเลสก็มีหลายเกรดด้วยกัน เกรดที่ดีที่นิยมใช้มากที่สุดคือ 18/10 การนำความร้อนอาจจะไม่ดีเท่าอลูมิเนียม ส่วนมากทำจากแรงอัดจากแผ่นสเตนเลส และเพื่อให้สามารถพาความร้อนได้ดีขึ้น โรงงานจึงมักจะเพิ่มแผ่นเหล็กที่ผสมโลหะหลายชนิดอีกแผ่นหนึ่งติดไว้ใต้ภาชนะ เพื่อให้นำและกระจายความร้อนได้ดีขึ้น แล้วยังทำให้รักษารูปทรงภารชนะให้เหมือนเดิมด้วย ภาชนะประเภทนี้เป็นที่นิยมในกลุ่มที่ดูแลสุขภาพ เนื่องจากไม่มีสารปนเปื้อน ออกมาขณะประกอบอาหาร

     ข้อเสีย : หากประกอบอาหารโดยใช้ไฟแรงจะทำให้อาหารติดกระทะ และทำความสะอาดยาก


ภาชนะที่ทำจากแก้ว

     ข้อดี : ไม่ต้องกังวลเรื่องสารปนเปื้อนทุกชนิด ใช้ได้ในเตาไมโครเวฟ และเตาอบต่าง ๆ คราบอาหารไม่ติด ทำความสะอาดง่าย อีกทั้งยังสามารถใช้เสิร์ฟบนโต๊ะอาหารได้เลย  และมีความนิยมนำมาใช้ในการทำเค้ก หรือ อบเบเกอรี่ เนื่องจากไม่ติดภาชนะ และสวยงามให้ความร้อนสม่ำเสมอ 

     ข้อเสีย : หากไม่ระวัง อาจจะแตกเสียหายได้

     หมายเหตุ  ไม่ใช่ภาชนะแก้วทุกใบจะทนความร้อนสูงได้ แต่แก้วทนไฟของ Simax ทนความร้อนสูงได้ และรุ่น Vitrofram ของ Luminarc มีคุณสมบัติทนการเปลี่ยนแปลงความร้อนได้ดีเยี่ยม เช่น จากช่องแช่แข็ง (-40C) นำภาชนะขึ้นตั้งเตาแก๊ส (300C) ได้ทันที


ภาชนะที่ทำจากเหล็กหล่อ

ภาชนะที่ทำจากเหล็กหล่อ เป็นวัสดุที่อยู่คู่คนยุโรปมาหลายร้อยปี ทนทาน เหมาะสำหรับอาหารประเภท Slow Cook ที่ใช้ไฟต่ำถึงกลาง อาหารที่ได้จะนุ่มละมุน รสชาติเข้าเนื้อ อย่างไรก็ดี สิ่งสำคัญที่ต้องคำนึง คือ สารเคลือบที่ใช้ เพราะหากสารเคลือบไม่ดี หรือไม่ได้เคลือบ อาจเกิดสนิมซึ่งจะเป็นอันตรายได้ สารเคลือบที่ดีเยี่ยม คือ อินาเมล ซึ่งแบ่งได้เป็นสองแบบ คือ Glass Enamel ซึ่งจะมีความเรียบ เงา และ matt Enamel ตลอดอายุการใช้งาน นอกจากนี้ ฝาปิดของ Staub ทำให้อาหารชุ่มขึ้นทั่วเท่ากัน เพราะได้ถูกออกแบบโดยคอมพิวเตอร์ว่าไอน้ำจะหยดกลับคืนสู่อาหาร หรือ เค้ก อย่างสม่ำเสมอ ไม่ใช่เฉพาะขอบอีกต่อไป

จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสารที่นักเรียนเคยพบในชีวิตประจำวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง 

(ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ  เช่น การกลายเป็นไอของน้ำ การระเหิดของลูกเหม็น 

การหลอมเหลวของน้ำแข็งตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การเกิดสนิมของเหล็ก 

การบูดเน่าของอาหาร    การที่นักเรียนอมข้าวที่เคี้ยวไว้ แล้วรู้สึกว่ามีรสหวานเกิดขึ้น)

   จงบอกหลักและวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย 

เหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่แกงส้มหรือต้มยำ


   










   
   การเปลี่ยนแปลงที่นักเรียนแต่ละคนยกตัวอย่างมาเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

(แตกต่างกัน คือ การเปลี่ยนแปลงบางอย่างมีสารใหม่เกิดขึ้น บางอย่างไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น)
   การเปลี่ยนแปลงชนิดใดบ้างที่มีสารใหม่เกิดขึ้น
(การเผาไหม้ของเทียนไขมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เกิดขึ้น ตั้งน้ำปูนใสทิ้งไว้จะมีตะกอนขาวขุ่นเกิดขึ้น 
การเกิดสนิมของโลหะ)
   ถ้านักเรียนจะจำแนกประเภทของการเปลี่ยนแปลงจะจำแนกได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
(2 ประเภท คือ การเปลี่ยนแปลงที่หลังการเปลี่ยนแปลงมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกการเปลี่ยนแปลง              
ทางเคมี และการเปลี่ยนแปลงที่หลังการเปลี่ยนแปลงไม่มีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ)
   การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงทางเคมีแตกต่างกันอย่างไร
(การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพจะทำให้สมบัติทางกายภาพของสารเปลี่ยนไป 
แต่องค์ประกอบ และสมบัติทางเคมีของสารจะเหมือนเดิม 
ส่วนการเปลี่ยนแปลงทางเคมีภายหลังการเปลี่ยนแปลงจะมีสารใหม่เกิดขึ้น
ซึ่งสารใหม่ที่ได้จะมีองค์ประกอบ และสมบัติทางเคมีแตกต่างจากเดิม)

กิจกรรมการทดลอง การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

   ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร 
(เมื่อเทสารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์และสารละลายเลด(II)ไนเตรตผสมกันจะเกิดการเปลี่ยนแปลง
หรือไม่ อย่างไร)
   เมื่อเทสารละลายโพแทสเซียมไอโดไดด์ (KI) ลงในสารละลายเลด (II) ไนเตรต [Pb(NO3)2)] นักเรียน
คาดคะเนว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร 
(ถ้าสารละลายทั้ง 2 ชนิด สามารถเกิดปฏิกิริยาเคมีกันได้เมื่อเทรวมกันจะมีสารชนิดใหม่เกิดขึ้น 
ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากสารเดิม)
  จงอธิบายวิธีการตวงสารโดยใช้กระบอกตวงมาพอเข้าใจ 
(เทของเหลวที่ต้องการตวง ลงในกระบอกตวงจนถึงขีดบอกปริมาตรตามต้องการ 
ควรใช้หลอดหยดช่วยหยดสารเพิ่มลงไปทีละหยดจนถึงขีดบอกปริมาตรพอดีแล้ว
อ่านปริมาตรของเหลวที่ระดับสายตา)
   เมื่อผสมสารละลายเลด (II) ไนเตรต และสารละลายโพแทสเซียมไอโดไดด์

เข้าด้วยกัน เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร 

(เมื่อเทสารละลายทั้ง 2 ชนิดรวมกันจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นคือ เกิดตะกอนสีเหลืองขึ้น)

   การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
เพราะเหตุใด

(การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจัดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะหลังจากสิ้นสุดการเปลี่ยนแปลงแล้วมีสารชนิดใหม่เกิดขึ้น คือ ตะกอนสีเหลือง ซึ่งมีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม)

   จงสรุปผลการทดลอง 

(จากการทดลองจะพบว่า สารละลายโพแทสเซียมไอโอไดด์และสารละลายเลด (II) ไนเตรต 

เป็นของเหลวใส ไม่มีสีเหมือนกัน แต่เมื่อเทสารทั้งสองชนิดรวมกัน จะมีตะกอนสีเหลืองเกิดขึ้น 

แสดงว่ามีสารชนิดใหม่เกิดขึ้น ซึ่งสารใหม่จะมีสมบัติเปลี่ยนไปจากสารเดิม เช่น มีสีเหลือง 

ไม่ละลายน้ำ จึงทำให้มองเห็นเป็นตะกอน เราเรียกการเปลี่ยนแปลงในลักษณะดังกล่าวว่า 

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี เพราะเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางเคมีของสาร)

   จงยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของสาร

ที่นักเรียนเคยพบในชีวิตประจำวันมาอย่างละ 3 ตัวอย่าง 

(ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ  เช่น การกลายเป็นไอของไอน้ำ การระเหิดของลูกเหม็น

 การหลอมเหลวของน้ำแข็งตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น การขึ้นสนิมของเหล็ก

การบูดเน่าของอาหาร   การที่นักเรียนอมข้าวที่เคี้ยวไว้รู้สึกมีรสหวานเกิดขึ้น)

   จงบอกหลักและวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้องและปลอดภัย

(1. ต้องศึกษาสมบัติของสารเคมีที่จะใช้อย่างละเอียดก่อนใช้ โดยศึกษาทั้งสมบัติทางกายภาพและ

สมบัติทางเคมี      2. ใช้สารเคมีอย่างระมัดระวังที่สุด โดยปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด)

   ให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และทางเคมีของสาร 

ให้ได้ลักษณะดังนี้

เหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่แกงส้มหรือต้มยำ










เรื่องที่ 3 ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมี

   ปฏิกิริยาเคมีและสมการเคมีคืออะไร จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

(ปฏิกิริยาเคมี คือ การเปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดสารใหม่ โดยสารที่เกิดขึ้นจะมีองค์ประกอบ

และสมบัติทางเคมี แตกต่างจากสารเดิม เช่น การเกิดสนิมเหล็ก สารใหม่ที่เกิด คือ ออกไซด์ของเหล็ก

สมการเคมี คือ สัญลักษณ์ที่ใช้อธิบายกระบวนการเกิดปฏิกิริยาเคมี เช่น

เหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่แกงส้มหรือต้มยำ






              

 

เรื่องที่ 4  ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี

(ปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรด)

   ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร 

(เมื่อหย่อนลวดแมกนีเซียมลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางและในน้ำกลั่น 

จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร)

   เมื่อหย่อนลวดแมกนีเซียมลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางและในน้ำกลั่น

นักเรียนคาดคะเนว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร 

(ลวดแมกนีเซียมในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง

จะเกิดฟองแก๊สอย่างรวดเร็ว ส่วนในน้ำกลั่นจะเกิดฟองแก๊สอย่างช้า ๆ )

   ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุมของการทดลองนี้คืออะไร

(ตัวแปรต้น  คือ สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจาง และน้ำกลั่น

ตัวแปรตาม คือ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตัวแปรควบคุม  คือ 

ขนาดของลวดแมกนีเซียม ปริมาณสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางและน้ำกลั่น)

   ผลการทดลองเป็นไปตามที่คาดคะเนหรือไม่ อย่างไร

(เป็นไปตามที่คาดคะเน คือ ลวดแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับกรดได้เร็วกว่าทำปฏิกิริยากับน้ำ)

   เมื่อหย่อนลวดแมกนีเซียมลงในสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเจือจางเกิดการเปลี่ยนแปลง

เหมือนหรือต่างจากเมื่อหย่อนลวดแมกนีเซียมลงในน้ำกลั่นอย่างไร

(ต่างกัน ลวดแมกนีเซียมจะทำปฏิกิริยากับกรดได้เร็วกว่าทำปฏิกิริยากับน้ำ)

   การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้ง 2 หลอดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หรือการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

ทราบได้อย่างไร

(เป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทราบได้จากมีสารใหม่เกิดขึ้น คือ ฟองแก๊สและโลหะเกิดการสึกกร่อน)

   สารใหม่ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาเคมีในการทดลองครั้งนี้คืออะไร

(หลอดที่ 1 คือ แก๊สไฮโดรเจน และเกลือ MgCl2 หลอดที่ 2 คือ Mg(OH)2และแก๊สไฮโดรเจน)


   จงเขียนสมการเคมีแสดงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้ง 2 หลอด

เหตุใดจึงไม่ควรนำภาชนะอะลูมิเนียมมาใส่แกงส้มหรือต้มยำ

   



จงสรุปผลการทดลอง 

(ลวดแมกนีเซียมทำปฏิกิริยากับกรดได้เร็วกว่าทำปฏิกิริยากับน้ำ เกิดสารผลิตภัณฑ์ คือ แก๊สไฮโดรเจนเกิดขึ้น)

เหตุใดหม้ออลูมิเนียมไม่ควรใช้ประกอบอาหารที่ เป็นกรด

ชาวบ้านส่วนใหญ่มักนิยมใช้ภาชนะที่ทำจากอะลูมิเนียม เนื่องจากคงทนและราคาถูก แต่มีคำเตือนจากนักวิจัยว่าหากนำอะลูมิเนียมไปใช้กับของเปรี้ยว หรือของที่มีความเป็นกรดสูง เช่น แกงส้มในหม้ออะลูมิเนียม อาจมีอะลูมิเนียมละลายออกมาปนเปื้อนในอาหาร ซึ่งหากได้รับสารอะลูมิเนียมเข้าไปจำนวนมาก เป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งที่อาจทำให้ป่วยเป็น ...

กาต้มน้ำอลูมิเนียมอันตรายไหม

เมื่อหลายปีที่แล้วนักวิจัยได้เตือนผู้บริโภคว่า อะลูมิเนียมอาจมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคสมองเสื่อมอัลไซเมร์ ทำให้ผู้บริโภคพากันโยนหม้อ กระทะที่ทำจากอะลูมิเนียมทิ้งเป็นจำนวนมาก แต่ข้อมูลการวิจัยในปัจจุบันพบว่าอะลูมิเนียมที่ละลายออกมาปนในอาหารมีปริมาณเพียงเล็กน้อยซึ่งไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ดังนั้นการใช้ภาชนะอะลูมิเนียม ...

ข้อเสียของการใช้สแตนเลสมาทำเป็นภาชนะหุงต้มคืออะไร

เตนเลส T-304 : โลหะผสมชนิดนี้จะไม่ดูดซึมและกระจายความร้อนอย่างสม่ำเสมอ ข้อเสียคือต้องใช้น้ำมันมากในการทำอาหารเพื่อไม่ให้ติดกระทะ

อลูมิเนียมใช้กับอาหารได้ไหม

#พิษโลหะหนัก จาก “อลูมิเนียม” ส่งผลเสียหากร่างกายได้รับอากาศ น้ำหรืออาหาร ที่มีการปนเปื้อนของโลหะอลูมิเนียมในปริมาณที่มาก หรือแม้ปริมาณเล็กน้อยแต่สะสมในร่างกายเป็นระยะเวลานาน 👉 จะส่งผลให้ร่างกายมีความผิดปกติหรือเกิดภาวะพิษขึ้นหลายด้าน เช่น..